You are on page 1of 72

:

283422 วิศวกรรมและการออกแบบระบบบ้าบัดน้าเสีย

ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562


หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ปรับปรุง พ.ศ.2555

Division of Environmental Engineering


School of Energy and Environment, University of Phayao
รายละเอียดวิชา
• ค้าอธิบายรายวิชา
ลักษณะของน้าเสีย การวัดอัตราไหลของน้าเสีย จุดประสงค์ในการบ้าบัดน้าเสีย กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับน้าเสีย การบ้าบัดทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ การบ้าบัด
และก้าจัดสลัดจ์ การก้าจัดธาตุอาหารทางชีวภาพ การออกแบบท่อระบายแบบรวมและแบบแยก ปั๊มและสถานีสบู น้า การออกแบบอุปกรณ์ส้าหรับบ้าบัดน้าเสีย การ
ด้าเนินการระบบบ้าบัดน้าเสีย
• จ้านวนหน่วยกิต 4(3-3-8)
• ห้องเรียน SEEN2306 เวลา 9.00-12.00 /13.00-16.00 น.
• ผู้สอน
• ผศ.ดร.ศักดิ์สิทธิ์ อิ่มแมน
• ดร.โสมนัส สมประเสริฐ
• ดร.ศตวรรษ ทนารัตน์
ล้าดับหัวข้อในการสอนส่วนบรรยาย
WK Topic WK Topic
1 :19/7 บทน้ำด้ำนวิศวกรรมกำรบ้ำบัดน้ำเสีย ลักษณะของน้ำ ดร.โสมนัส 10: 20/9 UASB ดร.ศตวรรษ
เสีย กำรวิเครำะห์และคัดเลือกระบบบ้ำบัดน้ำเสียที่
เหมำะสม
2 :26/7 หลักกำรบ้ำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนกำรทำงกำยภำพ ดร.โสมนัส 11: 27/9 กำรบ้ำบัดและก้ำจัดตะกอน กำรออกแบบระบบบ้ำบัดตะกอน ดร.ศตวรรษ
เคมี และชีวภำพ ระบบ Anaerobic digestion
3 :2/8 Trickling Filter และ Rotating Biological Contactor ดร.ศักดิ์สิทธิ์ 12: 4/10 กระบวนกำรฆ่ำเชือโรคในระบบบ้ำบัดน้ำเสีย / Hydraulic ดร.ศักดิ์สิทธิ์
Profile
4 :9/8 Anaerobic Filter ดร.ศักดิ์สิทธิ์ 13: 11/10 ระบบบ่อบ้ำบัด / กำรบ้ำบัดธำตุอำหำร ดร.โสมนัส
5 : 16/8 Activated Sludge ดร.ศักดิ์สิทธิ์ 14: 18/10 กฏหมำยและมำตรฐำนที่เกี่ยวข้องกับกำรบ้ำบัดน้ำเสีย ดร.โสมนัส
6 : 23/8 Activated Sludge ดร.ศักดิ์สิทธิ์ 15: 25/10 กำรด้ำเนินกำรระบบบ้ำบัดน้ำเสีย ดร.โสมนัส
7: 30/8 Activated Sludge ดร.ศักดิ์สิทธิ์ 16: 1/11 แนวทำงกำรปรับปรุง/ฟื้นฟูระบบบ้ำบัดน้ำเสีย ดร.โสมนัส
8: 6/9 UASB ดร.ศตวรรษ 3/11 Final (อ.โสมนัส)
8/9 Midterm (อ.ศักดิ์สิทธิ์) Final
ล้าดับหัวข้อในการสอนส่วนปฏิบัติการ
WK Topic WK Topic
1 :19/7 ชีแจงรำยละเอียดปฏิบัติกำร ดร.โสมนัส 10: 20/9 ดูงำนระบบบ้ำบัดน้ำเสีย รพ.พะเยำ / เทศบำลเมืองพะเยำ ดร.โสมนัส
โจทย์กำรออกแบบ wastewater treatment plant
(Course Project)
2 :26/7 ระบบบ้ำบัดน้ำเสียส้ำเร็จรูป ดร.โสมนัส 11: 27/9 Advanced WW Treatment Technology: ดร.โสมนัส
3 :2/8 ระบบบ้ำบัดน้ำเสียส้ำเร็จรูป ดร.โสมนัส 12: 4/10 Course Project ดร.โสมนัส
4 :9/8 ระบบบ้ำบัดน้ำเสียส้ำเร็จรูป ดร.โสมนัส 13: 11/10 Test# (อ.ศตวรรษ) ดร.โสมนัส
5 : 16/8 Course Project ดร.โสมนัส 14: 18/10 Course Project ดร.โสมนัส
6 : 23/8 Course Project ดร.โสมนัส 15: 25/10 Advanced WW Treatment Technology: ดร.โสมนัส
7: 30/8 New WW Treatment Technology ดร.โสมนัส 16: 1/11 น้ำเสนอ Course Project ดร.โสมนัส
8: 6/9 Course Project ดร.โสมนัส 3/11 Final
8/9 Midterm Final
วิธีและเกณฑ์การประเมินผล
• สอบวัดผล ทักษะที่ต้องการ
• อ.ศักดิ์สิทธิ์ 25% • เข้าใจหลักกลไกการบ้าบัดน้าเสีย
• อ.ศตวรรษ 20% • ออกแบบระบบบ้าบัดน้าเสียได้ อย่างน้อยในระดับ
• อ.โสมนัส 20% conceptual design
• ความสนใจและการมีส่วนร่วมในชันเรียน 5% • ตระหนักในความส้าคัญของความปลอดภัย/ถูกต้อง
แม่นย้าในการเลือกใช้และออกแบบระบบบ้าบัดน้าเสีย
• งานค้นคว้า ออกแบบ รวม 25% (100 คะแนน) • ท้างานเป็นกลุ่มได้ แบ่งงานเป็น รับผิดชอบส่วนงาน
• Course Project เน้นความถูกต้อง ครอบคลุมในการออกแบบ ตนเอง
• ลักษณะน้าเสีย 5 คะแนน
• ค้นคว้าข้อมูลได้จากหลายแหล่ง เช็คความถูกต้องข้อมูล
• การวาง unit 10 คะแนน
• งานเขียนแบบ 50 คะแนน อ้างอิงข้อมูลได้
• รายการค้านวณ 20 คะแนน • สื่อสารโดยการ เขียนและการน้าเสนอ ให้ผู้อ่าน/ฟัง
• การค้นคว้าอื่น รวม 15 คะแนน เข้าใจได้
• ทักษะการน้าเสนอ บุคลิกภาพในการน้าเสนอ 5% • บุคลิกในการน้าเสนอ
ระบบบ้าบัดน้าเสียส้าเร็จรูป
• งานกลุ่ม
• ค้นคว้าหาข้อมูลระบบบ้าบัดนา้ เสียส้าเร็จรูป 1 แบบ
• ศึกษาการท้างานของระบบ กระบวนการในการบ้าบัด กลไกที่เกิดขึนในระบบ ข้อดีข้อเสีย ประสิทธิภาพ ความยากง่ายในการติดตัง
และการดูแลรักษา
• น้าเสนอหน้าชันเรียน ในลักษณะของการขายผลิตภัณฑ์ (9 สิงหาคม)
• อภิปรายระหว่างกลุม่
• ตัวอย่ำงถังบ้ำบัด
• Aqua
• http://www.aqua.co.th/product-
category/%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B
9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2/
• DOS
• https://www.dos.co.th/?&SingleProduct=25
• Premier
• http://www.premier-products.co.th/index.php?route=product/category&path=25_29
การวิเคราะห์และคัดเลือกระบบบ้าบัดน้าเสียที่เหมาะสม

ดร.โสมนัส สมประเสริฐ

Division of Environmental Engineering


School of Energy and Environment, University of Phayao
ประเภทของน้าเสีย
นาเสีย หมายถึง น้าที่มีสิ่งเจือปนต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นน้าที่ไม่เป็นที่ต้องการ และน่ารังเกียจของคนทั่วไป
ไม่เหมาะสมส้าหรับใช้ประโยชน์อีกต่อไป หรือถ้าปล่อยลงสู่ล้าน้าธรรมชาติก็จะท้าให้คุณภาพน้าของธรรมชาติเสียหายได้

แบ่งตามองค์ประกอบ แบ่งตามแหล่งกาเนิด
• น้าเสียที่มีสารอินทรีย์ • น้าเสียชุมชน (Municipal WW / Domestic WW)
• น้าเสียที่มีสารอนินทรีย์ • น้าเสียอุตสาหกรรม (Industrial WW)
• น้าเสียที่แพร่กระจายเชือโรค • น้าเสียการเกษตร (Agricultural WW)
• น้าเสียความเป็นกรด-เบส สูง • Runoff / Non-point source
• น้าเสียที่มีโลหะหนักเป็นพิษ
• น้าเสียที่มีสารกัมมันตภาพรังสี
• น้าเสียที่มีตะกอนแขวนลอย
Wastewater Characteristics
(xxx = high, xx=medium, x=small, <--->=variable)
Source
Main
Wastewater Stormwater
Pollutant representative Possible effect of the pollutant
parameters Agricultural
Domestic Industrial Urban
and pasture
Suspended solids TSS XXX <---> XX X • Aesthetic problems (ท้าลายภูมิทัศน์)
• Sludge deposits (การสะสมตะกอน)
• Pollutants adsorption
• Protection of pathogens
Biodegradable organic BOD XXX <---> XX X • Oxygen consumption
matter • Death of fish
• Septic conditions
Nutrients N, P XXX <---> XX X • Excessive algae growth
• Toxicity to fish (ammonia)
• Illnesses in new-born infants (Nitrate)
• Pollution of groundwater
Pathogens Coliforms XXX <---> XX X • Water-borne diseases
Wastewater Characteristics
Source
Main
Wastewater Stormwater
Pollutant representative Possible effect of the pollutant
parameters Agricultural
Domestic Industrial Urban
and pasture
Non-biodegradable Pesticides / Some X <---> X XX • Toxicity
organic matter detergents/ Others • Foam (detergents)
• Reduction of oxygen transfer (Detergents)
• Non-biodegradability
• Bad odours
Metals As, Cd, Cr, Cu, Hg, X <---> X • Toxicity
Ni, Pb, Zn, etc. • Inhibition of biological sewage treatment
• Problems in agriculture use of sludge
• Contamination of groundwater
Inorganic dissolved TDS, Conductivity XX <---> X • Excessive salinity
solids • Toxicity to plants
• Problems with soil permeability
Domestic Wastewater

Gray water คือ?

Black water คือ?


Dish Wash
Bath/Shower Clothes Toilet
washer
Miscellaneous Kitchen
sink

Gray Water Black Water


Wastewater flowrate
หาปริมาณน้าเสียอย่างไร?
New
• Depending on various situations such as economic, social, and
developments
other characteristics of the community. • an analysis of population
• Depending on the function and activity data
• Unit flowrates for commercial facilities can vary widely • estimates of per capita
Unit----person, passenger, bedroom, vehicle serviced, wastewater flow rates
from similar communities.
employee, seat, guest
• on the average about 60
• Flowrates were generally expressed in terms of quantity of flow to 90 percent of the per
per unit area. capita water consumption
• ม3/ เฮกแตร์-วัน becomes wastewater.
ตัวอย่างการประมาณประชากร
Pretest

• ระบบบ้าบัดน้าเสีย ควรประกอบด้วยหน่วยย่อยใดบ้าง?

• ค้าศัพท์ที่ควรรู้
Wastewater
Influent Effluent
Treatment Plant
Unit
Scum
Sludge
Wastewater Treatment Levels
• Preliminary Treatment การบาบัดขันต้น
จุดประสงค์ใน
• Primary Treatment เตรียมความพร้อมให้การบ้าบัดขันต่อไป การบ้าบัดน้า
• การบ้าบัดขันต้น ก้าจัดมลสารที่ขัดขวางในการบ้าบัดขันที่ 2
• Secondary Treatment ระดับในการบ้าบัด
• การบ้าบัดขันที่สอง การบาบัดขันที่สอง และ ประสิทธิภาพ
• Tertiary Treatment บ้าบัดมลสารหลักที่ต้องการก้าจัดออก การก้าจัดมลสาร
จากน้าเสีย
• การบ้าบัดขันที่สาม
มลสารในน้ากระทบต่อ การบาบัดขันที่ 3
แหล่งน้าธรรมชาติหรือ
ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ก้าจัดมลสารที่ไม่สามารถบ้าบัดได้ในขัน
ที่ 2 หรือบ้าบัดได้แต่เปลี่ยนมาอยู่ในรูป
ที่ปล่อยสู่ธรรมชาติแล้วมีปัญหา
ทดสอบ: จงเรียงล้าดับ unit ตามล้าดับการไหลของน้า

?
Herigemblong, 2018
Type of reactors
Plug-flow reactor
High length to width ratio

Batch

CSTR in series Complete-mix reactor


• Between complete-mix and Continuous-flow stirred-tank reactor,
plug-flow CFSTR or CSTR
• 1 reactor = CSTR,
 reactors = plug flow 22
Plug-flow Reactor
Fluid particles pass through the reactor with little or no longitudinal mixing and exit from the reactor in
the same sequence in which they entered.
https://youtu.be/zjcrF8G1X7Y
https://youtu.be/Sm4bYdqyW2w

23
Application of reactors
Type of reactor Application in wastewater treatment
AS biological treatment in a sequence batch reactor (SBR), mixing of
Batch
concentrated solution into working solutions
Complete-mix Aerated lagoons, aerobic sludge digestion

Complete-mix with recycle AS

Plug-flow Chlorine contact basin, natural treatment systems


Plug-flow with recycle AS, aquatic treatment systems

Complete-mix reactors in series Lagoon

24
Processes selection
Factor Comment
Process applicability The applicability of a process is evaluated on the basis of past experience, data from full-
scale plants, published data, and from pilot-plant studies. If new or unusual conditions are
encountered, pilot-plant studies are essential.
Applicable flow range The process should be matched to the expected range of flowrate. For example,
stabilization ponds are not suitable for extremely large flowrates in highly populated areas.
Applicable flow variation Most unit operations and processes have to be designed to operate over a wide range of
flowrates. Most processes work best at a relatively constant flowrate. If the flow variation is
too great, flow equalization may be necessary.
Influent wastewater The characteristics of the influent wastewater affect the types of processes to be used
characteristics (e.g.,chemical or biological) and the requirements for their proper operation.
Factor Comment
Inhibiting and unaffected What constituents are present and may be inhibitory to the treatment processes?
constituents What constituents are not affected during treatment?
Climatic constraints Temperature affects the rate of reaction of most chemical and biological processes.
Temperature may also affect the physical operation of the facilities.
Temperatures may accelerate odor generation and also limit atmospheric dispersion.
Process sizing based on Reactor sizing is based on the governing reaction kinetics and kinetic coefficients. If kinetic
reaction kinetics or process expressions are not available, process loading criteria are used. Data for kinetic
loading criteria expressions and process loading criteria usually are derived from experience, published
literature, and the results of pilot-plant studies
Factor Comment
Process sizing based on mass Reactor sizing is based on mass transfer coefficients, If mass transfer rates are not
transfer rates or process loading available, process loading criteria are used. Data for mass transfer coefficients and
criteria process loading criteria usually are derived from experience, published literature,
and the results of pilot-plant studies.
Performance Performance is usually measured in terms of effluent quality and its variability,
which must be consistent with the effluent discharge requirements
Treatment residuals The types and amounts of solid, liquid, and gaseous residuals produced must be
known or estimated. Often, pilot-plant studies are used to identify and quantify
residuals.
Sludge processing Are there any constraints that would make sludge processing and disposal
infeasible or expensive? How might recycle loads from sludge processing affect the
liquid unit operation or processes? The selection of the sludge processing system
should go hand in hand with the selection of the liquid treatment system
Factor Comment
Environmental constraints Environment factors, such as prevailing wind directions and proximity to residential
areas, may restrict or affect the use of certain processes, especially where odors
may be produced. Noise and traffic may affect selection of a plant site. Receiving
waters may have special limitations, requiring the removal of specific constituents
such as nutrients.
Chemical requirements What resources and what amounts must be committed for a long period of time
for the successful operation of the unit operation or process? What effects might
the addition of chemicals have on the characteristics of the treatment residuals
and the cost of treatment?
Energy requirements The energy requirements, as well as probable future energy cost, must be known
if cost-effective treatment systems are to be designed.
ข้อพิจารณาในการเลือกรูปแบบระบบรวบรวมน้าเสีย
• สภาพชุมชน
• การรวบรวมโดยใช้ระบบท่อแยก เหมาะกับชุมชนที่มีการขยายตัวใหม่ มีพืนที่เพียงพอในการวางท่อแยกน้าเสียและน้าฝน
• ความเข้าใจของชุมชน
• ระบบท่อแยก การสร้างอาคารต้องวางระบบท่อแยกด้วย
• การวางผังเมือง
• ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
• ความเร็วการไหลในท่อ
• การออกแบบใช้ Q ต่างกัน
• งบประมาณการลงทุน
• ความยากง่ายในการควบคุมระบบ
• การแปรผันของอัตราการไหลน้าเสียที่เข้าสู่ระบบ

29
ข้อพิจารณาในการเลือกรูปแบบระบบบ้าบัดน้าเสีย
• อัตราการไหลและลักษณะสมบัติของนา้ เสีย
• ใช้ในการออกแบบและวิเคราะห์ระบบบ้าบัดน้าเสีย
• Owner needs • ความยุ่งยากในการควบคุมและการบ้ารุงรักษาระบบ
• Past experience • ทักษะ ความรู้ความเข้าใจของผู้ดูแลระบบ
• Regulatory agency requirements : มาตรฐาน กฏเกณฑ์ • คุณภาพของน้าที่ผ่านการบ้าบัด
• มาตรฐาน
• Process selection
• ความยากล้าบากในการจัดหาหรือซือเครื่องจักร อุปกรณ์ สารเคมีต่าง ๆ
• Compatibility with existing facilities : การเชื่อมโยงกับระบบหรือ • ตอนก่อสร้าง
ทรัพยากรที่มีอยู่ • ตอนด้าเนินการ ซ่อมแซม
• Cost considerations • ราคาที่ดิน ขนาดพืนที่ที่ต้องการ
• Environmental consideration : EIA • ต้นทุนในการบ้าบัดน้าเสีย
• Construction cost
• Operation cost /Maintenance cost
• อื่นๆ
• กลิ่น แมลงรบกวน ฯลฯ 30
Physical Chemical and Biological Treatment

ดร.โสมนัส สมประเสริฐ

Division of Environmental Engineering


School of Energy and Environment, University of Phayao
Physical Processes
• อาศัยหลักการทางกายภาพ • Screening
• แยกของแข็งออกจากของเหลว • ตะแกรงหยาบ
• ตกตะกอน • ตะแกรงละเอียด
• กรอง / ตะแกรง Or
• ปั่นเหวี่ยง • Curve screening
• แยกสิ่งที่ไม่ละลายน้าเป็นหลัก
• ลดอุณหภูมิน้าเสีย = แลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างน้า • Rotary screening
เสียกับน้า หรือกับอากาศ
Physical units
• Comminution
• การบดตะกอนอินทรีย์เพื่อน้าไปบ้าบัดร่วมกับน้าเสีย • Skimming
• การกวาดตะกอนที่ลอยอยู่เหนือน้า
• ไขมัน
https://youtu.be/ABKLXwlHUzA • ตะกอนลอย
• ฟอง
https://youtu.be/KN9EYAOS7wQ
Physical units
• Flotation https://youtu.be/0neTyDvk-ek
• การท้าให้ลอยตัว ก้าจัดสารกึ่งจมกึ่งลอย https://youtu.be/Q79PhXAEgIc
• ใช้ฟองอากาศพาสิ่งสกปรกลอยขึนสู่ผิวน้า และกวาดหรือตักออก
• Air flotation, AF
• เป่าฟองอากาศจากใต้น้า
• Dissolved air flotation, DAF
• อัดอากาศในน้าใต้ความดันสูงกว่าบรรยากาศ ท้าให้อากาศละลายน้า
เมื่อลดแรงดันอากาศน้าจะเกิดเป็นฟองขนาดเล็ก การออกแบบถัง DAF
• แยกน้ามัน ไขมัน / ตะกอนจุลินทรีย์ / ตะกอนเคมี ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของอากาศและตะกอน กับความเข้มข้นของตะกอนกับ
• ให้ประสิทธิภาพสูงกว่า AF ความดันอากาศที่ใช้
• นิยมใช้ในการผลิตน้าประปา / อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ / แยก Z = อัตราการละลายของอากาศในน้าที่ความดันบรรยากาศ, มล./ล.
ตะกอนโลหะหนัก / เพิ่มความเข้มข้นตะกอนจุลินทรีย์ 𝐴 1.3𝑍(𝑓𝑃 − 1)
= 1.3 = น้าหนักของอากาศ 1 มล. ที่ 0 ซ ความดัน 1 บรรยากาศ
𝑆 𝑆𝑎
• Vacumm flotation, VF A = น้าหนักอากาศที่ใช้
S = น้าหนักตะกอน หรือสิ่งสกปรกในน้าเสีย
• ลดความดันในน้าเสียลงจนอากาศที่ละลายอยู่ในน้าหลุดออกมาในรูป f = อัตราส่วนของอากาศที่ละลายในน้าเสียที่ความดัน P มีค่าประมาณ 0.5
ฟองอากาศ P = ความดันสมบูรณ์ (Absolute pressure), บรรยากาศ
• อาจใช้ร่วมกับการเติมสารเคมีช่วยในการรวมตะกอน Sa = ความเข้มข้นของตะกอนในน้าเสีย, มล./ล.
Physical units
• Sedimentation • ถังตกตะกอนประเภทที่ 1
• ประเภทที่ 1 Free setting
• อนุภาคชนิดไม่จับตัวกัน สามารถจมตัวได้เอง เช่น กรวด
• Free setting
ทราย • Grit chamber ทั่วไปออกแบบให้ความเร็วน้าเสียมีคา่ คงที่
• ประเภทที่ 2 Flocculate setting or Hindered setting ประมาณ 0.3 ม./วินาที และนิยมก้าหนดค่าคงที่ขบอง
• ความเข้มข้นของตะกอนในน้าเสียไม่สูงมากนัก เป็นตะกอน ความเร็วของการจมตัวประมาณ 1.22 ม./วินาที อัตราน้า
เบาและต้องท้าให้เกิดการจับตัวกันเป็นตะกอนขนาดใหญ่ขึน ล้นประมาณ 73 ม.3/ม.2-ชม. โดยมีเวลาในการตกตะกอน
เพื่อให้มีน้าหนักมากพอในการตกตะกอน 30-60 วินาที
• ประเภทที่ 3 Zone setting
• ตะกอนความเข้มข้นสูงมากเกินกว่าที่จะจับตัวกันและจมลง
พร้อมกันได้ ท้าให้เกิดการแบ่งชันกันระหว่างตะกอนกับน้าใส
(supernatant) ส่วนตะกอนด้านล่างจะค่อย ๆ ยุบตัวลงไป
เรื่อย ๆ ท้าให้มีความหนาแน่นมาก (packing)
• ประเภทที่ 4
• ตะกอนเข้มข้นสูงมาก เกาะกันแน่น ชันตะกอนจะอัดตัวแน่น
มีปริมาตรลดลง
Physical units
• ถังตกตะกอนประเภทที่ 2 และ 3 • Q > 20 ลบ.ม./ชั่วโมง
• อัตราเร็วในการตกตะกอนช้ากว่าถังตกตะกอนประเภทแรก • Static upflow ถังต้องมีความลึกมาก ค่าก่อสร้างแพง
• ใช้เวลานาน น้าต้องนิ่ง
• นิยมใช้ถังกลม หรือสี่เหลี่ยม ที่ก้นถังลาดเอียง 4-10% และมีใบกวาด
• Setting tank หน้าตัดวงกลมหรือสี่เหลี่ยม
ตะกอน (Sludge scraper)
• ก้นถังลาดเอียงให้ตะกอนรวมตัวกันและอัดแน่นขึนได้
• ถังกลม น้าจะไหลในแนวดิ่ง เรียกว่า Mechanical upflow tank
• Q< 20 ลบ.ม./ชั่วโมง
• Static upflow ที่ความลาดเอียงก้นถังประมาณ 30-60 องศา • ถังสี่เหลี่ยม น้าไหลในแนวระดับ เรียกว่า Mechanical horizontal flow
tank
โดยน้าไหลเข้าถังในแนวดิ่ง
Physical units
• ถังตกตะกอนประเภทที่ 4
• ถังท้าข้น Gravity thickening
• ลดปริมาตรของตะกอนให้ง่ายต่อการขนส่งหรือการ
จัดการตะกอน
• เครื่องกวาดตะกอนจะท้าหน้าที่กวนตะกอนให้น้าที่ยัง
เหลือสามารถแยกตัวออกมาได้
• ออกแบบโดยใช้
• อัตราน้าล้น
• 10.3-36.7 ลบ.ม./ตร.ม.-วัน
• เวลาในการตกตะกอน
• อัตราภาระบรรทุกของแข็ง (Solid loading rate)
• ขึนกับชนิดตะกอน
• ทัว่ ไปไม่เกิน 100 กก./ตร.ม.-วัน
Physical units
• การกาจัดไขมันและนามัน (Oil and grease • การกรอง (Filtration)
removal) • ก่อนบ้าบัดขันที่สอง เป็นการกรองเพื่อลดตะกอนแขวนลอย
• 15-30 นาที • หลังการบ้าบัด เป็นการกรองให้น้าใส หรือมีสีน้อยลง เช่น
การกรองสาหร่ายออกจากน้าเสียที่ผ่านการบ้าบัดในบ่อผึ่ง
• ช่วยในการลดอุณหภูมิ หรือปรับสภาพความเป็นกรด-ด่าง
• กรองด้วยแรงโน้มถ่วง (Gravity filtration)
• อาจเติมสารเคมีช่วยให้ไขมันแยกตัวออกจากน้าได้ดีขึน • หิน กรวด ทราย เช่นการกรองจุลินทรีย์
• ลานตากตะกอน (Sludge drying bed)
• การกรองแบบ Microscreener / Micro-filtration/
Ultrafiltration / RO
• 20-30 um หรือละเอียดกว่านี
• แผ่นกรอง stainless steel, polymer หรือ ผ้า
• ระบบปิด ใช้ความดันสูง
• เพื่อให้น้าที่บ้าบัดแล้วน้ากลับมาใช้ในกิจกรรมได้มากขึน
• การกรองแบบ RO
Chemical processes
• การทาให้เป็นกลาง (Neutralization) • Oxidation and Reduction
• ปรับสภาพน้าเสีย ก่อน หรือ หลังผ่านกระบวนการบ้าบัด • การเติมสารเคมีเพื่อบ้าบัดมลสารโดยให้เกิดปฏิกิริยาในการรับอิเล็คตรอน
• การบ้าบัดด้วยกระบวนการทางชีววิทยา pH 6.8-7.2 (Reduction) หรือ ถ่ายอิเล็คตรอน (Oxidation)
• บ้าบัดโลหะหนัก
• น้าหลังบ้าบัดที่จะปล่อยสู่แหล่งน้าสาธารณะ pH 5.5-9.0
• Oxidizing agent
• ปรับให้ pH ลดลง นิยมใช้ กรดซัลฟิวริก
• อากาศ, ออกซิเจน, โอโซน, คลอรีน, ไฮเปอร์คลอไรด์,
• ปรับให้ pH เพิ่มขึน โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ เปอร์แมงกาเนต, โครเมต และไนเตรต
• ใช้น้าเสียจากแหล่งอื่นที่ผ่านการบ้าบัดแล้ว หรือน้าเสียหลังการบ้าบัด • Reducing agent
แล้ว แต่ต้องใช้ในปริมาณที่ไม่มากนัก • เฟอรัสซัลเฟต, โซเดียมเมตาซัลไฟล์, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เป็นต้น
• ต้องค้านวณปริมาณสารเคมีที่จะต้องเติมให้แม่นย้า • ตัวอย่าง
Chemical processes
• Chemical precipitation Ksp บอกถึงความสามารถในการละลายของสารในตัวท้าละลาย (น้า)
• เติมสารเคมีลงไปในน้าเสียเพื่อให้สิ่งสกปรกที่ละลายน้าเกิดเป็น ณ อุณหภูมหิ นึ่งๆ
สารประกอบที่ไม่ละลายน้าและตกตะกอนลงได้
• Hydroxide precipitation ถ้า Ksp มีค่ามากแสดงว่า ละลายได้ดีมากกว่า
• ปรับค่าความเป็นกรด-ด่างของน้าเสียให้สูงขึน
• NaOH/ปูนขาว
• น้าเสียโรงงานชุบโลหะ
• Carbonate precipitation
• ตกตะกอนอนุภาคบวก (Cation) หรือโลหะหนัก
• ผลึกคาร์บอเนต (ค่าการละลายน้าต่้า)
• ปรับ pH ให้เหมาะสม
• Sulfide precipitation
• As Cd Fe Al and Hg
• Na2S, H2S, Na2S2O3
• ตะกอนมีสีด้า มีกลิ่นเหม็น
• Sulfate precipitation
• อนุภาคบวกหรือโลหะหนัก
• ตะกอนเกลือซัลเฟต
Chemical processes
• Coaggulation – flocculation Coagulant :
• การท้าให้ตะกอนขนาดเล็ก รวมตัวกันเป็นตะกอนขนาดใหญ่โดย สารอนินทรีย์ เช่น สารส้ม. FeCl2, Lime, Dolomite, Sodium
การเติมสารเคมีช่วยในการรวมตะกอน aluminate, Poly aluminium chloride(PAC) เป็นต้น
• Coaggulation
• ท้าให้สารแขวนลอยในน้าเสียมีประจุเป็นกลาง หรือประจุเป็นศูนย์ โดย สารอินทรีย์ เช่น สารโพลิเมอร์ที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง
ใช้ Coagulant
• สารแขวนลอยจะผลักกันออกน้อยลงและรวมเป็นตะกอนใหญ่ขนได้ ึ ง่าย Flocculant :
• Flocculation สารอนินทรีย์ เช่น สารส้ม. ปูนขาว เป็นต้น โดยช่วง coagulation
• กระบวนการที่ท้าให้สารแขวนลอยที่เกาะกันอยู่สามารถรวมตัวกันได้มาก จะเติมสารส้มปริมาณน้อย เพื่อท้าลายประจุ และเติมสารส้มอีกครัง
ขึน โดยเติมสาร Flocculants ท้าให้ตะกอนรวมตัวกันใหญ่ขึนเรียกว่า
floc ซึ่งมีน้าหนักมาก ตกตะกอนได้ง่าย เพื่อให้เกิดตะกอน Al(OH3) เป็นแกนกลางให้อนุภาคขนาดเล็กเกาะ
ได้
สารอินทรีย์ เช่น สารโพลิเมอร์ที่มีน้าหนักโมเลกุลสูง
ปัจจุบันมีการใช้โพลิเมอร์สายยาว (Long-chain polymer) เช่น
polyacrylamides ช่วยในการรวมตะกอนมากขึนเนื่องจากให้
ประสิทธิภาพดี
Chemical processes
• Ion exchange • Weak base anion resin
• แลกเปลี่ยนไอออนระหว่างไอออนในน้าเสียและไอออน • จับไอออนลบที่เกิดกรดอินทรีย์ เช่น ซัลเฟตไอออน และ คลอไรด์
ของเรซิน • pH < 7
• Weak acid cation resin • Strong base anion resin
• Carboxyl • จับไอออนลบได้ทุกชนิด
• pH > 7
• Regenerate โดยใช้กรด หรือเกลือของกรดนันๆ
• Strong acid cation resin
• อนุมูลซัลโฟนิค (SO3H) แตกตัวได้ดีกว่า
• ท้างานในช่วง pH กว้างกว่า
Chemical processes
• Adsorption
• ดูดซับสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สี กลิ่น
• ประเภทสารอินทรีย์
• ดินเหนียว แมกนีเซียมออกไซด์ ถ่านกระดูก
• พืนที่ผิวจ้าเพาะ 50-200 ตร.ม./ก.
• จับคอลลอยด์ได้เพียงบางชนิด
• สารอินทรีย์สังเคราะห์
• สารเรซินชนิดพิเศษ 300-500 ตร.ม./ก.
• รีเจนเนอเรตได้ง่ายกว่าถ่านกัมมันต์
• ถ่านกัมมันต์
• Activated carbon
• ชนิดเกล็ด (Granular, GAC) / ชนิดผง (Powder, PAC)
• 600-1000 ตร.ม./ก.
Chemical processes
• Disinfection
• กายภาพ : Radiation, Heating, UV, Sun-light
• เคมี :
• คลอรีน
• โอโซน

• Jar test
• การทดลองหาสภาวะที่เหมาะสมและปริมาณสารเคมีที่
เหมาะสมในการใช้สร้าง/รวมตะกอนของสารแขวนลอยใน
น้า
• ความเป็นกรด-ด่าง
• ระยะเวลารวมตะกอน
• ปริมาณสารเคมี
Useful Definitions
• Activated Sludge : ตะกอนชีวภาพ ส่วนมากเป็นจุลนิ ทรียพ์ วก Heterogeneous
• Aerobic Processes : กระบวนการบ้าบัดน้าเสียในสภาวะที่มอี อกซิเจนอยู่พอเพียง
• Anaerobic Processes : กระบวนการบ้าบัดน้าเสียในสภาวะที่ไม่มอี อกซิเจน
• Anoxic Denitrification : กระบวนการที่เปลีย่ น nitrate ไปเป็นก๊าซไนโตรเจน
• Autotroph : จุลชีพที่ใช้ CO2 เป็นแหล่งคาร์บอนส้าหรับสังเคราะห์เซลล์
• Attached-Growth Processes : กระบวนการบ้าบัดนา้ เสียแบบจุลชีพเกาะอยู่บนผิวตัวกลาง
• Biodegradation : การย่อยสลายสารอินทรีย์ตา่ งๆโดยใช้จลุ ินทรีย์
• Biomass : จุลชีพพวก Heterotrophic
• Chemotroph: ตัวจุลชีพที่ใช้ปฏิกริ ิยาเคมีเป็นแหล่งพลังงาน
• Eutrophication: ผลของน้าที่มี N P สูงเกินไป ท้าให้เกิดการเติบโตของพืชน้ามากเกินไป

45
Useful Definitions
• Facultative : ความสามารถที่จุลชีพสามารถอาศัยอยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
• F/M : ค่าอัตราส่วนระหว่างปริมาณอาหารส้าหรับจุลชีพ (BOD5/วัน) กับปริมาณของตัวจุลชีพ(MLVSS)
• Heterotroph : จุลชีพที่ใช้สารอินทรีย์เป็นแหล่งคาร์บอนส้าหรับสร้างเซลล์
• Mean Cell Residence Time(MCRT) : ระยะเวลาเฉลี่ยของจุลชีพที่อาศัยในระบบบ้าบัดน้าเสียทางชีววิทยา
• Mixed Liquor Suspended Solids (MLSS) : ตะกอนแขวนลอยที่ส่วนมากเป็นจุลชีพในน้าเสีย หรือจะเรียกว่าเป็น
ตะกอนแขวนลอยทังหมดคือมีทังที่เป็นสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์
• Mixed Liquor Volatile Suspended Solids (MLVSS) : ตะกอนแขวนลอยทีมีเฉพาะสารอินทรีย์เท่านัน
• Oxygen Uptake : ปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ในปฏิกิริยาชีวเคมีของการบ้าบัดน้าเสีย
• Oxygen Utilization : ปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ในระบบบ้าบัดน้าเสีย

46
Useful Definitions
• Pathogen : จุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคได้
• Photosynthesis : การสังเคราะห์แสง หรือการเปลีย่ นจากพลังงานแสงไปเป็นพลังงานเคมี
• Phototroph : จุลชีพที่ใช้แสงเป็นแหล่งพลังงาน
• Sludge : ตะกอนประเภทต่างๆที่ถูกแยกออกจากนา้
• Sludge age : ระยะเวลาที่ตะกอนอยู่ในระบบบ้าบัดน้าเสีย เท่ากับปริมาณตะกอนในระบบหารด้วยปริมาณตะกอนที่ไหลออกจาก
ระบบในหนึ่งหน่วยเวลา
• Sludge volume index : ดัชนีปริมาณตะกอน เท่ากับ ปริมาณตะกอนที่จมตัวได้ใน 30 นาที (mL/L) x 1000 หารด้วยปริมาณ
ของแข็งแขวนลอยทังหมด
• Stabilization : กระบวนการทางชีววิทยาที่ย่อยสลายตะกอนไปเป็นก๊าซ และเนือเยื่อเซลล์อนื่ ๆ
• Substrate : สารอินทรีย์ และสารอาหารอื่นในนา้ เสีย ที่ถูกใช้เป็นอาหารของจุลชีพ
• Suspended-growth processes : กระบวนการบ้าบัดน้าเสียด้วยวิธีทางชีวภาพแบบจุลชีพแขวนลอย

47
Objective of Biological Treatment
• เปลี่ยนรูปสารที่ละลายในน้า และ ของแข็งที่แขวนลอยที่ย่อยสลายได้ ให้อยู่ในรูปที่ไม่เป็นพิษ หรือยอมรับได้มากที่สุด
• ก้าจัด หรือลดความเข้มข้นของสารอินทรีย์และสารประกอบอนินทรียใ์ นน้าเสีย
• จับและรวม ตะกอนแขวนลอยในน้าให้กลายเป็น ตะกอนชีวภาพ หรือ biofilm ที่สามารถตกตะกอนได้มากขึน
• เปลี่ยน หรือ ก้าจัด สารอาหาร เช่นไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
• แยกสิ่งที่ไม่ต้องการในน้าเสียออกมา
Oxidized
สารอินทรีย์คาร์บอน CO2 + H2O + ผลปฏิกิริยาอื่นๆ

Synthesized พลังงาน Endogenous respiration

ธาตุอาหาร เซลล์ใหม่ ตะกอน


48
หลักเกณฑ์ในการแบ่งประเภทปฏิบัติการทางชีวภาพ
สภาพแวดล้อมทางชีวเคมี การเปลี่ยนแปลงรูปของสาร
Aerobic Processes การกาจัดสารอินทรีย์ที่ละลายนา รูปแบบของถัง
มีออกซิเจนอิสระในปริมาณ จุลินทรีย์ที่ต้องการ O2 ในการย่อยสลาย เหมาะส้าหรับ ปฏิกิริยา
สารอินทรีย์เข้มข้นระหว่าง
เพียงพอต่ออัตราเร็วของปฏิกิริยา Batch/CSTR/PF
50-400 มก./ล. ถ้าต่้ากว่าควรใช้วิธีทางเคมีหรือ
Anoxic Processes กายภาพ ถ้าสูงเกิน 4000 มก./ล. ควรใช้ระบบหมักไร้
เมื่อออกซิเจนอิสระน้อยลงจนไม่ ออกซิเจนเป็นการบ้าบัดขันต้น
เพียงพอจะเป็นช่วงการย่อยสลาย การสร้างเสถียรภาพให้กับตะกอนอินทรีย์ รูปแบบการ
แบบ anoxic โดยใช้ไนเตรตเป็น มักเป็นกระบวนการที่ไม่ใช้ออกซิเจน ได้ของแข็งที่เป็น เจริญเติบโต
ตัวรับอิเลคตรอน สารอินทรีย์ที่ไม่ย่อยสลายเป็นผลสุดท้ายของปฏิกิริยา
• Suspended
และก๊าซมีเทน
Anaerobic Processes Growth
การเปลี่ยนรูปของสารอนินทรีย์ที่ละลายในนา
กระบวนการที่เริ่มต้นด้วยสภาพไม่ ไนตริฟิเคชันและดีไนตริฟิเคชัน/การเปลี่ยนรูปของ • Attached Growth
มีออกซิเจนอิสระละลายในน้า ซัลเฟตให้เป็นซัลไฟด์ 49
รูปแบบของถังปฏิกรณ์
• ถังปฏิกรณ์แบบเท (Batch reactor)
• ถังปฏิกรณ์แบบผสมสมบูรณ์ (Completely Mixed)
• ไม่มีการไหลวนกลับ (without recirculation)
• มีการไหลวนกลับ (with recirculation reactor)
• ถังปฏิกรณ์แบบไหลตามกัน (Plug-flow reactor)
• ถังปฏิกรณ์แบบ Arbitrary-flow
• ถังปฏิกรณ์แบบผสมสมบูรณ์ที่วางเรียงกันแบบอนุกรม
• ถังปฏิกรณ์แบบบรรจุตัวกลาง (Fixed-Film Reactor)

50
Batch process
• การบ้าบัดโดยการเติมน้าเสียเข้าสู่ระบบเป็นครังคราว และปล่อยให้เกิดปฏิกิริยาไปจนเสร็จสินจึงปล่อยน้าและตะกอน
ออกจากถังบ้าบัด และเริ่มกระบวนการใหม่อีกครัง

• ระบบแบบ batch บางประเภทสามารถรองรับน้าเสียที่เข้าระบบตลอดเวลาได้ เช่น ระบบ SBR


Sequencing Batch Reactor Processes

Fill React Settle Draw Idle


• ถังปฏิกรณ์แบบเท เป็นถังปฏิกรณ์ที่มีการกวนผสมสมบูรณ์
• Fill สารตังต้นถูกเติมลงในถังเปล่า
• React กวนผสมสารตังต้น เป็นช่วงที่เกิดปฏิกิริยาการย่อยสลาย และสร้างเซลล์จุลินทรียใ์ หม่ เกิดกลุ่ม
ตะกอนจ้านวนมาก
• Settle หยุดการกวนให้ตะกอนจุลินทรีย์ตกลงด้านล่าง
• Draw เทน้าใสส่วนบนออกจากถัง
• Idle ระบายตะกอนส่วนเกินที่ตกอยู่ด้านล่างออก พักถังปฏิกรณ์ก่อนเริ่มขันตอนการป้อนน้าใหม่อีก
ครัง

52
Fill React Settle Draw Idle
% of time 25 35 20 15 5
% of max.
25 to 100 100 100 100 to 35 35 to 25
volume

Operation : Air On/Off On/Cycle Off Off On/Off

Remove
Purpose Add substrate Reaction time Clarify Waste sludge
effluent

53
Continuous process
• น้าเสียไหลเข้าสู่ถังอย่างต่อเนื่อง โดยทั่วไปจะแยกย่อยได้เป็น
• Plug flow
• ความยาวมากกว่าความกว้าง หรือมีลักษณะการไหลเป็นเส้น
• ตามอุดมคติคือจะไม่มีการกระจายตัวของมลสารในทุกแกน แต่ในทางปฏิบัติจะมีการกระจายตัวของมลสารในแนวระนาบหน้าตัดตังฉากกับการไหลอยู่

• Completely mixed
• มีการกวนผสมทั่วทังถังปฏิกิริยา ลักษณะน้าเสียในถังจะเหมือนกันทุกจุด (Homogeneous)
• Activated Sludge
จุลินทรีย์แบบแขวนลอย Suspended Growth
• จุลินทรียห์ รือแบคทีเรียในระบบกระจายตัวแขวนลอยอยู่ในน้าเสีย เมื่อรวมตัวกันจะเรียกว่า Biological floc
• มีทังแบบเติมอากาศและไม่เติมอากาศ
• Aerobic
• Activated sludge
• Pond
• Anaerobic
• Anaerobic digester
• UASB
Rate of accumulation Rate of flow of Rate of flow of Net growth of
of microorganism = microorganism into - microorganism out + microorganism
within the system the system of the system within the boundary
boundary boundary boundary

สมมติฐานของถังปฏิกริ ิยา
• ในถังเติมอากาศมีการกวนผสมแบบสมบูรณ์
• ความเข้มข้นของสารอาหารที่เข้าสู่ถังเติม
3
Q = อัตราไหลน้าเสียเข้าสู่ถังเติมอากาศ, m /d
Influent Effluent อากาศมีค่าคงที่
X = ความเข้มข้นของมวลชีวภาพ (MLVSS) ในถังปฏิกรณ์, g/m3
Q, Xe, S • ไม่มีจุลินทรีย์ในน้าเสียที่เข้าสู่ถังเติมอากาศ
Q, X0, S0 X0 = ความเข้มข้นของมวลชีวภาพ (MLVSS) ในน้าเสียที่เข้าระบบ, g/m3
Xe = ความเข้มข้นของมวลชีวภาพ (MLVSS) ในน้าออกจากระบบ, g/m3 • สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ทังหมดอยู่ในรูป
S, X, V S0 = ความเข้มข้นของสารอาหารในน้าเสีย, g/m3 สารละลาย
Se = ความเข้มข้นของสารอาหารในน้าออกจากระบบ, g/m3 • เกิดสภาวะคงตัวตลอดทังระบบ
V = ปริมาตรถังปฏิกรณ์, m3 • ไม่มีการสูญเสียน้าจากการระเหย

56
Suspended growth treatment
• Aerobic
• Activated sludge หมุนเวียนตะกอนเข้าสู่ถังปฏิกิริยา
• Pond
• Oxidation ditch
• Anaerobic
• Anaerobic digester
• UASB

57
ปัญหาและวิธีการควบคุม ของระบบที่ใช้จุลชีพแบบ Suspended growth
• ปริมาณตะกอนที่เกิดขึนมีจ้านวนมาก
• แนวทางในการจัดการตะกอน
• ค่าอาหาร (F) หรือค่า BOD ในน้าเข้านันไม่สามารถควบคุมหรือควบคุมได้น้อย
• การรักษาค่า F/M โดยการเปลี่ยนแปลงค่าน้าหนักของจุลินทรีย์ (M) โดยการเพิ่มหรือลดการน้าตะกอน
ส่วนเกินไปทิง เช่น
• ถ้า F/M มีค่าสูง แสดงว่า M มีค่าน้อย จะต้องลดการน้าตะกอนจุลินทรีย์ไปทิงเพื่อให้ M มีค่าสูงขึน
• ถ้า F/M มีค่าต่้า ก็จะต้องเพิ่มการน้าตะกอนจุลินทรีย์ไปทิงเพื่อลดค่า M ให้ต่้าลง

58
ค่าอัตราส่วนอาหารต่อจุลินทรีย ์ (F/M) ทีช่ ่วงการทางานต่างๆ

F/M ratio, d-1


พารามิเตอร์
High rate Conventional Rate Low rate
BOD 0.50-2.00 0.20-0.50 0.05-0.15
COD* 0.30-1.50 0.12-0.03 0.03-0.09
TOC** 1.50-6.00 0.50-1.50 0.10-0.33
หมายเหตุ : F ค้านวณจากค่า BOD, COD หรือ TOC
M ค้านวณจากมวลตะกอนจุลินทรียใ์ นถังเติมอากาศ (MLSS)
* ก้าหนดให้ค่า BOD/COD ส้าหรับน้าเสียมีค่า = 0.60
** ก้าหนดให้ค่า BOD/TOC ส้าหรับน้าเสียมีค่า = 2.50
59
จุลินทรีย์แบบเกาะติด (Attached growth system)
• จุลินทรีย์ในกลุ่มนีจะเจริญเติบโตโดยต้องเกาะติดอยู่กับตัวกลางที่เหมาะสมเท่านัน
• จุลินทรีย์จะเกาะซ้อนกันเป็นชันๆเรียกว่าเมือกชีวภาพหรือ Biofilm
• ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของจุลินทรีย์กลุ่มนีคือ อัตราการไหลของน้าเสีย ขนาดและรูปร่างของตัวกลาง พืนที่ผิวของ
ตัวกลาง
• ในระบบจุลินทรีย์แบบเกาะติดที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะพบได้ในระบบ Anaerobic filter เป็นต้น

60
การสร้างตัวของ Biofilm
• free-floating microorganisms ยึดกับตัวกลางด้วยแรง van der Waals และมีการยึดเกี่ยวที่แน่นขึนโดยใช้อวัยวะ
เช่น pili
• จุลินทรีย์อิสระอื่นๆจะเริ่มยึดเกาะกับจุลินทรีย์ตัวแรกในลักษณะเดียวกัน เกิดเป็นเมือกแบคทีเรีย ทีละชัน ๆ
• เมื่อมีความหนามากพอ จุลินทรียท์ ี่เกาะอยู่จะเริ่มการย่อยสลายสารอินทรีย์และท้าการแบ่งเซลเพิ่มขึน
• อัตราการเจริญเติบโตจะถูกจ้ากัดด้วยความสามารถในการแพร่เข้าสู่ชันไบโอฟิล์มของสารอาหารและออกซิเจน
What can this process do?
1. Remove Nutrient
2. Remove dissolved organic solids
3. Remove suspended organic solids
4. Remove suspended solids
61
Mass-balance
Q, S

Liquid layer
Slime layer w
Z
rS

Z+dZ
h 

𝜕𝑆
Q, S+ 𝑑𝑍
𝜕𝑍

62
Process Microbiology
• Aerobic bacteria, anaerobic bacteria, facultative, fungi, algae and protozoa
• Worms, insect larvae and snails RBC
• กลุ่มที่พบมาก(เด่น) เป็นพวก facultative bacteria
• Algae พบในส่วนบนของมีเดียที่ได้รับแสงแดด
Trickling filter

63
ปัญหาของระบบ Biofilm
• สสารแพร่เข้าสู่ biofilm ได้ไม่เท่ากัน ปฏิกิริยาการย่อยสลายไม่สมบูรณ์
• โดยทั่วไป O2 จะแพร่เข้าสู่ชัน biofilm ได้ไม่เกิน 1-1.5 มม.
• การเพิ่มปริมาณ O2 สามารถท้าได้โดย
• ลดความหนาของชัน biofilm
• เพิ่มพืนที่ผิวของ biofilm
วิธีการในการศึกษาลักษณะการไหล
• Tracers study
• การเติมสารติดตามที่ไม่เกิดปฏิกิริยากับน้าหรือน้าเสีย เช่น สี เกลือ หรือสารกัมมันตรังสี
• Pulse tracer การป้อนสารร่องรอยแบบกระตุก
• เติมเข้าที่ทางน้าเข้าเพียงครังเดียวในปริมาณที่สูง
• เก็บของเหลวที่ออกจากถังทุกช่วงเวลา เช่น 5 นาที 10 นาที
• วิเคราะห์ความเข้มข้นของสารที่เติมเข้าไป
• น้าผลมาพล๊อตกราฟระหว่าง C/C0 และ t/t0

65
Tracer
• Step feed tracer การป้อนสารร่องรอยแบบขันบันได
• ป้อนสารร่องรอยเข้มข้น C0 ตลอดเวลาทดสอบ
• อัตราส่วนระหว่างความเข้มข้นน้าเข้าและออก (C/C0) จะเปลี่ยนแปลงตามระดับการกวนของน้า
• แบ่งน้าเป็นสองระยะ ส่วนแรกอยู่ในถังปฏิกิริยาน้อยกว่า t คือ F(t) อีกส่วนอยู่ในถังปฏิกิริยามากกว่า t (1-
F(t))
• ณ เวลา t= t ส่วนที่เท่ากับ F(t) จะวัดค่า Ct= C0 และ ส่วน 1-F(t) จะตรวจไม่พบสารร่องรอยเลย

66
67
• ถังปฏิกรณ์แบบผสมสมบูรณ์ สารติดตามจะถูกกวนผสมเป็นเนือเดียวกับของเหลว ท้าให้ความเข้มข้นทุก
จุดเท่ากันหมด
• ในเวลาเริ่มต้น t/t0 = 0 ค่า C/C0 =1
• เมื่อเวลาผ่านไปความเข้มข้นจะลดลงเรื่อยๆ (มีแต่สารออกไม่มีสารเข้า) ค่า C/C0 จึงลดลงตามระยะเวลา

• ถังปฏิกรณ์แบบไหลตามกัน (Plug flow)


• ไม่มีการผสมในแนวทิศทางการไหล สารที่เติมเข้าไปจะไหลออกจากถังพร้อมกันทีเดียวในเวลา t/t0 =1 ซึ่งเป็น
ต้าแหน่งที่ให้ค่า C/C0 สูงที่สุด

68
ตัวอย่างการท้า Tracer Study
• จากข้อมูลจากการท้า pulse tracer study จงหาเวลาเก็บกักน้าเฉลี่ยของถังปฏิกิริยา
Time, hr 0 0.4 0.6 0.9 1.3 1.6 1.8 2.1 2.4 2.7 3.0
C(t), mg/L 0 6.0 22.0 25.5 22.5 16.5 11.0 7.2 4.4 2.1 0

• วิธีการ
• หาฟังก์ชัน RTD หรือ E(t) โดยพล็อตกราฟระหว่า C(t) และ เวลา (t) จะได้กราฟ E ที่มีพืนที่ใต้กราฟมีค่าเท่ากับ C0


𝐶0 = න 𝐶 𝑡 𝑑𝑡 = ෍ 𝐶(𝑡)∆𝑡
0

69
30 จากฟังก์ชั่น
𝐶(𝑡)
25 𝐸 𝑡 = ൗ𝐶
0
20 C0 = พืนที่ใต้กราฟ = 34.9 (mg/L)(hr)
E(t) = C(t)/34.9
15
C(t), mg/L
10 Tip: สร้างตารางข้อมูลผลคูณของ C(t) และ dt
รวมผลคูณทังหมดจะได้เป็นพืนที่ใต้กราฟ
5
0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5
Time, hr
70
• หาค่าเฉลี่ยเวลาเก็บกักน้าจากสมการ

𝜏 หรือ 𝑡ҧ = න 𝑡𝐸 𝑡 𝑑𝑡
0
• พล๊อตกราฟระหว่าง tE(t) และ t จากนันหาพืนที่ใต้กราฟ ซึ่งเท่ากับผลรวมของ tE(t)*t
• ค้านวณจากผลรวมของ tE(t)*t

Time, hr 0 0.4 0.6 0.9 1.3 1.6 1.8 2.1 2.4 2.7 3.0
C(t), mg/L 0 6.0 22.0 25.5 22.5 16.5 11.0 7.2 4.4 2.1 0
E(t) 0 0.172 0.630 0.730 0.645 0.473 0.315 0.206 0.126 0.060 0
tE(t) 0 0.069 0.378 0.657 0.838 0.757 0.567 0.433 0.302 0.162 0

71
1

0.8

0.6
𝑡ҧ = 1.27 ชั่วโมง
tE(t)

Ans
0.4

0.2

0
0 0.5 1 1.5 2 2.5 3
t, hr
72

You might also like