You are on page 1of 9

โครงงาน IS เรื่องเทียนหอมไล่ยุง

ผู้จัดทา

ด.ช.กิตติคม ชนะกิตติเดชา เลขที่ 4 ห้อง ม.212

ด.ช.ทินนภัทร ชูประเสริฐ เลขที่ 11 ห้อง ม.212

ด.ช.ทีฆนันท์ ราศรีเกตุ เลขที่ 12 ห้อง ม.212

ด.ช.ธราเทพ ปานเกลี้ยง เลขที่ 13 ห้อง ม.212

ด.ญ.เบญญาภา จันทร์เนตร์ เลขที่ 34 ห้อง ม.212

อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูชนากานต์ คงสมแก้ว

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้(IS)

โรงเรียน
สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต
บทคัดย่อ

โครงงานเรื่องเทียนหอมจากไล่ยุงเปลือกส้ม เป็นการนาเปลือกส้มที่เหลือจากการรับประทาน
มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เราสามารถนาเปลือกส้มมาทาเทียนหอมได้และยังสามารถไล่ยุงได้ด้วย
โดยเปลือกส้มมีคุณสมบัตข
ิ องผิวที่มีน้ามันหอมระเหยคอยไล่ยุง
จึงสามารถนาเปลือกส้มมาทา เป็นเทียนหอมไล่ยุงได้
ให้กลิ่นของเปลือกส้มโชยไปทั่วทั้งบ้าน ก็จะช่วยลดปริมาณยุงได้เช่นกัน

โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทาโครงงานขึ้นเพื่อเป็นการศึกษาประโยชน์จากเปลือกส้มที่
สามารถป้องกันยุงได้ เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะเเละเพื่อ
เกิดความคิดจินตนาการอย่างสร้างสรรค์และระดมความคิดภายในกลุ่ม
กิตติกรรมประกาศ

การจัดทาโครงงานเรื่องเทียนหอมไล่ยุงจากเปลือกส้มสาเร็จได้เนื่องจากคณะ

ผู้จักทาโครงงานได้ร่วมมือช่วยกันทาโครงงานเทียนหอมไล่ยุ่งจากเปลือกส้ม

และขอขอบคุณคุณครูที่ปรึกษาและเพื่อนๆทุกคนที่คอยให้กาลังใจตลอดจน

ได้มีส่วนร่วมในการจัดทาโครงงานขอขอบคุณไว้เป็นอย่างสูง

คณะผู้จัดทา
1
บทที่ 1

บทนา

1.1 ที่มาและความสาคัญ

ในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่มักเป็นโรคไข้เลือดออกไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ โรคไข้เลือดออก
เกิดจากยุงที่เป็นพาหะนาโรคที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ จึงได้มีผู้คิดค้นสิ่งที่ช่วยในการกาจัดและ ป้องกันยุง เช่น
ครีมทากันยุง ยาฉีดกันยุง ยาจุดกันยุง เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าสิ่งเหล่านี้อาจจะ มีสารเคมีเป็นส่วนผสมอยู่
ซึ่งอาจทาให้ผู้บริโภคเกิดอาการแพ้ได้ในเวลาต่อมา จึงได้นาเปลือกส้ม
มาเป็นส่วนผสมในเทียนหอมเพื่อไล่ยุงเพราะในเปลือกส้มมีน้ามันหอมระเหยที่สามารถไล่ยุงได้ และ
เป็นส่วนผสมจากธรรมชาติดังนั้นผู้จัดเลยคิดที่จะนาเปลือกส้มมาเป็นส่วนผสมในการทาโครงงานนี้

1.2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถนาวัตถุดิบมาใช้ให้เกิดประโยชน์

2.สามารถสร้างรายได้ ได้จากการทา

3.ทาให้ทราบถึงประโยชน์จากเปลือกส้ม

1.3 สมมติฐาน

1.เปลือกส้มสามารถไล่ยุงได้

2.เทียนหอมจากเปลือกส้มไม่ทาให้เกิดอาการแพ้

3.เทียนหอมจากเปลือกส้มน่าจะมีกลิ่นที่หอมสดชื่น

1.4 การศึกษา

คณะผู้จัดทาต้องการที่จะศึกษาคุณสมบัติของเปลือกส้มและเทียนหอมที่ทาจากเปลือกส้ม
2
บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ชื่อ ส้ม

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ citrus x sinensis ชื่อ

Rutaceae ชื่อสามัญ Tangerine

ส้ม เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลีย


้ งคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด

เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ามันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนาใบขึ้นส่องกับแสงแดด

จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่า นั้นก็คือแหล่งน้ามันนัน


่ เอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมี

แคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จาพวกนี้มี มะ อยู่ หน้า ต้องตัดคา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว

ส้มมะกรูด

อนุกรมวิธานของส้มนั้น มีความยุ่งยากและสับสนมาช้านาน และเป็นที่ถกเถียงในการจาแนก และตั้งชือ


่ ชนิด (สปีชส
ี ์)

ของส้มอยู่เสมอ และการจาแนกกลุ่มยังขึ้นกับนักอนุกรมวิธานด้วย เช่น สวิงเกิล (Swingle) จาแนกได้ 16 ชนิด, ทานาคา

(Tanaka) จาแนกได้ 162 ชนิด และฮอจ สัน (Hodgson) จาแนก 36 ชนิด

ขณะที่บางท่านเสนอว่าส้มทัง
้ หลายจัดเป็นพืชชนิดเดียวกัน ที่ สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันได้ ขณะเดียวกัน

การจาแนกอย่างละเอียดของทานาคา ก็สร้าง ความสาเร็จได้ เนื่องจากพบในภายหลังว่า

บางชนิดเป็นเพียงการผสมข้ามสายพันธุ์เท่านั้น

ด้วยเหตุนจ
ี้ ึงไม่แปลกหากเราจะพบชื่อวิทยาศาสตร์ของส้มหลายชนิดที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อความแน่นอน

จึงมักจะระบุถึงนักอนุกรมวิธานผู้จาแนกเอาไว้ด้วยพืชตระกูลส้ม ปัจจุบันนี้ มีการใช้เทคนิคในการระบุเอกลักษณ์ด้วยดีเอ็นเอ

(DNA) และมีการเสนอว่าอาจจะ มีชนิดพื้นฐานของส้มอย่างกว้างๆ 4 ชนิด

• C. halimii - พบทางภาคใต้ของไทย และตะวันตกของมาเลเซีย อาจเป็นชนิดต้นกาเนิด ของส้ม Poncirus และ Fortunella

• C. medica - ส้มโอมือ หรือส้มมือ อาจเป็นต้นกาเนิดของมะนาว หรือเลมอน (lemon)

• C. reticulata - อาจเป็นต้นกาเนิดของส้มจาพวกส้มเขียวหวานทั้งหลาย

• C. maxima (หรือ C. grandis) - ส้มโอ น่าจะเป็นต้นกาเนิดของส้มในปัจจุบันบางชนิด เช่นกัน


3
บทที่ 3

วิธีการดาเนินการ

วัสดุ

-ไขเทียน

-พาราฟิน

-สีเทียน

-เปลือกส้ม -ไส้เทียน

อุปกรณ์ - แม่พิมพ์รูปส้ม

-น้าร้อน

-ถ้วย

-มีด

-ช้อน

วิธีการดาเนิน

1.หั่นเปลือกส้ม 5.ใส่ไส้เทียนลงในแม่พิมพ์

2.นาพาราฟิน ไขเทียนและเปลือกส้มมาต้มด้วยกัน 6.นาพาราฟินที่ต้มได้ไปใส่เเม่พิมพ์รูปส้ม

3.ใส่สีเทียน 7.รอให้เย็นตัว

4.กรองเปลือกส้มออกให้หมด 8.นาออกจากแม่พิมพ์
4

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์

ในการศึกษาเรื่อง หอมทุกที่ ที่มีเทียน ผู้จัดทาได้ดาเนินการ และมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไปนี้

เราได้จัดทาเทียนหอมที่มีลักษณะดังนี้

1.ได้สร้างเทียนหอมที่มีกลิ่น 1 รูปเเบบ คือ กลิ่นส้ม 2.ลักษณะของเทียน มี 1 เเบบ คือ เเบบพิมพ์วงกลมขนาดใหญ่

2.ความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อ หอมทุกที่ ที่มีเทียน

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 20 คน ชาย 8 หญิง 12 ( ช่วงอายุ 13-14 ปี 13คน) ( ช่วง


อายุ 19-20 ปี 7 คน )

ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่งไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
5

บทที่ 5

สรุปผลอภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ

สรุป

1.ได้ผลิตภัณฑ์เทียนหอมที่สามารถใช้งานได้จริงและ ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีเเค่กลิ่นส้ม

2.ผู้ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์มีความพึงพอใจ 2 อย่างคือ

2.1 ความผ่อยคลายของกลิ่น

2.2 ความหอมของกลิ่น

อภิปรายผล

ผลิตภัณฑ์เทียนหอมเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานง่ายแค่จุดและวางที่ที่ต้องการได้กลิ่น เทียนหอมมีกลิน
่ ที่ทาให้ผ่อน
คลายและยังมีกลิ่นหอมอีกด้วย

ข้อเสนอแนะ

1.ควรใช้วัสดุพิมพ์เทียนที่ไม่นาความร้อนหรือใช้เศษจากวัสดุธรรมชาติ เช่น เปลือกส้มหรือกะลา เป็นต้น

2.ควรหาแท่นสาหรับวางเทียนหอมโดยเฉพาะ เพราะว่าทาให้สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย และเกิดความสวยงาม


6

ภาคผนวก

You might also like