You are on page 1of 5

การทําชุดทดสอบแอมโมเนียในน้ําแบบประหยัด

ชื่อโครงงาน การทําชุดทดสอบแอมโมเนียในน้ําแบบประหยัด
ชื่อผูปฏิบัติ นางสาว เกษิณี เกตุเลขา
ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5
สถาบัน โรงเรียนดัดดรุณี
นักวิทยาศาสตรพี่เลี้ยง ผศ.ดร.นิพนธ วงศวิเศษสิริกุล
สถาบัน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

บทคัดยอ
โครงงานวิทยาศาสตรเรื่อง “การทําชุดทดสอบแอมโมเนียในน้ําแบบประหยัด” จัดทําขึ้นเนื่องจากเกษตรกรที่มี
อาชีพเลี้ยงกุงในจังหวัดฉะเชิงเทราประสบปยหาเกี่ยวกับการใชชุดทดสอบสําเร็จรูป (est kit) ในการตรวจวัดคุณภาพน้ํา
เนื่องจากชุดทดสอบมีราคาแพง และทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีไดไมชัดเจนในสารละลายที่มีสมบัติเปนเบสออน ซึ่งเริ่มเปน
อันตรายตอสัตวน้ํา สวนน้ําที่มีสมบัติเปนเบสออน (pH 7.5-8.2 ) ความเขมขนของแอมโมเนีย 0.02% เริ่มเปนอันตรายตอ
สัตวน้ํา โดยเฉพาะกุงและปลาซึ่งเปนสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญ จึงมีแนวคิดจัดทําชุดทดสอบแอมโมเนียจากวัชพืช คือเถาคัน
(Vitis trifolia L.) และพืชทองถิ่น 2 ชนิดคือ กระเจี๊ยบแดง และอัญชัน ซึ่งหาไดงายในทองถิ่น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ
ศึกษาการทําปฎิกิริยาระหวางที่สกัดจากพืชทั้ง 3 ชนิด กับสารละลายที่มีความเขมขนของแอมโมเนีย 0.01% - 0.05%
เปรียบเทียบวิธีการเก็บรักษารงควัตถุในรูปสีน้ํา กระดาษและผงสี และนําไปวัดคุณภาพของน้ําในบอเลี้ยงกุงและปลาใน
เขตจังหวัดฉะเชิงเทรา พรอมดวยสํารวจความพึงพอใจตอการใชชุดทดสอบแอมโมเนียจากธรรมชาติ ผลการศึกษาพบวา
รงควัตถุสกัดจากเถาคัน กระเจี๊ยบแดง และอัญชัน สามารถทดสอบคุณภาพน้ําในบอเลี้ยงกุงแลพปลาไดแตสารสกัดจาก
เถาคันเหมาะสมกวา เนื่องจากเปนวัชพืชที่มีการนํามาใชประโยชนนอยโดยใชสารละลายกรดเปลี่ยนสีไดชัดเจน สวนใน
สารละลายเบสเปลี่ยนสีชัดเจน โดยใชสารละลายกรดเปลี่ยนสีไมชัดเจน สวนในสารละลายเบสเปลี่ยนสีชัดเจน การเก็บ
รักษารงควัตถุในรูปแบบผงสีสามารถคงสภาพความเปนอินดิเคเตอรไดดีกวาการรักษาในรูปแบบน้ําสี และกระดาษ ชุด
ทดสอบนี้สามารถทดสอบนี้สามารถทดสอบนําจากบอเลี้ยงกุงและปลาไดผลตรงกับการใชชุดทดสอบสําเร็จรูป และ
เกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจอยูในระดับมากในการทดสอบ

ความสําคัญและที่มาของโครงงาน
จากการสังเกตตามริมถนนและที่รกรางพบเถาคัน (Vitis trifolia L.) กระเจี๊ยบและอัญชัน เถาคันนั้นเปนวัชพืชที่มี
สีมวงปนแดง สารสกัดจากพืชทั้ง 3 ชนิด นั้นเมื่อถูกน้ําสบูทําปฏิกิริยาเปลี่ยนเปนมวงจนถึงสีน้ําเงินเมื่อนําน้ําสีมาหยด
สารละลายกรด คือ น้ํามะนาวทําปฏิกิริยาเปลี่ยนเปนสีเขียวปนน้ําเงิน ดังนั้นรงควัตถุ (oigment) ในผลสุกของเถาคัน น้ํา
กระเจี๊ยบ และน้ําจากดอกอัญชันมีคุณสมบัติเปนอินดิเคเตอรทดสอบสมบัติความเปนกรดเบสของสารละลายตาง ๆ แต
สารสกัดจากพืชเสื่อมสภาพเร็ว จากการคนควาเอกสารพบวาแอมโมเนียเปนสารสวนมากในน้ําที่ทําใหน้ําเปนสมบัติเปน
เบสออน ๆ และเปนอันตรายตอสัตวน้ํา จากการสอบถามเกษตรกร ผูเลี้ยงกุงกุลาดํา และปลาชนิดตาง ๆ ในจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ทราบวามีการตวรจแอมโมเนียดวยชุดทดสอบสําเร็จรูป (est kit) ซึ่งมีราคาแพงทําใหเพิ่มตนทุนในการผลิต
และการทดสอบดวยกระดาษยูนิเวอรแซลอาดิเคเตอรในน้ําที่เปนเบสออน ๆ มีการเปลี่ยนสีไมชัดเจน
จึงมีแนวคิดนําสารสีสกัดจากพืชทั้ง 3 ขนิด มาทดลองทําชุดทดสอบแอมโมเนียในน้ําแบบประหยัด เพื่อลดวาใช
จายในการวื่อชุดทดสอบสําเร็จรูป และเพิ่มมูลคาใหแกวัชพืชในทองถิ่น

จุดประสงคของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาการทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีระหวางสารสกัดจากพืชทั้ง 3 ชนิด กับสารละลายแอมโมเนีย
2. เพื่อเปรียบเทียบการทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีของสารสีสกัดจากพืชที่เก็บในลักษณะเปนน้ําสี กระดาษและผงสี

วิธีดําเนินการ
การทดลองที่1ศึกษาการทําปฏิกิริยาของรงควัตถุสกัดจากพืช ชนิดตาง ๆ ในสารละลายมาตรฐานที่มีคาพีเอช4, 7 และ
10 โดยใชน้ําเปนตัวทําละลาย
1. คัดเลือกผลสุกของเถาคัน ดอกกระเจี๊ยบและดอกอัญชัน
- นําเถาคันไปแยกเมล็ด บดใหแหลกสกัดดวยน้ําเย็น อัตราสวน 1:1 , 1:2 และ1:4 ตามลําดับกรองเอาน้ําสี
- นําดอกกระเจี๊ยบและดอกอัญชันอบที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ตมดวยน้ํารอนเพื่อสกัดเอาน้ําสี
2. ทดสอบการเปลี่ยนสีของสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ในสารละลายที่มีคาพีเอช 4.0,7.0 และ10.0ปรียบเทียบกับ การ
ใชชุดทดสอบสําเร็จรูป
3. หยดสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ลงไปในหลอดทดลอง หลอดละ 3 หยด (0.09 cm3) และสังเกตุสีของสารละลาย
การทดลองที่2ศึกษาการทําปฏิกิริยาของรงควัตถุสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ในสารละลายที่มีคาพีเอช1, 3, 5 , 5.5, 6, 6.5, 8,
8.5, 9, 9.5 และ10เปรียบเทียบกับการใชชุดทดสอบสําเร็จรูป
1. เตรียมสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ตามวิธีการจากการทดลองที่ 1
2. เตรียมน้ํากลั่นปริมาตร 5 cm3 จํานวน 1 หลอด
3. เตรียมสารละลายที่มีคาพีเอช 1 , 3, 5, 5.5, 6, 7, 7.5, 8, 8.5, 9, 9.5 และ10.0 ซึ่งเปนคาที่ชุดทดสอบสําเร็จรูปวัดคา
ไดดวยการเปรียบเทียบสี
4. หยดสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ลงไปในหลอดทดลอง หลอดละ 3 หยด (0.09 cm3) และสังเกตุสีของสารละลาย
5. วัดความแตกตางของสีของสารละลายที่ทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีดวยลักซมิเตอร บันทึกผล

การทดลองที่ 3 ศึกษาการทปฏิกิริยาของสารสกัดจากพืชในสารละลายที่มีคาพีเอช7.5, 7.7, 8.0 และ 8.2


1. เตรียมสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ตามวิธีการจากการทดลองที่ 1
1. เตรียมน้ํากลั่นปริมาตร 5 cm3 จํานวน 1 หลอด
2. เจือจางสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด 27% ดวยน้ํากลั่นเพื่อใหไดสารละลายที่มีคาพีเอช 7.5, 7.7,
8.0, และ 8.2
3. หยดสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ลงไปในหลอดทดลอง หลอดละ 3 หยด (0.09 cm3) และ สังเกตุสีของ
สารละลาย
4. วัดความแตกตางของสีของสารละลายที่ทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีดวยลักซมิเตอร บันทึกผล
การทดลองที่ 4 ศึกษาการทําปฏิกิริยาของสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ที่เก็บในรูปแบบน้ําสี กระดาษและผงสี
- เตรียมน้ําสีสกัดจากพืชชนิดตาง ตามวิธีการที่เหมาะสมจากการทดลองที่1 เก็บใสตูเย็นอุณหภูมิประมาร 1 องศา
เซลเซียส เปนเวลา 30 วัน
1. เตรียมกระดาษ ดังนี้
- นํากระดาษกรอง 1 แผน วางบนกระจกนาฬิกา
- ใชหลอดดูดน้ําสี ปริมาณ 1 cm3 หยดลงบนกระดาษกรองใหทั่วแผน
- วางกระดาษไวจนแหง ณ อุณหภูมิปกติ
- เก็บใสถุงพลาสติก ปดปากถุงใหแนนเก็บ ณ อุณหภูมิปกติ เปนเวลา 30 วัน
2. การเก็บรักษาในรูปน้ําสี ทําดังนี้
- นําผลสุกของเถาคัน ดอกกระเจี๊ยบแดง และดอกอัญชันอบที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส (สามารถใชวิธีการตากใหแหง
ได)
- นํามาบดดวยเครื่องบดใหละเอียด เก็บใสถุงพลาสติก ปดปากถุงใหแนน เก็บ ณ อุณหภูมิปกติเปนเวลา 30 วัน
3. นําน้ําสีกระดาษมาทดสอบการทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีในสารละลายมาตรฐานที่มีคาพีเอช 4.0 7.0 และ 10.0
4. สังเกตสี และบันทึกผล
การทดลองที่ 5 นําผลิตภัณฑที่ทําไดไปวัดคุณภาพน้ําในบอเลี้ยงกุงและปลาโดยเปรียบเทียบกับชุดทดสอบสําเร็จรูป
พรอมสํารวจความพึงพอใจของเกษตรกร
1. คนหาขอมูลแหลงที่มาการเลี้ยงกุงและปลาจํานวนมากในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา
2. เก็บตัวอยางน้ําในบอเลี้ยงกุงและปลาจํานวน 40 แหง
3. ทดสอบคุณภาพน้ําเปรียบเทียบกับชุดทดสอบสําเร็จรูป
4. สํารวจความพึงพอใจของเกษตรกร

ผลการทดลอง
ผลการทดลองที่ 1 ผลการสึก ษาการทํ าปฏิกิริ ย าของรงควั ตถุ ส กั ด จากพื ช ชนิด ตา ง ๆ ในสารละลาย
มาตรฐานที่มีคาพีเอช 4, 7 และ10 โดยใชน้ําเปนตัวทําละลาย ในอัตราสวน 1:1, 1:2, และ 1:4 จากการทดลองทําใหสรุป
ไดวาอัตราสวนการสกัดมีผลตอความเขมสีของสารละลาย โดยรงควัตถุที่สกัดดวยน้ําในอัตราสวน 1:1 (มวล : ปริมาณ) มี
ความเหมาะสมที่สุดที่จะนําไปทดลองตอไป
ตารางที่1 ผลการศึกษาการเปลี่ยนสีของรงควัตถุที่สกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ในสารละลายมาตรฐานที่มีคาพีเอช 4.0 7.0
และ 10.0 ในอัตราสวน 1:1
สีของสารละลายมาตรฐาน
คาพีเอชของสารละลายมาตรฐาน
กอนการหยดสารสกัดจากพืช หลังการหยดสารสกัดจากพืช
4.0 ชมพูออน ชมพูเขม
7.0 เขียวออน ชมพูเขม
10.0 ไมมีสี เขียวปนน้ําเงิน

รงควัตถุที่สกัดจากพืชชนิดตาง ๆ คือ เถาคัน กระเจี๊ยบแดง และดอกอัญชันทําปฏิกิริยาเปลี่ยนขากไมมีสีเปนสี


เขียวปนน้ําเงิน มีความแตกตางอยางชัดเจนในสารละลายที่มีคาพีเอช 10.0 ซึ่งมีสมบัติเปนเบสแกสวนในสารละลาย
มาตราบานที่มีคาพีเอช 4.0 และ 7.0 ทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีไดไมชัดเจน ดังนั้นสารสกัดจากพืชทั้ง 3 ชนิดนี้จึงมีความ
เหมาะสมในการเปนอินดิเคเตอรสําหรับทดสอบสารละลายเบส

การทดลองที่2 ศึกษาการทําปฏิกิริยาของรงควัตถุสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ในสารละลายที่มีคาพีเอช1, 3, 5, 5.5, 6, 6.5, 7,


7.5, 8, 8.5, 9, 9.5, และ10 เปรียบเทียบกับการใชชุดทดสอบสําเร็จรูป
จากการศึกษาทดลองทําใหทราบวาสารสกัดจากพืชทั้ง 3 ชนิดทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีไดตางกันในการ
ละลายเบสมากกวาสารละลายกรด จึงมีความเหมาะสมในการนําไปวัดความเปนเบสของน้ําในแหลงเลี้ยงกุงและปลาซึ่ง
เปนสัตวเศรษกิจที่สําคัญของจังหวัดฉะเชิงเทรา วึ่งมีปญหาจากการที่น้ําเปนเบสมากกวากรด ทําใหเกษตรกรตองเสีย
ค า ใช จ า ยในการซื้ อ ชุ ด ทดสอบแอมโมเนี ย ซึ่ ง มี ร าคาแพง ถ า น้ํ า มี ส ภาพเป น เบสพี เ อชประมาณ 7.5 (ความเข ม ข น
แอมโมเนีย 0.01%) ซึ่งเริ่มเปนอันตรายตอสัตวน้ํา

การทดลองที่3 ผลการศึกษาการทําปฏิกิริยาของสารสกัดจากพืชในสารละลายที่มีคาพีเอช7.5 7.7 8.0และ8.2


จากการทดลองทําใหทราบวารงควัตถุที่สกัดจากเถาคันทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีจากสีชมพูเปนสีเขียวจนถึงสี
น้ําเงินในสารละลายที่มีความเขมขนของแอมโมเนียตั้งแต 0.02 % (มีคาpH7.5) ดังนั้นสามารถนําสารสกัดจากพืชไปใช
ในการทดสอบแอมโมเนียในน้ําจากบอเลี้ยงกุงและปลาได

การทดลองที่4 ผลการศึกษาการทําปฏิกิริยาของสารสกัดจากพืชชนิดตาง ๆ ที่เก็บในรูปแบบน้ําสี กระดาษและผงสี


จากการทดลองทําใหทราบวาการเก็บรักษาในรูปน้ําสีนั้นสารสกัดจะคงสภาพอยูไดเปนเวลา 14 วัน
หลังจากนั้นสารสกัดจะเกิดการเนาเสีย ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองศึกษาหาวิธีการเก็บรักษา เพื่อใหสามารถคงความเปน
อินดิเคเตอรไดนานที่สุด จึงคิดทําใหอยูในรูปผลสี ซึ่งนาจะเก็บรักษาใหคงความเปนอินดิเคเตอรไดนานกวาการเก็บ
รักษาในรูปน้ําสี

การทดลองที่ ผลจากการนําผลิตภัณฑทั่วไปวัดคุณภาพของน้ําในบอเลี้ยงกุงและปลา โดยเปรียบกับชุดทดสอบสําเร็จรูป


พรอมสํารวจความพึงพอใจของเกษตรกร
จากการทดลองพบวาเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจกับผลการทดสอบ เนื่องจากผลิตภัณฑที่ไดจากการ
ทดลองในครั้งนี้ใหผลเชนเดียวกับการใชชุดทดสอบสําเร็จรูป

สรุป และวิจารณผลการทดลอง
เถาคัน กระเจี๊ยบแดง และดอกอัญชันมีคุณสมบัติในการเปนอินดิเคเตอร จากการทดลองพบวาสามารถ
ทดสอบความเปนเบสไดดีกวากรดโดยทําปฏิกิริยาเปลี่ยนสีชัดเจน ดังนั้นพืชทั้ง 3 ชนิดคือ แอนโธไซยานินพบทั่วไปใน
พืชผักหลายชนิด สวนเถาคันนั้นเปนวัชพืชที่หาไดงายตามที่รกราง และมีการนํามาใชประโยชนนอย สวนใหญจะเผา
ทําลายทิ้ง จึงควรนํามาใชใหเกิดประโยนชมากที่สุด เพื่อเปนการลดตนทุนในการผลิตและเปนแนวทางในการเพิ่มมูลคา
ใหแกวัชพืชชนิดอื่น ๆ ในทองถิ่น
ขอเสนอแนะ
1. การสกัดน้ําสีจากเถาคันไมควรใหสัมผัสผิวหนังเพราะจะทําใหรูสึกคัน

เอกสารอางอิง
1. กระทรวงศึกษาธิการ (2535)สีสัน หนา27 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
2. กฤษณ ม งคลป ญ ญาและอั ม รา ทองปาน (2533) ชี ว วิ ท ยา พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2 หน า 43-44 คณะวิ ท ยาศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
3. ชุมพล ศรีทอง(2545)คุณภาพน้ําในบอเลี้ยงสัตวน้ํา:นิตยสารคัมภีรเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ปที่2 ฉบับทั่ 14 หนา 47-50
4. นวลพรรณ ณ ระนอง.2539. ปฏิบัติวิเคราะหคุณภาพน้ํา . ภาควิชาชีววิทยาประยุกต คณะวิทยาศาสตรสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกลาคุณทหารลาดกระบัง.
5. บัญชา แสงทวี และคณะ(2540) หนังสือเรียนวิทยาสาสตรกายภาพ ชีวภาพเรื่อง กินดีอยูดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนา 120 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพวัฒนาพาณิชย
6. พงศเชฏฐ พิชิตกุล(2545) คุณสมบัติของนื้ที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาสวยงามนิตยสารคัมภีรเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ปที่ 2
ฉบับที่ 14 หนา87-90
7. มหาวิทยาลัยมหิดล(2545) ขอมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร
8. มั่นสิน ตัณฑุลเวศม(2543)คูมือวิเคราะหคุณภาพน้ํา พิมพครั้งที่ 3 ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หนา26
9. วัชรีพร คงวิลาด(2542) ดอกไมกินไดวารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ7/2542:23
10. สมชาย หวังวิบูลยกิจและอัจฉรี เรืองเดช(2542)การศึกษาคุณภาพน้ําและแพลงกตอน ในบอเลี้ยงกุงกุลาดําวารสารเกษตร
พระจอมเกลา หนา17(2):10-21
11. สารานุกรมสําหรับเยาวชนไทย เลมที่13 หนา 33
12. สุรชัย มัจฉาชีพ(2533) พืชเศรษฐกิจในประเทศไทย หนา 36 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพนันทชัย
13. (2538)วัชพืชในประเทศไทย หนา 63 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพแพรพิทยา

You might also like