You are on page 1of 7

การบําบัดน้ําเสียโดยใชจุลินทรียในปุยหมัก

ชื่อโครงงาน การบําบัดน้ําเสียโดยใชจุลินทรียในปุยหมัก
ชื่อผูปฏิบัติ น.ส. ศศิกาญจน เตชะบรรณะปญญา
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6
สถาบัน โรงเรียนศึกษานารี
นักวิทยาศาสตรพี่เลี้ยง ผูชวยศาสตราจารยดร.ภาวิณี ชัยประเสริฐ

บทคัดยอ
การบําบัดน้ําเสียโดยใชจุลินทรียในปุยหมัก เปนโครงงานที่ตองการศึกษาการทํางานของ จุลินทรียที่มี
อยูในปุยหมัก ซึ่งนอกจากจุลินทรียจะสามารถยอยสลายสารอินทรียในกองปุยหมักไดแลว ยังสามารถยอยสลาย
สารอินทรียในน้ําได โดยใชกระบวนการบําบัดน้ําเสียแบบไรอากาศหรือไรออกซิเจน ซึ่งเปนกระบวนการที่
เหมาะกับการบําบัดน้ําเสียที่มีความเขมขนของสารอินทรียสูง หรือมีคา COD สูง
ในการทําปุยหมักที่ทํากันทั่วไปในการเกษตร สวนใหญเปนการทําปุยหมักแบบไรนา ซึ่งเกิดจากิจกรรม
ของจุลินทรียหลายชนิดในธรรมชาติยอยสลายสารอินทรียซึ่งเปนองคประกอบของเศษพืช หรือเศษวัสดุตางๆ
จนกระทั่งไดสารอินทรียไมมีกลิ่น มีสีน้ําตาลปนดํา แตการทําปุยชนิดนี้ใชระยะเวลาประมาณหนึ่งเดือนขึ้นไป ซึ่ง
เปนระยะเวลาที่ยาวนาน แตสําหรับการทําโครงงานที่มีเวลาจํากัดวิธีดังกลาวจึงไมคอยเหมาะสมนัก จึงไดทําปุย
หมักวิธีเรงเชื้อโดยใชเชื้อ EM ซึ่งมีประสิทธิภาพในการยอยสลายอินทรีย ใชเสลานานเพียง 7-10 วันก็สามารถ
นํามาใชได ซึ่งปุยหมักชนิดนี้จะมีลักษณะเปนของเหลวสีเหลือง มีกลิ่นอมเปรี้ยวหรือมีกลิ่นเหมือนเชื้อเห็ด และ
สวนที่นําไปใชบําบัดน้ําเสียเปนของเหลวสีเหลือง ซึ่งมีวัตภาคเดียวกับน้ําเสีย คือสถานะเปนของเหลวเหมือนกัน
เมื่อนําน้ําจากปุยหมักมาเติมลงในน้ําเสีย ก็จะผสมเปนเนื้อเดียวกัน
ในการทําปุยหมักเพื่อนํามาบําบัดน้ําเสีย ไดใชวัสดุนําตางๆกันมาทําปุยหมัก ไดแก เศษเปลือกสับปะรด
และเศษผักคะนา เพื่อตองการทดลองหาวาจุลินทรียที่อยูในปุยหมักไดที่จากวัสดุชนิดใด มีประสิทธิภาพในการ
บําบัดน้ําเสียไดดีกวากัน
แตกอนที่จะนําปุยหมักที่หมักไดครบตามกําหนดไปบําบัดน้ําเสีย ตองมีการวัดปริมาณเชื้อจุลินทรียที่มี
ในน้ําที่ไดจากปุยหมัก โดยวัดจากคามวลชีวภาพ (Bio Mass) และนําน้ําจากปุยนั้นไปผสมกับน้ําเสียหรือน้ําแปงที่
ใชในการทดลองในอัตราสวนที่ตางๆกัน เพื่อนําไปเปรียบเทียบและคํานวณปริมาณของเชื้อจุลินทรียที่เหมาะสม
กับปริมาณสารอินทรียน้ําเสียที่นํามาทดลอง ซึ่งจะทําให เชื้อจุลินทรียสามารถบําบัดน้ําเสียไดอยางมีประสิทธิภาพ
เพราะถ า น้ํ า เสี ย มี ป ริ ม าณสารอิ น ทรี ย สู ง แต มี เ ชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย อ ยู น อ ย เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ก็ จ ะไม ส ามารถย อ ยสลาย
สารอินทรียที่มีอยูในน้ําเสียได
การตรวจวัดคุณภาพน้ําทําไดหลายวิธีโดยวัดจาก คาความเปนกรด-เบส (pH), คา DO, คา BOD, คา
COD, คา Alkalinity ฯลฯ สําหรับโครงงานการบําบัดน้ําเสียโดยใชจุลินทรียในปุยหมักนี้ตรวจวัดคุณภาพน้ําโดย
วัดจากคาความเปนกรด-เบส (pH) และคาCOD เพราะสามารถหลังจากใชอุปกรณตรวจวัดแลว ผลจะปรากฏทันที
และบันทึกผลไดทันที ไมตองนําไปคํานวณหลายขั้นตอน และไมเกิดความสับสนในการบันทึกผลและในระบบ
บําบัดน้ําเสียที่ดีจะตองมีคา pH ประมาณ 7 หรือเปนกลาง และคา COD จะตองต่ําลง
แตหลังจากการบําบัดน้ําแปง คุณภาพน้ําที่ผานการบําบัดโดยจุลินทรียในปุยหมักยังไมดีขึ้นเทาที่ควร
เห็นไดจากคา pH ซึ่งอยูมีสภาพเปนกรด และคา COD ในบางชวงยังมีการเพิ่มขึ้นบางและบางชวงก็ลดลงเพราะ
เชื้อจุลินทรียยังมีปริมาณนอยเมื่อเทียบกับปริมาณสารอินทรียหรืออาหาร จึงทีการยอยสลายสารอินทรียไดนอย
หรือไมสามารถบําบัดได และในการบําบัดน้ําเสียโดยใชปุยหมักที่หมักจาก เศษคะนา คา COD ลดลง และคา pH
สูงกวาระบบอื่นๆซึ่งอาจเปนไปไดวาจะมีเชื้อกลุมหนึ่งเกิดขึ้นในปุยหมักที่ไดจากการหมักเศษผักคะนา แตไมมีใน
ระบบอื่นๆและเปนเชื้อที่เหมาะสมตอการ ยอยสลายสารอินทรียใ นน้ําแปง
การบําบัดน้ําเสียโดยใชจุลินทรียในปุยหมัก ถามีการควบคุมคา pH ในระบบ และมีเชื้อมีการเจริญและมี
การขยายพันธุมาก ผลการทดลองนาจะไดผลดีกวานี้ คือคา COD จะลดลง และคา pH ประมาณ 7 และสามารถนํา
กระบวนการบําบัดน้ําเสียแบบไมใชอากาศ ไปรวมกับกระบวนการบําบัดน้ําเสียอื่นๆก็จะทําใหน้ําที่ผาการบําบัด
จะมีคุณภาพดีขึ้น และสามารถปลอยลงสูแหลงน้ําไดโดยไมทําให เกิดมลภาวะทางน้ํา

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร (ฉบับยอ)
ความสําคัญและที่มาของโครงงาน
ในกระบวนการผลิตทางดานอุตสาหกรรม น้ํานับเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่ง ปจจัยหนึ่งที่มีความจําเปน ทั้ง
ในแงของการดํารงชีวิตกระบวนการผลิต และในแงขององคประกอบเพิ่มเสริมในประบวนการการผลิตดังนั้นน้ํา
ทิ้งจากครัวเรือนที่มีคราบไขมันและสารอินทรียอยูสูง และน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมนอกจากจะมีอุณหภูมิที่
สูงแลว ยังมีสารอินทรีย สารอนินทรียปนอยูมากมาย เมื่อปลอยลงสูแหลงน้ําโดย ไมมีการบําบัดน้ําทิ้งเสียกอน สิ่ง
เหลานี้ก็จะสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมใหเสื่อมโทรมลง
ปญหาเกี่ยวกับน้ําเสียเปนปญหาใหญ ซึ่งเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง และทวีความรุนแรงขึ้นตามลําดับจึงเปน
เรื่องที่รอไมได ทุกคนตองรวมมือรวมใจในการแกไขทั้งที่เปนตนเหตุและปลายเหตุ กอนอื่นตองรวมมือกันใชน้ํา
อยางประหยัด ปริมาณน้ําทิ้งจะนอยลง ไมทิ้งขยะสิ่งปฏิกูลและน้ําไขมันตางๆที่เกิดการประกอบอาหาร และการ
ลางภาชนะอุปกรณที่กอใหเกิดน้ําเสียลงสูแหลงน้ําที่มีผลใหปริมาณออกซิเจนละลายไดนอยลงทําใหเกิดน้ําเสียได
งาย
สําหรับการแกปญหาที่ปลายเหตุ คือการบําบัดน้ําเสีย เพื่อใหน้ําเสียมีคุณภาพดีกอนที่จะระบายลงสู
แมน้ําเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และสามารถนําน้ําที่ผานการบําบัดแลวมาใชไดอีก เชน นําไปรด
โคนตนไม รดสนามหญา ลางพื้นบาน หรือนําไปใชหลอเย็นของเครื่องจักรในโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน
สําหรับน้ําเสียที่มีความเขมขนของสารอินทรียสูง สามารถนําไปบําบัดโดยใชแบคทีเรียแอนแอโรบิก
(Anaerobic bacteria) เปนตัวยอยสลายสารอินทรียในน้ํา ทําใหคา COD ต่ําลง คุณภาพน้ําดีขึ้น ในขณะที่ปุยหมักที่
หมักจนครบกําหนดเวลาแลว คือจะมีลักษณะเปนของเหลวสีเหลืองๆ กลิ่นอมเปรี้ยวๆ หรือกลิ่นเหมือนเชื้อเห็ด
ซึ่งมีแบคทีเรียประเภทยอยสลายสารอินทรียโดยไมใหอากาศหรือแบคทีเรียแอนแอโรบิก (Anaerobic bacteria) อยู
สามารถนํามาบําบัดน้ําเสียที่มีปริมาณสารอินทรียปนอยูได
วัตถุประสงคของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลการบําบัดเสียโดยใชน้ําปุย
2. เพื่อศึกษาวัตถุดิบตางชนิดในการทําปุยหมักที่มีผลตอการทํางานของแบคทีเรีย

วิธีดําเนินการ
1. ขั้นเตรียม
1.1 อุปกรณสําหรับหมักปุย
- ถัง 2 ถัง สําหรับหมักปุย
- เชื้อจุลินทรีย (เชื้อ EM) ชนิดเปนของเหลว
- ขยายเชื้อ EM
เชื้อ EM 2 ชอนโตะ : กากน้ําตาล 2 ชอนโตะ : น้ําสะอาด 1 ลิตร
ในถังปดฝาสนิท หมักไวอยางนอย 3 วัน
1.2 อุปกรณสําหรับบําบัดน้ําเสีย
- ขวดรูปชมพู 4 ขวด
- ขวดแกวมีฝาปดขนาดเล็ก 12 ขวด
- จุกยาง 2 รู เสียบทอนํากาซ
- สายยางขนาดเทากับทอนํากาซ
- น้ําแปงมันสําปะหลัง
2. ขั้นเตรียม
นําเศษผัก หรือผลไม มาตัดใหเปนชิ้นเล็กๆ ใสในถัง 3 ถัง
1. ถังที่ 1 ใสเศษเปลือกสับปะรด
2. ถังที่ 2 ใสเศษผักคะนา
3. ถังที่ 3 ใสเศษผักคะนาและเปลือกสับปะรดรวมกัน
2.2 ใสเชื้อจนทวมเศษผักผลไมพอดี ปดฝาใหสนิท
2.3 หมักปุยน้ํา ใชเวลาประมาณ 15 – 20 วัน
3. ขั้นเตรียม
หาปริมาณเชื้อตามวิธี V.S.S และ S.S.
- เชื้อ EM ขยาย
- ปุยหมักจากเปลือกสับปะรด
- ปุยหมักจากเศษผักคะนาและเปลือกสับปะรด
4. ขั้นทดสอบอัตราสวนที่เหมาะสมของปุยหมักและน้ําแปงมันสําปะหลัง
นําปุยน้ําที่หมักแตละชนิดตามเวลาที่กําหนด แลวนํามาเติมในน้ําเสียจากโรงงานแปงมันสําปะหลัง ซึ่งมี
สารอินทรียสูง และ COD สูง ในขวดแกวขนาดเล็ก
- ปุยหมักจากเปลือกสับปะรด : น้ําแปง 1:10, 2:10, 3:10, 4:10, 5:10
- ปุยหมักจากผักคะนา : น้ําแปง 1:10, 2:10, 3:10, 4:10, 5:10
- ปุยหมักจากเปลือกสับปะรดและผักคะนารวมกัน : น้ําแปง 1:10, 2:10, 3:10, 4:10, 5:10
4.2 หมักเปนเวลา 24 ชั่วโมง
4.3 วัดคุณภาพน้ําเสียที่ผานการบําบัดโดยใชปุยหมัก ที่หมักเปนเวลา 24 ชั่วโมง
5. ขั้นบําบัดน้ําเสีย
5.1 เลือกความเขมขนของปุยหมักและน้ําแปงที่เหมาะสมแลว ใสลงในขวดรูปชมพู ปดจุกยาง
ตอทอนํากาซใหสนิท
5.2 ขวดที่ 1 ปุยหมักจากเปลือกสับปะรด : น้ําแปง
ขวดที่ 2 ปุยหมักจากผักคะนา : น้ําแปง
ขวดที่ 3 เชื้อ EM : น้ําแปง
ขวดที่ 4 น้ําแปงอยางเดียว
5.3 วัดคุณภาพน้ําเสียที่ผานการบําบัดโดยใชปุยหมัก โดยวัก วันเวนวัน
- วัดคา COD
- วัดคา pH

ผลการทดลอง
1. ตาราง BIO MASS ของปุยและเชื้อ EM ขยาย (กรัม/ลิตร)
ชนิดของปุยหมัก S.S V.S.S
1. จากเปลือกสับปะรด 3.04 2.73
2. จากเศษผักคะนา 1.55 1.29
3. จากเปลือกสับปะรดและเศษผักคะนา 1.78 1.53
4. เชื้อ EM ขยาย 3.08 2.87
2. ตารางคา COD และ pH ของการหมักในขวดเล็กเปนเวลา 24 ชั่วโมง
2.1 คา COD เริ่มตนและหลังหมัก 24 ชั่วโมง (เจือจาง 1:10)

อัตราสวนน้ํา 1:10 2:10 3:10 4:10 5:10


:ปุย กอน หลัง ผลตาง(% กอน หลัง ผ ล ต า ง กอน หลัง ผลตาง กอน หลัง ผลตาง กอน หลัง ผลตาง
ชนิด Reacter) (% (% (% (%
ของปุย Reacter) Reacter) Reacter) Reacter)
1.จ า ก เ ป ลื อ ก 3320 3537 +6.50 3176 3696 +25.0 3661 3707 +1.25 4036 3950 -2.13 4906 4471 -8.86
สับปะรด
2.จากเศษ 3214 3064 -4.67 -* -* -* 2359 2113 -13.10 -* -* -* 2292 1738 -24.17
ผักคะนา
3.จากเปลื อ ก 3442 3661 +6.42 4095 3675 -10.25 4054 4551 +12.25 4417 4344 -1.65 4454 3996 -10.28
สั บ ปะรดและ
เศษผักคะนา

หมายเหตุ: + เพิ่มขึ้นจากเดิม
- ลดลงจากเดิม
* ไมไดวัดคา COD
2.2 คา pH เริ่มตนและหลังหมัก 24 ชั่วโมง
อัตราสวนน้ํา 1:10 2:10 3:10 4:10 5:10
:ปุย กอน หลัง กอน หลัง กอน หลัง กอน หลัง กอน หลัง
ชนิดของปุย
1.จากเปลือกสับปะรด 3.79 3.38 3.47 3.36 3.38 3.31 3.36 3.29 3.32 3.25
2.จากเศษผักคะนา 3.52 3.52 - - 3.79 3.81 - - 4.42 4.22
3.จากเปลือกสับปะรดและเศษผักคะนา - . - - - - - - - -
หมายเหตุ: - ไมไดวัดคา pH
3. ตารางคา COD และ pH ขั้นบําบัดจริง ในขวดรูปชมพู
ชนิดของปุย เปลือกสับปะรด เศษผักคะนา เชื้อ EM ขยาย น้ําแปงมันเปลา
วัน COD (เจือจาง pH COD (เจือจาง pH COD (เจือจาง pH COD (เจือจาง pH
เดือนป 1:10) 1:10) 1:10) 1:10)
29 พ.ย. 43 4500 3.51 2600 4.01 3000 3.48 4600 3.56
1 ธ.ค. 43 4500 3.52 2300 3.92 3500 3.39 4600 3.47
4 ธ.ค. 43 4500 3.67 2600 4.18 2600 3.56 4200 3.64
6 ธ.ค. 43 5000 3.93 2600 4.06 3800 3.61 4500 3.69
9ธ.ค. 43 -* 3.96 -* 3.90 -* 3.61 -* 3.70
18 ธ.ค. 43 4500 3092 2500 4.70 3300 3.76 5000 3.74
20 ธ.ค. 43 4700 4.00 1700 4.85 3300 3.83 4700 3.76
22 ธ.ค. 43 4100 - 1000 - 4000 - 5000 -
หมายเหตุ: -* ไมไดวัดคา COD เนื่องจาก COD Reacter หมด
สรุปและวิจารณผลการทดลอง
1. น้ําจากปุยหมักสามารถบําบัดน้ําเสียไดไมดีเทาที่ควร เปนเพราะปริมาณเชื้อจุลินทรียตออาหารยัง
นอยเกินไป เชื้อจุลินทรียจึงไมสามารถยอยอาหารไดอีเทาที่ควร
2. น้ําจากปุยหมักที่ไดจากการหมักเศษผักคะนา ทําใหคา COD ลดลงไดดีกวาน้ําจากปุยหมักที่ไดจาก
การหมัก เปลือกสับ ปะรด และน้ํา จากเชื้อ EM ขยายอย างเดีย ว ปริมาณเชื้อ น้ําจากปุ ย หมักเศษ
ผักคะนา มีนอยกวาที่ไดจากเปลือกสับปะรดและเชื้อ EM ซึ่งอาจเปนไปไดวาจะมีเชื้อกลุมหนึ่ง
เกิดขึ้นในปุยหมักที่ไดจากการหมักเศษผักคะนา และเปนเชื้อที่เหมาะสมตอการยอยสลายน้ําแปง
มันสําปะหลัง
3. จากการสังเกตคา ความเปนกรด- เบส หรือ pH เมื่อมีคา pH สูง คา COD ระบบจะนอยกวาในระบบ
ที่มี pH ต่ํา ในสภาวะที่เปนกรด

ขอเสนอแนะ
1. ศึกษาเมื่อเปลี่ยนสภาพความเปนกรดเปนเบส เพื่อเปรียบเทียบ
2. ถามีการศึกษาและควบคุมคาความเปนกรด-เบส ผลการทดลองคา COD นาจะลดลงมากกวานี้เพราะ
ความเปนกรด-เบส มีผลตอจุลินทรีย
3. สามารถตรวจสอบคุฯภาพน้ําโดยใชวิธี Alkalinity สามารถควบคุมกรด-เบสได
4. วิเคราะหจุลินทรีย โดยหากิจกรรมการยอยสลายสารอินทรีย ศึกษารูปราง ศึกษาสภาพความเปนกรดเบส
อุณหภูมิ และชนิดอาหาร ฯลฯ
5. ทดสอบโดยใชจุลินทรียหลายชนิดมาทําปุยหมัก เพื่อบําบัดน้ําเสียเปรียบเทียบกัน

เอกสารอางอิง
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2543. นิทรรศการวิถีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน วันที่ 5-7 กรกฎาคม 2543 กอง
การพิมพ ฝายประชาสัมพันธ กฟผ. 87 หนา.
นิรนาม. (2536). การประยุกตใชจุลินทรีย อีเอ็ม เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดลอมในวันนี้
โครงการปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุ, กลุมอินทรียวัตถุและวัสดุเหลือใช และกองอนุรักษดินและน้ํา กรม
พัฒนาที่ดิน 2537. คูมือรัญเรื่อง การปรับปรุงบํารุงดินดวยอิทรียวัตถุ มกราคม 2537 119 หนา

You might also like