You are on page 1of 6

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การทดลองนาสมุนไพรมาทาเป็ นสเปรย์ดบั กลิ่น มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาให้ห้องน้ าโรงเรี ยน
มัธยมบ้านบางกะปี เป็ นห้องน้ าที่ไร้กลิ่นไม่พึงประสงค์ กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลดังนี้
ข้อมูลของสมุนไพรที่นามาใช้ในการทาโครงงาน
1.มะกรู ด( bergamot)
เป็ นพืชในสกุลส้ม มีถิ่นกาเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ นิยมใช้ใบมะกรู ดและผิวมะกรู ดเป็ นส่ วนหนึ่งของเครื่ องปรุ งอาหารหลายชนิด
นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย

2.เตยหอม (Pandan leaf)


เป็ นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็ นกอ ใบเป็ นใบเดี่ยว เรี ยงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบ
เป็ นทางยาว สี เข้ม เป็ นมันเผือก ขอบใบเรี ยบ แต่ใบบางต้นอาจมีหนาม ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ ามัน
หอมระเหย Fragrant Screw Pine สีเขียวจากใบเป็ นสี ของคลอโรฟิ ลล์ ใช้แต่งสี ขนมได้

3.หอมใหญ่ (onion)
เป็ นพืชหัว (bulb) ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดที่มีการระบายน้ าและ
อากาศดี เจริ ญได้ดีที่ค่าความเป็ นกรด-เบสช่วง 6.0-6.8 อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 1 5-24 องศาเซลเชียส
และมีความเค็มของดินปานกลาง เป็ นพืชส้มลุก ตระกูลเดียวกับหอมแดง ต้นสู งประมาณ 30-40 เซนติเมตร
ลาต้นเป็ นหัวอยู่ใด้ดิน มีลกั ษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่ เมื่อแห้งจะมีสีน้ าตาลอ่อน ภายในเป็ นกาบสี
ขาวซ้อนกัน ลักษณะของดอกมีสีขาว เป็ นช่อ มีดอกย่อยเป็ นจานวนมากก้านช่อดอกยาว แทงออกจากลาต้น
ใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต : ให้ผลผลิต 2 ครั้งใน 1 ปื คือ ช่วงเดือน มกราคม ถึง
เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึงกุมภาพันธ์

4.ตะ ไคร้ (lemon grass)


ชื่อท้องถิน่ : จะไคร, หัวชิงได, ไคร, กาหอม, เชิดเกรย, เหลอะเกรย, ห่อวอตะโป เป็ นพืชล้มลุก
ในวงศ์หญ้า ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรี ยว ปลายใบมีขนหนาม ลาต้นรวมกันเป็ นกอ มีกลิ่น
หอม เป็ นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็ นจานวนมาก ตะไคร้เป็ นพืชที่สามารถนาส่ วนต้นหัวไปประกอบอาหาร
และจัดเป็ นพืชสมุนไพรด้วย
บทที่ 3
การดาเนินโครงงาน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1.) กาหนดหัวข้อโครงงาน
2.) วางแผนการดาเนินโครงงาน
3.) ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต
4.) จัดเตรี ยมวัสดุ และอุปกรณ์
5.) เริ่ มทาผลิตภัณฑ์ สมุนไพรดับกลิ่น
6.) นาผลิตภัณฑ์ที่ได้วาง หรื อแขวนไว้ที่ห้องน้ าโรงเรี ยน
7.) ติดตามผลการดาเนินงาน
8.) ประเมิน สรุปผลการทาโครงงาน
9.) นาเสนอโครงงาน
ตารางรายจ่ายของโครงงาน
ลาดับ รายการ จานวน รวม
1 ขวดสเปรย์ 4 ขวด 40 บาท
2 การบูร 2 ขีด 100 บาท
3 แอลกอฮอล์ 70% 50 ml. 25 บาท
รวมรายจ่ายเป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 165 บาท
หมายเหตุ วัสดุที่ไม่ได้ระบุสมาชิกในกลุ่มจัดเตรี ยมโดยไม่ตอ้ งซื้อ
ที่มาของงบประมาณ งบของสมาชิกในกลุ่ม สมาชิก 5 คน เฉลี่ยคนละ 41.25 บาท
วัสดุ และอุปกรณ์
1.) สมุนไพรที่ศึกษาค้นคว้าเพื่อนามาทาสมุนไพรดับกลิ่น
( มะกรู ด , ใบเตย , หัวหอม และตะไคร้ )
2.) การบูร
3.) แอลกอฮอล์
4.) ขวดสเปรย์
5.) ถ้วยตวง
6.) กาละมัง
7.) มีด
8.) ขวดโหล
วิธีทา
1.) นาการบูร และแอลกอฮอล์ใส่ในขวดโหลที่สามารถเปิ ด - ปิ ดได้ และรอ 7 วัน ใน 7 วันนี้
จะต้องเขย่าทุกๆวัน
2.) ใช้มดี หั่นสมุนไพรให้เป็ นชิ้นเล็กๆ เมื่อหั่นเป็ นชิ้นเล็กๆแล้วนาสมุนไพรแต่ละชนิดแยก
ใส่ ในกาละมัง เป็ นกาละมัง 4 ใบ ( มะกรู ด , ใบเตย , หัวหอม และตะไคร้ )
3.) เมื่อการบูร และแอลกอฮอล์ที่อยู่ในขวดโหล และเขย่าทุกๆวัน ครบ 7 วันแล้ว ให้นามาเท
รวมกันกับสมุนไพรทั้ง 4 อย่างในกะละมัง อย่างละเท่าๆกัน
4.) ผสมสมุนไพร กับการบูร และแอลกอฮอล์โดยการคนอย่างเบามือ
5.) นาบรรจุใส่ในขวดสเปรย์ และทดลองใช้งาน
ลเปรย์สมุนไพรดับกลิ่นมีท้ งั หมด 4 กลิ่น ได้แก่ มะกรู ด ใบเตย หัวหอม และ ตะไคร้
ตารางบันทึกผล
มะกรู ด ใบเตย หัวหอม ตะไคร้ ผลเฉลี่ย
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5 5 5 5 20
สามารถดับกลิ่นได้ดี
ผลิตภัณฑ์ไม่เป็ นพิษต่อ
ร่ างกาย และสภาพแวดล้อม
คุณภาพของผลิตภัณฑ์
เหมาะสมที่จะใช้ใน
โรงเรี ยน
ความพึงพอใจโดยรวม

ผลการทดลองเปรี ยบเทียบสรุ ปได้ว่า ความพึงพอใจของนักเรี ยนในโรงเรี ยนพึงพอใจ ……… เป็ นส่ วนใหญ่
บทที่ 1
บทนา

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากห้องน้ าของโรงเรี ยนมัชยมบ้านบางกะปี มีกลิ่นที่ไม่พ่ งึ ประสงค์ และกลิ่นอับในห้องน้ า
โรงเรี ยน ทาให้ผคู ้ นที่เข้ามาใช้มีสุขภาวะที่ไม่ดีทางโครงงานจึงอยากแก้ปัญหาในจุดนี้ จึงจัดตั้ง
โครงงานนี้ข้ ึนมา เพื่อให้ห้องน้ าของโรงเรี ยนมัชยมบ้านบงกะปี มีกลิ่นที่พึงประสงค์และถูก
สุ ขอนามัย และทาให้ห้องน้ าของโรงเรี ยนมีกลิ่นที่พึงประสงค์

วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาการทาสมุนไพรดับกลิ่นในห้องน้ า

สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า
สมุนไพรที่นามาใช้ในการทาโครงงาน

ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ สมุนไพร ( มะกรู ด , ใบเตย , หัวหอม และตะไคร้ )
ตัวแปรตาม คือ ประสิ ทธิภาพของการดับกลิ่น
ตัวแปรควบคุม คือ ปริ มาณ สัดส่วน และระยะเวลาการทดลอง

ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้สมุนไพรมาใช้ดบั กลิน่ ในโรงเรี ยน และครัวเรื อนได้

ขอบเขตการศึกษา
1.ศึกษาสมุนไพรที่ใช้ดบั กลิ่นไม่พึงประสงค์
2.ศึกษาวิธีการนาสมุนไพรมาทาที่ดบั กลิ่นไม่พึงประสงค์
การเปรี ยบเทียบสมุนไพรดับกลิ่นในห้องน้ า

สมาชิกในกลุ่ม

ด.ญ.ยุพาพร หนูเจียม ม.3/2 เลขที่ 31


ด.ญ.ศิริกานต์ เจริ ญศรี ม.3/2 เลขที่ 35
ด.ญ.สโรชา แสงเงิน ม.3/2 เลขที่ 37
ด.ญ.สุ ธิดา ม่วงสอน ม.3/2 เลขที่ 41

You might also like