You are on page 1of 20

1

บทที่ 1
บทนำ
   ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
          ประชาชนส่ วนใหญ่นิยมดื่มน้ำผลไม้เพื่อคลายร้อยและกระหาย  บางครั้งก็นำนำผลไม้มา
แปรรู ปซึ่งเป็ นการถนอมอาหารอีกรู ปแบบหนึ่งหรื อนำมารับประทานแทนของว่างก็ได้  กลุ่ม
ของดิฉนั จึงได้น ำข้อมุลเหล่านี้มาคุยและปรึ กษากันกับสมาชิกภายในกลุ่มว่าเราสามารถนำผลไม้
บางชนิดที่มีฤทธิ์ ความเป็ นกรดมาขจัดคราบสกปรกโต๊ะเรี ยนซึ่งเป็ นเรื่ องใกล้ตวั ได้หรื อไม่และ
ถ้าต้องจัดระดับค่าความเป็ นกรดเมื่อนำน้ำผลไม้น้ นั จะสามารถเรี ยงลำดับว่าอับว่าอันไหนมีค่า
ความเป็ นกรดสูงสุ ดและผลไม้ชนิดไหนสามารถลบรอยปากกาลบคำผิดได้ดีที่สุดจากข้อสงสัย
ต่างๆเหล่านี้กลุ่มของดิฉนั จึงได้คิดค้นจัดทำโครงงานนี้ ข้ ึนมา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาหาระดับค่าความเป็ นกรดของน้ำผลไม้
2. เพือ่ ศึกษาว่ากรดจากน้ำผลไม้จะมีความสามรถในการขจัดคราบสกปรกหรื อไม่
3. เพือ่ ศึกษาหาความสามรถในขจัดคราบสกปรกว่าชนิดใดสามรถขจัดคราบสกปรกได้
ดีที่สุด
  สมมุติฐานของการศึกษา
              ตอนที่1 วัตถุดิบที่น ำมาทดลองเมื่อนำมาผสมกันมะนาวน่าจะมีค่าความเป็ นกรด
มากกว่าผลไม้ชนิดอื่น
              ตอนที่2 ระดับค่าความเป็ นกรดมากจะทำให้ความสามารถในการขจัดคราบสกปรกได้ดี
ยิง่ ขึ้น
     

   ตัวแปร
        ตัวแปรต้น
2

            น้ำมะนาว น้ำสับปะรด น้ำมะกรู ด น้ำมะปรี๊ ด


        ตัวแปรตาม
        ระดับค่า ph ที่วดั ได้จากการทดลอง
        ตัวแปรควบคุม
         ปริ มาณน้ำมะนาว ปริ มาณน้ำสับปะรด ปริ มาณน้ำส้มปริ มาณน้ำมะกรู ด ปริ มาณน้ำมะ
ปรี๊ ด
        ขอบเขตของการศึกษาค้ นคว้ า
         1. ศึกษาหาระดับค่าความเป็ นกรดของน้ำผลไม้
        2. ศึกษาหาความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้ำผลไม้หรื อความสามารถในการ
ขจัดคราบสกปรกบนโต๊ะ     
3. สถานที่โรงเรี ยนศรี ยานุสรณ์
4. ระยะเวลา 8-14 กันยายน 2556

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


1.  ได้ทราบถึงระดับกรดเมื่อทำการทดสอบจากน้ำผลไม้และเรี ยงลำดับค่าจากมากไปหา
น้อย
2.  ได้ทราบถึงความสามารถในการขจัดคราบสกปรกของน้ำผลไม้วา่ สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ในการทำความสะอาดได้จริ ง
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
 ในการศึกษาโครงงานเรื่ อง คณะผูจ้ ดั ทำได้คน้ คว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องโดยเสนอตามลำดับดังนี้
มาตรวิทยาของการวัดค่ าความเป็ นกรด – เบส
3

การวัดค่าความเป็ นกรด – เบสหรื อค่า pH นั้นเป็ นกิจกรรมซึ่งสามารถพบได้ท้ งั ในห้องปฏิบตั ิ


การและในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมตัวอย่างของการวัดค่า pH เช่น
- ในอุตสาหกรรมสิ่ งทอจะมีการวัดค่า pH ในกระบวนการย้อมสี ผา้ สี เนื่องจากความคงทน
ของสี และความเร็ วของการย้อมสี ข้ึนอยูก่ บั ค่า pH
- อุตสาหกรรมผลิตสารเคมีการวัดค่า pH เป็ นสิ่ งจำเป็ นต่อการควบคุมการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เช่นการผลิตผลิตภัณฑ์ทางเคมีได้แก่พลาสติก, ปุ๋ ยเคมี, ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์,
ปูนซีเมนต์และแก้วเพื่อที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์และป้ องกันการเกิดปฏิกิริยาที่
ไม่ตอ้ งการ
- อุตสาหกรรมกระดาษการวัดค่า pH ในอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษมีความจำเป็ น
มากกว่าอุตสาหกรรมอื่นๆโดยมีจุดประสงค์เพือ่ ลดความสิ้ นเปลืองของสารเคมีป้องกัน
การกัดกร่ อนเครื่ องมือนอกจากนี้ ย้งั มีการควบคุมค่า pH ในขบวนการย่อยและการฟอก
ขาวของกระดาษและมีการตรวจสอบค่า pH ในส่ วนของการควบคุมคุณภาพเนื่องจาก
ความทนทานและความเร็ วในการย้อมสี กระดาษขึ้นอยูก่ บั ค่า pH ที่เหมาะสม
- อุตสาหกรรมผลิตไมโครชิพเนื่องจากในกระบวนการหลังจากการ etching จะต้องมีการ
ล้างด้วยนำน้ำบริ สุทธิ์ เพื่อให้มีกรดเหลืออยูด่ งั นั้นการการวัดค่าวามเป็ นกรด – เบสจึงมี
ความสำคัญ
- อุตสาหกรรมอาหารนำน้ำดื่มยามีการวัดค่า pH เพื่อตรวจสอบการเกิดปฏิกิริยาเคมีในการ
ผลิตอัตราของการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยูก่ บั ค่า pH ของสารละลายและสามารถหาจุดยุติได้
โดยประมาณเมื่อทราบค่า pH ยกตัวอย่างเช่นในการผลิตยาปฏิชีวนะ(antibiotics) ใน
กระบวนการหมักจะต้องทำการควบคุมค่า pH เพือ่ ให้ได้ yield สูงสำหรับยาและ
เครื่ องสำอางที่ใช้กบั ร่ างกายมนุษย์หรื อผิวหนังจะต้องมีการควบคุมค่า pH อย่างเข้มงวด
เพื่อป้ องกันอันตราย
- และในอุตสาหกรรมอื่นๆอีกมากมาย
นอกจากในอุตสาหกรรมแล้วในภาคเกษตรกรรมค่า pH ยังเข้ามามีส่วนด้วยเช่นค่า pH ที่
เหมาะสมของดินกับการปลูกข้าวนั้นคือช่วง 6 – 6.5 ดังนั้นถ้าต้องการให้มีผลผลิตมากขึ้นควรจะ
ทำ
ให้ดินมีค่า pH อยูใ่ นช่วงนี้
สำหรับคำว่ามาตรวิทยานั้นเป็ นศัพท์ที่เพิง่ จะได้ยนิ กันในระยะเวลาไม่นานมาตรวิทยานัน้
มาจากศัพท์ในภาษาอังกฤษคือ Metrology ซึ่งหมายถึงวิทยาศาสตร์ของการวัดโดยผลของการวัด
จะต้องสามารถสอบกลับได้ (Traceability) ไปสู่ มาตรฐานที่นิยมใช้กนั ทัว่ โลกคือ SI unit (Unit
of
International Standard) รวมทั้งต้องรายงานค่าความไม่แน่นอน (Uncertainty) ของการวัดนั้นๆ
ด้วยสำหรับค่าความเป็ นกรด – เบสหรื อที่รู้จกั กันคือค่า pH ซึ่งสามารถคำนวณได้ดงั สมการ
4

pH = - lg H+
เมื่อ H+ คือความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนในหน่วย mol/l
ค่า pH ของสารละลายจะมีค่าอยูร่ ะหว่าง 0 – 14 โดยที่ถา้ สารละลายมีค่า pH น้อยกว่า 7
เป็ นช่วงที่สารละลายนั้นมีความเป็ นกรดตัวอย่างที่พบได้ในชีวิตประจำวันเช่นนำน้ำส้มสายชู,
นำน้ำ
มะนาวในขณะที่ช่วงที่เป็ นเบสจะมีค่า pH มากกว่า 7 ตัวอย่างเช่นสบู่, โซดาไฟสำหรับ
สารละลายที่เป็ นกลางจะมีค่า pH เท่ากับ 7 ตัวอย่างเช่นนำน้ำกลัน่

การวัดค่า pH นั้นสามารถวัดได้หลายวิธีซ่ ึงแต่ละวิธีจะให้ค่าได้ถูกต้อง (Accuracy) ต่างกัน


ดังนี้
1.กระดาษลิตมัสเป็ นวิธีที่สามารถบอกได้เพียงว่าตัวอย่างที่เรานำมาทดสอบเป็ นกรดหรื อ
เป็ นเบสเท่านั้นโดยกระดาษลิตมัสมีอยู่ 2 ชนิดคือสี แดงและสี น ำน้ำเงินวิธีการทดสอบคือนำเอา
กระดาษลิตมัสไปจุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการทดสอบโดยที่ถา้ ตัวอย่างเป็ นกรดกระดาษลิตมัสจะ
เปลี่ยนสี
จากน้ำเงินเป็ นสี แดงในขณะที่ถา้ ตัวอย่างเป็ นเบสกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสี จากแดงเป็ นน้ำเงิน
5

ส้ ม
 

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร    Plantae
ส่ วน       Magnoliophyta
ชั้น          Magnoliopsida
ชั้นย่อย  Rosidae
อันดับ    Sapindales
6

วงศ์         Rutaceae
สกุล        Citrus
 
                ส้ม เป็ นไม้พมุ่ หรื อไม้ตน้ ขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีดว้ ยกัน
นับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยูท่ วั่ โลกโดยมากจะมีน ้ำมันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมี
กลิ่นฉุนหากนำใบขึ้นส่ องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมดซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่ง
น้ำมันนัน่ เอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ผลมีรสเปรี้ ยวหรื อหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซี
ยม ไวตามินเอ และไวตามินซีมากเป็ นพิเศษ ถ้าผลไม้จ ำพวกนี้มี มะ อยูห่ น้า ต้องตัดคำ ส้ม ออก
เช่นส้มมะนาว ส้มมะกรู ด เป็ น มะนาว มะกรู ด
มะนาว

 
 
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร Plantae
ส่ วน       Magnoliophyta
ชั้น          Magnoliopsida
อันดับ    Sapindales
วงศ์         Rutaceae
สกุล        Citrus
7

สปี ชีส์    C. aurantifolia


ชื่อวิทยาศาสตร์     Citrus aurantifolia Swing.
 
           มะนาว (อังกฤษ: lime) เป็ นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ ยวจัดจัดอยูใ่ นสกุล ส้ม (Citrus)
ผลสี เขียว เมื่อสุ กจัดจะเป็ นสี เหลือง เปลือกบางภายในมีเนื้ อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ำมาก นับเป็ นผลไม้
ที่มีคุณค่านิยมใช้เป็ นเครื่ องปรุ งรสนอกจากนี้ ยงั ถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์
ด้วย
สับปะรด

 
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร                  Plantae
ส่ วน พืชดอก            Magnoliophyta
ส่ วนไม่จดั อันดับ      Angiosperms
ชั้นไม่จดั อันดับ         Monocots
ชั้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยว   Liliopsida
อันดับไม่จดั อันดับ    Commelinids
อันดับ                       Poales
วงศ์                            Bromeliaceae
8

วงศ์ยอ่ ย                      Bromelioideae


สับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาตร์ :Ananascomosus) เป็ นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ลำต้นมีขนาดสูง
ประมาณ 80-100 เซนติเมตรการปลูกก็สามารถปลูกได้ง่ายโดยการใช้หน่อหรื อที่เป็ นส่ วนยอด
ของผลที่เรี ยกว่า จุก มาฝังกลบดินไว้ และออกเป็ นผลเปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลกั ษณะ
คล้ายตาล้อมรอบผล
มะกรู ด

การจำแนกชั้นทาง วิทยาศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC.
ชื่อวงศ์ : RUTACEAE
ชื่อสามัญ : Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orange
ชื่อท้องถิ่น
• ภาคเหนือ เรี ยก มะขูด, มะขุน
• ภาคใต้ เรี ยก ส้มกรู ด, ส้มมัว่ ผี
• เขมร เรี ยก โกร้ยเขียด
• กะเหรี่ ยง-แม่ฮ่องสอน เรี ยก มะขู
ลักษณะทัว่ ไป มะกรู ดเป็ นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านลำต้นและกิ่งมีหนามแข็ง ใบ เป็ นใบ
ประกอบที่มีใบย่อยใบเดียว สี เขียวหนามีลกั ษณะคอดกิ่วที่กลางใบเป็ นตอนๆ มีกา้ นแผ่ออกใหญ่
เท่ากับแผ่นใบทำให้เห็นใบเป็ น 2 ตอน ใบสี เขียวแก่ค่อนข้างหนามีกลิ่นหอมมากเพราะมีต่อม
9

น้ำมันอยู่ ดอกออกเป็ นกระจุก 3 – 5 ดอกกลีบดอกสี ขาว ร่ วงง่าย ผล มีหลายแบบแล้วแต่พนั ธุ์ผล


เล็กเท่ามะนาวผิวขรุ ขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่หวั การปลูก มะกรู ดปลูกได้ดีในดินทุกชนิดขยาย
พันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
ส้มจี๊ด(มะปี๊ ด)

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

ชื่อวิทยาศาสตร์    Fortunella  japonixa (Thunb.) Swing.


วงศ์  RUTACEAE

ชื่อภาษาอังกฤษ   Round Kumquat,   Marumi Kumquat

ชื่ออืน่      ส้มจีด (ใต้),   ส้มมะปี๊ ด(เหนือ),   ส้มเกล่า (จ.ระนอง), กำกัด๊ , กิมกิด (จีน)
 
ส้ มจี๊ด เป็ นไม้พมุ่ ขนาดกลาง แตกแขนงเป็ นพุม่ แน่น สูง 1.5 - 3 เมตร  กิ่งมีหนามแหลมคม ยาว
1 - 3 ซม.ใบรู ปไข่กว้าง 2 - 4 ซม. ยาว 4- 7 ซม.ปลายและโคนแหลม สี เขียวสดเป็ นมัน มีหูใบ
ขนาดเล็ก ดอกออกดอกเดี่ยว แต่มกั ออกรวมกันเป็ นกลุ่ม มีสีขาว และกลิ่นหอมแรง ออกเป็ นช่อ
สั้นตามซอกใบและปลายกิ่งกลีบเลี้ยงรู ปถ้วย ปลายแยกเป็ น 5 แฉกกลีบดอก 5 กลีบ ร่ วงง่าย 
เมื่อบานจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 - 2.5 ซม. ผล ติดผลดก ผลค่อนข้างกลมเหมือนส้มทัว่ ไปแต่มี
ขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 - 3 ซม.ผิวบาง
สี เขียว กลิ่นหอม เมื่อผลสุ กมีสีเหลืองส้ม เนื้อมีรสเปรี้ ยวจัด มีเมล็ด 1 - 3 เมล็ด
10

บทที่ 3
วิธีดำเนินการโครงงาน
 
       อุปกรณ์ และวีธีการทดลอง
              1.  วัสดุ
                  1.1  น้ำมะนาว
                  1.2  น้ำสับปะรด
                   1.3  น้ำส้ม
1.4  น้ำมะกรู ด
                    1.5  น้ำมะปรี๊ ด
1.6 โต๊ะ
1.7 ผ้าใช้แล้ว
  2.  อุปกรณ์
                  2.1  มีด
                  2.2   แก้ว 5 ใบ
                  2.3   ชาม
                  2.4   เขียง
                  2.5  กระดาษลิตมัส
  ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
              1.  ขั้นตอนการเตรียมวัสดุ
11

                    1.1  นำมะนาว  สับปะรด ส้ม มะปรี๊ ด มะกรู ด มาคั้นให้ได้น ้ำและกรองเอา


ตะกอนทิ้ง
                    1.2   จัดเตรี ยมอุปกรณ์ต่างๆ
 
       ขั้นตอนการทดลอง
              ตอนที่  1  ศึกษาระดับค่าความเป็ นกรดของน้ำผลไม้เรี ยงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อย
1.1  นำมะนาว  ส้ม  สับปะรด มะปี๊ ด มะกรู ด มาคั้นให้ได้น ้ำ
1.2 นำไปทดสอบตามสัดส่ วนหาระดับค่าความเป็ นกรดด้วยกระดาษลิตมัส
1.3 บันทึกผลการทดลองที่ได้ โดยการเรี ยงลำดับระดับค่าความเป็ นกรด จากค่า
มากไปหาค่าน้อย

        ตอนที่ 2 ศึกษาหาความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนโต๊ะของน้ำผล


ไม้                                            
                     2.1 ให้น ำน้ำผลไม้แต่ละชนิดมาหยุดลงบนโต๊ะในปริ มาณที่เท่ากัน
                      2.2 เช็ดความสกปรกบนโต๊ะด้วยผลไม้แต่ละชนิด
    2.3 บันทึกผลความแตกต่างของผลไม้แต่ละชนิดในการทำความสะอาดคราบบน
โต๊ะ
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล/ผลการจัดทำโครงงาน
 
ผลการทดลอง
    ตอนที่ 1   ระดับค่าความเป็ นกรดของน้ำผลไม้เรี ยงลำดับจากค่ามากไปหาค่าน้อยเป็ นดังนี้
12

                         
น้ำผลไม้ ระดับค่ า pH ที่ได้
   
 

2.3
1.  น้ำมะนาว 

3.42

 2.  น้ำสับปะรด  

   
 
 

 3.  น้ำส้ม   

3.0
13

3.5

4.น้ำมะกรู ด

3.0

5.น้ำมะปี๊ ด
 
 
 

 ตอนที่  2  ความสามารถในการขจัดคราบสกปรกบนโต๊ะ
            
 
 
14

1 2

3 4

6
15

จากภาพหมายเลข 1 คือรอยของน้ำยาลบคำผิดก่ อนจะใช้ น้ำผลไม้ เช็ดเพือ่ ทดสอบ


ภาพหมายเลข 2 คือภาพหลังจากใช้ น้ำมะนาวผสมกับน้ำส้ มเช็ดทำความสะอาด
หมายเลข 3 คือภาพหลังจากใช้ น้ำมะนาวผสมกับน้ำสั บปะรดเช็ดทำความสะอาด
หมายเลข 4 คือภาพหลังจากใช้ น้ำมะปี๊ ดเช็ดทำความสะอาด
หมายเลข 5 คือภาพหลังจากใช้ น้ำมะกรู ดเช็ดทำความสะอาด
หมายเลข 6 คือภาพหลังจากใช้ น้ำสับปะรดเช็ดทำความสะอาด
หมายเลข 7 คือภาพรวมหลังจากใช้ น้ำผลไม้ เช็ดทำความสะอาด

บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินการจัดทำโครงงาน
 
            จากผลการทดลองสรุ ปได้ดงั นี้                
1.  เมื่อนำน้ำมะนาวมาทดสอบได้ค่า ph เท่ากับ 2.3
             2.  เมื่อนำน้ำสับปะรดมาทดสอบได้ค่า ph เท่ากับ 3.42
3. เมื่อนำน้ำส้มมาทดสอบได้ค่า ph เท่ากับ 3.0
4. เมื่อนำน้ำมะกรู ดมาทดสอบได้ค่า ph เท่ากับ 3.5
5. เมื่อนำน้ำมะปี๊ ดมาทดสอบได้ค่า ph เท่ากับ 3.0
16

            แสดงว่าเมื่อน้ำมะกรู ดมาทดสอบพบว่า ค่า ph พบว่ามีความเป็ นกรดสูงที่สุดจากผลไม้ที่


นำมาทดสอบ เช่น มะนาว มะกรู ด มะปี๊ ด ส้ม และจากการทดสอบการทำความสะอาดโต๊ะพบว่า
น้ำมะกรู ดสามารถขจัดคราบที่มาจากน้ำยาลบคำผิดได้ดีที่สุดนั้นเป็ นเพราะน้ำมะกรู ดมีค่าความ
เป็ นกรดเข้มข้นจึงมีฤทธิ์ ในการขจัดคราบมากที่สุด
และเมื่อนำน้ำผลไม้ท้ งั ห้าชนิดไปทดสอบค่าความเป็ นกรดโดยหยดลงไปบนโต๊ะที่มีรอย
น้ำยาลบคำผิดในปริ มาณที่เท่าๆกันจะเห็นได้วา่ เมื่อนำน้ำมะนาวมาผสมกับน้ำสับปะรดจะมี
ความเป็ นกรดสูงที่สุดทำให้มีฤทธิ์ กดั กร่ อนมาก และทำให้คราบจากน้ำยาลบคำผิดจางลงมาก
ที่สุด เท่านั้น แต่เมื่อใช้มะกรู ดเพียงอย่างเดียวจะทำให้รอยจางลงเยอะเช่นเดียวกันเพราะเป็ นผล
ไม้ที่มีกรดสูง ซึ่งในการใช้น ้ำผลไม้ชนิดอื่นจะจางลงเพียงเล็กน้อย
*หมายเหตุ ผักและผลไม้ส่วนใหญ่มีความเป็ นกรดต่ำกว่า pH7 และความแปรปรวนของค่า pH ขึ้นอยูก่ บั
สภาวะการเพาะปลูกพืชเช่นกัน

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับจากการทดลอง


      1.  สามารถนำน้ำผลไม้มาทำความสะอาดโต๊ะที่มีคราบสกปรกได้
       2.  สามารถทราบถึงฤทธิ์ ของกรดที่กดั กร่ อนคราบสกปรกบนโต๊ะได้
       3.  สามารถทราบว่าน้ำผลไม้ชนิดใดมีค่าความเป็ นกรดมากที่สุด
 ข้ อเสนอแนะ
      1.  เราอาจนำน้ำผลไม้ชนิดอื่นที่มีฤทธิ์ เป็ นกรดที่หาได้ง่ายตามครัวเรื อนของคุณ   
      2.  เราอาจนำการทดลองนี้ ไปทดลองกับสิ่ งอื่นๆที่มีคราบสกปรกติอยู ่ เช่น  สร้อยคอ  แหวน
พวงกุญแจ เหรี ยญ
 
 
17

บรรณานุกรม
 
        _____  . หนังสื อเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์เพิม่ เติม เล่ม 4   (เคมี ). กรุ งเทพ: 2550
         _____ . ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์จากโรงเรี ยนอรุ โณทัย  จังหวัดลำปาง
          _____. นพ.ประวิตร  พิศาลบุตร.นิตยสารเพื่อสุ ขภาพ หมอชาวบ้าน (กรดคือ ?) . ฉบับที่ 
322 : กรุ งเทพ:สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน บจก. , 2550
          _____. www.doctor.or.th
          _____. www.google.com 
ข้ อวิจารณ์จากครูเต้ ย

1.บทคัดย่อไปไหน?

2.กิตติกรรมประกาศไปไหน?

3.สารบัญไปไหน?
18

4. บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ ยังเขียนไม่ถูกต้องและมีขอ


้ มูลน้อยเกินไป การเขียนที่มาและความสำคัญ
เป็ นการเขียนให้ผอู้ า่ นรู้สึกว่าโครงงานนี้ มีความสำคัญและมีคุณค่า เทคนิคในการเขียนคือการเขียนจากส่ วน
ใหญ่มาหาส่ วนย่อย ดังตัวอย่าง

5.เปลี่ยนชื่อหัวข้ อจาก “ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ” เป็ น “ประโยชน์ที่ได้ รับ” และ ประโยชน์ที่ได้ รับไม่ใช้ ค ำว่า “ได้ ทราบ”
ให้ เขียนประโยชน์ที่เป็ นรู ปธรรม

6. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ให้เกริ่ นนำหัวข้อต่างๆที่ผอ


ู ้ ่านจะได้อ่าน โดยเรี ยงหัวข้อตามลำดับ
ดังตัวอย่าง
19

7. บทที่ 4 ให้เกริ่ นนำว่าเป็ นการแสดงผลการทดลองอะไร และเมื่อแสดงผลด้วยตาราง ให้ระบุชื่อตารางโดย


ให้ใส่ ชื่อด้านบนของตาราง พร้อมระบุหมายเลขตาราง เช่น ตารางที่ 1 ของบทที่ 4 จะเรี ยกว่า ตารางที่ 4.1 ...
(ตารางแสดงผลอะไร)........ดังตัวอย่าง เมื่อมีตารางให้เขียนอภิปรายผลการทดลองใต้ตาราง ให้เขียนเป็ น
ความเรี ยง ไม่ตอ้ งเขียนเป็ นข้อๆ

8..บทที่ 5 ให้เกริ่ นนำว่าการจัดทำโครงงานมีวต


ั ถุประสงค์ และ กระบวนการดำเนินการอย่างไร มาก่อน เมื่อ
สรุ ปไม่ตอ้ งเขียนเป็ นข้อๆ ให้สรุ ปเป็ นความเรี ยง ตัดหัวข้อประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับออกไป และ นำส่วน
ของข้อเสนอแนะมาต่อท้ายการสรุ ปแทน ดังตัวอย่าง
20

**แก้ไขตามข้อวิจารณ์ทุกข้อ หากไม่แก้ขอ้ ใดครู เต้ยหักข้อละ 0.5 คะแนนนะจ๊ะ แก้เสร็ จแล้วไม่ตอ้ งส่ งไฟล์
กลับมา ให้ท ำรู ปเล่มแล้วส่ งได้เลย ภายในวันที่27 กย

You might also like