You are on page 1of 88

เทคนิคการสกัดสารสาคัญเบื้องต้นจากพืชสมุนไพร

เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เชิงอาหารและสุขภาพ

ดร.เปรมศักดิ์ พวงพลอย
ผ่านระบบออนไลน์ (13 สิงหาคม 2565) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี
หัวข้อการบรรยาย:
1. ความหมายของสารสาคัญในพืชสมุนไพร
2. การเตรียมตัวอย่างพืชสมุนไพร
3. การสกัดสารสาคัญจากพืชสมุนไพร
• หลักการสกัดสาร
• ชนิดของตัวทาละลาย
• วิธีการในการสกัด
4. วิธีการตรวจสอบสารสาคัญที่ได้จากการสกัด
5. การประยุกต์ใช้สารสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เชิงอาหารและสุขภาพ
2
ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมีสารสาคัญจากพืชอะไรบ้าง ?

3
1. ความหมายของสารสาคัญในพืชสมุนไพร
สารพฤกษเคมีในพืชสมุนไพร (Phytochemistry)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
• สารปฐมภูมิ (Primary metabolites)
• สารทุติยภูมิ (Secondary metabolites)

4
สารปฐมภูมิ (Primary metabolites)
•เป็นผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์แสง
•เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และ เกลืออนินทรีย์

5
สารทุติยภูมิ (Secondary metabolites)
• เป็นสารประกอบที่มีลกั ษณะพิเศษที่พบแตกต่างกันในพืชแต่ละชนิด เกิดจากกระบวนการชีวสังเคราะห์
ในพืช
• มีสมบัติเป็นสารออกฤทธิ์ ที่มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่ซับซ้อน เช่น แอลคาลอยด์ (Alkaloids) ชาโปนิน
(Saponin) แอนทราควิโนน (Anthaquinone) คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ (Cardiac Glycoside) แทนนิน
(Tannins) ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) สเตอรอยด์ (Steroids) เทอร์ปีนอยด์ (Terpenoids) น้ามัน
หอมระเหย (Essential oils) เป็นต้น
• แต่ละส่วนของพืชสมุนไพรมีสารประกอบที่แตกต่างกันออกไป สารเหล่านั้นจะเป็นตัวกาหนดสรรพคุณของ
พืชสมุนไพร โดยที่ชนิดและปริมาณของสารสาคัญจะแปรตามชนิดของพันธุ์สมุนไพร สภาพแวดล้อมที่ปลูก
และช่วงเวลาที่เก็บพืชสมุนไพร
6
ตัวอย่างสารในกลุ่มแอลคาลอยด์
• คาแฟอีน (Caffeine) พบเมล็ดสุกของต้นกาแฟ และใบชา มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง ทาให้ร่างกายตื่นตัว
กล้ามเนื้อทางานได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบการหายใจ และขับปัสสาวะได้เล็กน้อย

คาแฟอีน (Caffeine)

7
ตัวอย่างสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์
• แอนโทไซยานิน (Anthocyanin) พบพืชและผลไม้ที่มีสี มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระได้ดี

8
ตัวอย่างสารในกลุ่มแอนทราควิโนน
• เรอิน (Rhein) พบในฝักคูณ มีฤทธิ์เป็นยาระบาย

เรอิน (Rhein)

9
ตัวอย่างสารในกลุ่มซาโปนิน
• ไดออสซิน (Dioscin) พบในเมล็ดลูกซัด (Fenugreek) มีสรรพคุณช่วยเพิม่ ฮอร์โมนเพศหญิง

Steroid saponin

Sugar

เรอิน (Rhein)
ไดออสซิน (Dioscin)

10
ตัวอย่างสารในกลุ่มแทนนิน
• โปรแอนโทไซยานิน (Proanthocyanin) พบในใบชาเขียน มีรสฝาด มีสรรพคุณช่วยต้านอนุมูลอิสระ

11
ตัวอย่างสารในกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
• ลิโมนีน (Limonene) พบในเปลือกพืชตระกลูสม้ และมะนาว มีกลิ่นหอม มีสรรพคุณใช้ทาเป็นยาช่วย
ลดน้าหนัก ป้องกันมะเร็ง และรักษาโรคหลอดลมอักเสบ และนามาใช้เป็นสารรสชาติในอาหาร เครื่องดื่ม
และหมากฝรั่ง

ลิโมนีน (Limonene)

12
2. การเตรียมตัวอย่างพืชสมุนไพร
สิ่งที่สาคัญที่ต้องพิจาณาถึงในการเตรียมตัวอย่างพืชสมุนไพร
• การตรวจสอบชนิดของพืชให้ถูกต้อง
• ส่วนที่นามาใช้
• ฤดูในการเก็บเกี่ยว
• อายุของวัตถุดิบ
• การเก็บรักษาวัตถุดิบ
13
14
15
16
17
18
2.1 การล้างทาความสะอาด
• ไม่ควรแช่น้าไว้นานๆ
• การล้างต้องใช้ภาชนะตะแกรงรองรับเพื่อป้องกันพืชสมุนไพรไหลตามน้า
• สมุนไพรบางชนิดไม่สามารถทาความสะอาดด้วยน้าได้ เช่น ดอกไม้ที่หลุดล่วง
ง่าย หรือ เมล็ดของพืชบางชนิด จึงอาจใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาดแทน

19
2.2 การทาสมุนไพรให้แห้ง
2.2.1 การตากแดด
- นาสมุนไพรวางบนภาชนะที่
โปร่ง เช่น ตะแกรง หรือ
กระจาด
- นิยมใช้ในการตากพืชสมุนไพร
ในทุกส่วน เช่น ราก ลาต้น
เปลือก และ ใบ
20
2.2.2 การผึ่งในที่ร่ม
• สมุนไพรบางชนิดมีสารสาคัญทีส่ ลายตัวได้ง่ายเมื่อโดนความร้อน จึงควรนามาผึ่งในร่ม เช่น
สารหอมระเหย ในพืชต่างๆ เช่น ผิวมะกรูด ใบมะกรูด ใบกระเพรา เป็นต้น

21
2.2.3 การอบแห้ง
• การอบแห้งเป็นวิธีการที่ทาให้สมุนไพรแห้งได้รวดเร็วและสม่าเสมอ และสามารถควบคุมอุณหภูมิได้ตามความ
เหมาะสม
• การอบแห้งควรเลือกอุณหภูมิให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการสลายตัวของสารสาคัญ

ชนิดของส่วนพืชสมุนไพร อุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้ง (0C)


ดอก ใบ ทั้งต้น 20-30
ราก กิ่ง ผิว 30-65
ผล 75-95
สมุนไพรที่มีน้ามันหอมระเหย 25-30
สมุนไพรที่มีไกลโคไซด์และอัลคาลอยด์ 50-60
22
ตู้อบสมุนไพรพลังงานแสงอาทิตย์ ตู้อบสมุนไพรแห้งแบบใช้เชื้อเพลิง

23
ตู้อบสมุนไพรแห้งแบบพาราโบลาโดม

24
เครื่องมือ/อุปกรณ์วัดความชื้น ถ้าไม่มีเครื่องมือวัดความชื้น...เราจะทาการวัดความชื้นอย่างไร ???

เครื่องวัดความชื้น (Moisture balance)


25
2.3 การเก็บรักษาพืชสมุนไพร
• ควรเก็บรักษาในที่สะอาด เย็น ไม่อับชื้น มีอากาศถ่ายเทได้ดี และไม่ถูกแสงแดด
• เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท ป้องกันการปนเปือ้ นและแมลงเข้ามาทาลาย
• ควรแยกเก็บสมุนไพรแต่ละชนิดให้เป็นสัดส่วนและเป็นหมวดหมู่
• สมุนไพรที่มีกลิ่นหอมต้องบรรจุในภาชนะที่ไม่ดูดกลิ่น
• ถ้าเป็นสมุนไพรที่ชื้นง่าย ต้องหมั่นนาออกมาผึ่งแดด หรืออบแห้งทุก 2-3 เดือน
• ควรปิดฉลากแสดงรายละเอียดไว้ที่ภาชนะ เช่น ชื่อสมุนไพร วันเดือนปี ที่เก็บ
• สมุนไพรโดยทั่วไปมีระยะเวลาในการเก็บในช่วง 1-5 ปี แต่หากเป็นสมุนไพรที่มีสารหอม
ระเหยจะมีระยะเวลาในการเก็บที่น้อยกว่า 3 ปี เนื่องจากสารหอมระเหยจะเกิดการสูญเสีย
26
27
3. การสกัดสารสาคัญในพืชสมุนไพร

28
3. การสกัด (Extraction)
• เป็นการแยกสารชนิดหนึ่งออกจากของผสมด้วยการเติมตัวทาละลาย (solvent) ลงไปและ
ตัวทาละลายนั้นจะละลายเฉพาะสารบางตัวที่เราต้องการแยกออกมา ดังนั้น การสกัดจึง
อาศัยความแตกต่างระหว่างการละลายของตัวถูกละลาย (solute) ในตัวทาละลาย 2 ชนิด
ซึ่งไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ทาให้เกิดเป็นสารละลายแยกชั้นและสามารถออกจากกันได้
• แบ่งออกเป็น
• Solid-liquid extraction
• Liquid-liquid extraction

29
Solid-liquid extraction

30
Liquid-liquid extraction

31
32
หลักการสกัดสารอินทรีย์
• ตามหลักการละลายโดยทั่วไป สารที่แตกตัวเป็นไอออนได้ หรือสารที่เกิดพันธะ
ไฮโดรเจนกับน้าได้ ก็จะละลายอยู่ในชั้นน้าเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่สารที่ไม่มีขั้วหรือมี
สภาพขั้วต่า ก็จะอยู่ในชั้นตัวทาละลายอินทรีย์ (ซึ่งส่วนใหญ่มีสภาพขั้วต่า) เช่น อีเทอร์
(ether) หรือ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (carbon tetrachloride) เป็นต้น ซึ่งหลักการ
ละลายของสารจะเป็นไปตามหลัก “like dissolves like” นั่นเอง

33
34
35
การเลือกตัวทาละลายในการสกัด
• ตัวทาละลายที่เหมาะสมสาหรับการสกัดควรมีสมบัติความคล้ายคลึงกับตัวทาละลายที่เลือกสาหรับการ
ตกผลึก คือ
1. ตัวทาละลายที่ดี ควรละลายสารที่ต้องการสกัดได้ดี ซึ่งพิจารณาได้จากสภาพขั้วที่คล้ายคลึงกัน
2. ไม่ละลายเป็นเนือ้ เดียวกับสารละลายของของผสมที่จะถูกสกัด
3. ไม่ควรละลายสิ่งเจือปนหรือสิง่ ที่ไม่ต้องการ
4. ควรมีจุดเดือดไม่สูงมากนัก เพื่อที่จะกาจัดได้ง่ายภายหลังการสกัด
5. ต้องไม่ทาปฏิกิริยากับสารหรือตัวทาละลายอื่นๆ ที่จะใช้ร่วม
6. ตัวทาละลายควรมีราคาไม่แพง ไม่ควรมีพิษ และไม่ควรติดไฟง่าย
7. กรดอินทรีย์ละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ และสามารถสกัดโดยใช้สารละลายเบส เช่น NaOH
หรือ Na2CO3 ก็ได้
36
น้า: ตัวทาละลายที่มีขั้วมาก

37
Ethanol: ตัวทาละลายที่มีขั้วปานกลาง และไม่มีพิษ

38
น้ามัน: ตัวทาละลายที่ไม่มีขั้ว

39
ขั้นตอนในการสกัดสารสาคัญจากพืชสมุนไพร ประกอบไปด้วย
1. การลดขนาด (Size reduction)
2. การสกัดสารสาคัญ (Extraction)
3. การกรอง (Filtration)
4. การทาให้เข้มข้น (Concentration)
5. การทาให้แห้ง (Drying)
6. การเก็บรักษาสารสกัด
40
1. การลดขนาด (Size reduction)
•เป็นขั้นตอนที่ลดขนาดของตัวอย่างพืชสมุนไพรให้เล็กลง
เพื่อให้ง่ายในการที่ตัวทาละลายจะเข้าไปสกัดเอาสารสาคัญ
ออกจากพืชตัวอย่าง

41
เครื่องบดและปั่นสมุนไพรขนาดเล็ก

42
เครื่องบดสมุนไพรละเอียด

43
เครื่องบดแบบค้อนเหวี่ยง

44
2. การสกัดสารสาคัญ (Extraction)
• การแยกสารสาคัญออกจากพืชด้วยการสกัดโดยใช้ตัวทาละลาย
• อาศัยหลักการ “Like dissolves like”
• วิธีการที่ใช้สกัดตัวทาละลายต้องมีความถูกต้องและเหมาะสม

45
2.1 การต้มกับน้า (Decoction)
• เหมาะสาหรับสกัดชิน้ ส่วนสมุนไพรทีแ่ ข็ง เช่น กิ่งก้าน ราก เปลือก ซึ่งทนความร้อนได้ระยะเวลา
หนึ่ง มีวิธีการดังนี้
• ชั่งสมุนไพรสดหรือแห้ง ย่อยขนาดให้เล็กพอประมาณ ห้ามบดละเอียด 60 กรัม
• เติ ม น้ าเย็ น 1 ลิ ต ร หรื อ 3-5 เท่ า ของน้ าหนั ก ถ้ า เป็ น สมุ น ไพรสดจะใช้ น้ าหนั ก น้ อ ยกว่ า
โดยให้น้าท่วมสูงเกินสมุนไพรประมาณ 5 นิ้ว ถ้าเป็นสมุนไพรแห้งให้แช่ในน้า 20 นาที ก่อนนา
ขึ้นไฟปานกลางจนเดือด จับเวลาเมื่อเริ่มเดือด ใช้เวลาประมาณ 30-40 นาที หากน้าแห้งให้
เติมน้า เมื่อสีของน้าสกัดไม่เข้มไปจากเดิมให้ยกลงกรองด้วยผ้าขาวบาง 3 ชั้น
• นากากต้มช้าเช่นเดิม
• การเก็บรักษา >> ให้นาไปแช่เย็น จะเก็บได้นาน 2-3 วัน

46
47
2.2 การชงกับน้าร้อน (Infusion)
• เหมาะสาหรับสมุนไพรที่เป็นพืชล้มลุก ไม่ทนต่อความร้อน วิธีทามีดังนี้
• นาส่วนที่อยู่เหนือดินที่ประกอบด้วยใบและกิ่งก้านเล็กๆ นามาสับเป็นชิ้นเล็กๆ
หรือบดหยาบหนัก 60 กรัม
• ทาให้ชื้นด้วยน้า ตั้งทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที
• เติมน้าเดือด 1 ลิตร ปิดฝาภาชนะให้สนิท
• ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที
• กรองด้วยผ้าขาวบาง
• สารสกัดที่เตรียมได้จะมีเชื้อปะปนง่าย ดังนั้นเมื่อเตรียมเสร็จแล้วให้แช่เย็น เก็บไว้
นานประมาณ 2-3 วัน หากต้องการเก็บนานขึ้นให้เติมสารกันบูด
48
49
2.3 การหมักยุ่ย (Maceration)
• เหมาะสาหรับสกัดพืชสมุนไพรที่มีองค์ประกอบทางเคมีที่ละลายน้าและไม่ละลายน้า
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสารละลายที่ใช้สกัดซึ่งอาจเป็นน้า-แอลกอฮอล์ มีวิธีทาดังนี้
• นาสมุนไพร (บดหยาบ) หนักประมาณ 100-200 กรัม บรรจุในภาชนะปิด
• เติมสารตัวทาละลาย 1 ลิตร
• ตั้งทิ้งไว้ 7-14 วัน เขย่าหรือคนทุกวันๆ ละหลายครั้ง
• จากนั้นกรอง บีบคั้นน้าออกให้หมด
• กรองผ่านกระดาษกรอง
50
51
2.4 การหมักย่อย (Digestion)
• ใช้กับสกัดพืช สมุนไพรที่มีองค์ประกอบทางเคมีที่ละลายน้า และไม่ละลายน้า
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสารละลายที่ใช้สกัด
• วิธีคล้ายกับการหมัก แต่มีการคนตลอดเวลา และการหมักมีการใช้อุณหภูมิที่
สูงกว่าอุณหภูมิห้องที่ 40-50 องศาเซลเซียส

52
2.5 การบีบคั้น (Expression)
• เป็นการบีบคั้นน้าออกมาจากส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ผล ใบ
• ตัวอย่างเช่น การบีบคั้นน้าจากผลส้ม
• สามารถสกัดน้ามันหอมระเหยได้โดยการบีบคั้น แต่จะได้
ปริมาณน้อยและไม่ค่อยบริสุทธิ์

53
2.6 การใช้คลื่นเสียง Ultrasound
• การใช้คลื่นเสียงอัลตราชาวน์ ในช่วง 20 – 2000 kHz
• คลื่นเสียงอัลตราจะช่วยทาลายผนังเซลล์พืชทาให้สามารถสกัดสารสาคัญออกจากพืชได้ดี

Ultrasonic cleaner หรือ Sonicator 54


2.7 การสกัดแบบซ็อกเล็ต (Soxhlet extractor)
• การสกัดที่นาตัวอย่างที่เป็นของแข็งหรือของเหลว แช่ในตัวทาละลายที่ต้องการเป็นเวลานาน
• นิยมใช้ในกรณีที่สารที่ต้องการสกัดละลายได้ไม่ดีนักในตัวทาละลายอินทรีย์ที่จะสกัด
• หลักการสกัด :อาศัยการทาให้ตัวทาละลายระเหยกลายเป็นไอ จากนั้นตัวทาละลายจะกลั่นตัว
กลายเป็นของเหลวตกลงมาที่สาร (ของแข็งหรือของเหลว) จากนั้นตัวทาละลายที่ได้สัมผัสกับสารจะ
ไหลลงสู่ขวดรองรับ ตัวทาละลายที่พาสารลงมาในขวดนี้จะระเหยกลับขึ้นไป (ทิ้งให้สารที่สกัด
ออกมาอยู่ในขวดรองรับ) แล้วกลั่นตัวลงบนสารซ้าแล้วซ้าอีก เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ ซึ่งจะทาให้ได้สาร
สกัดในปริมาณมากในขวดรองรับนั่นเอง

55
56
3. การกรอง (Filtration)
•เป็นกระบวนการแยกของเหลวที่ต้องการออกจากตะกอนของแข็ง โดย
ผ่านตัวกรอง (เช่น กระดาษกรอง) โดยของเหลวที่แยกตัวออกมาจะ
หล่นลงไปในภาชนะที่รองรับด้านล่าง

57
58
4. การทาให้เข้มข้น (Concentration)
•เป็นกระบวนการที่ทาให้สารสาคัญมีปริมาณมาก
ขึ้น ด้วยการระเหยตัวทาละลายออกไป
•สารสาคัญที่ได้จะมีปริมาณตัวทาละลายทีล่ ดลง

59
60
5. การทาให้แห้ง (Drying)
•เป็นกระบวนการที่ทาให้ตัวทาละลายระเหยออกจากสารสกัด
จากหมด
•สารที่ได้หลังการทาให้แห้งจะมีความชื้นต่า มีความเหนียว
และข้นหนืดขึ้นอยู่กับชนิดของสาร

61
Spray drying

62
Freeze dryer

63
ตู้อบลมร้อน (Hot air oven)

64
6. การเก็บรักษาสารสกัด
• เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท และห่อด้วยภาชนะทึบแสงเพือ่ ป้งกันการเกิดปฏิกริยาออกซิเดชัน
• ควรเก็บในอุณหภูมิต่ากว่า 0 องศาเซลเซียส เพื่อรักษาสภาพของสารสาคัญไม่ให้สูญหายไป

65
ลักษณะสารสกัดหยาบจากมะระขี้นกซึ่งสกัดด้วยตัวทาละลาย
เอทานอลที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน

0% 25% 50% 75% 99% เอทานอล


4. วิธีการตรวจวัดชนิดของสารสาคัญจากสารสกัดที่ได้
4.1 การตรวจวัดด้วยวิธีเบื้องต้น
4.2 การตรวจวัดด้วยวิธีขั้นสูง

67
4.1 การทดสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น (Phytochemical screening)
• เป็นการตรวจสอบโดยเบื้องต้น เพื่อให้ทราบว่าในตัวอย่างพืชนั้นๆ มีองค์ประกอบทางเคมีเป็นสารใน
กลุ่มสารสาคัญใดบ้าง เช่น แอลคาลอยด์ ฟลาโวนอยด์ ไกลโคไซด์ แทนนิน เทอร์พีนอยด์
แอนทราคิวโนน และคารโบไฮเดรต เป็นต้น

• การตรวจสอบเป็นวิธีทางเคมี บางวิธีการตรวจสอบ ไม่สามารถอธิบายกลไกการเกิดปฏิกิริยาได้ และ


การตรวจสอบสารแต่ละกลุ่มหรือโครงสร้างแต่ละแบบ มักมีมากกว่า 1 วิธี อาจทาการตรวจสอบเพื่อ
ยืนยันผลให้ถูกต้องมากที่สุด

68
วิธีการตรวจสอบทาได้ 2 วิธี ได้แก่
1. การดูปฏิกริยาการเกิดสีหรือตะกอนที่เปลี่ยนไปในหลอดทดลองหรือถาดหลุม
2. การวิเคราะห์ชนิดของสารสาคัญบนแผ่นรงคเลขผิวบาง (TLC chromatograms)

S1 S2 S3 Un

69
การทดสอบพฤกษเคมีเบื้องต้น (Phytochemical screening)

•การตรวจสอบแต่ละวิธี อาจพบผลบวกลวง (false positive) และ


ผลลบลวง (false negative) ดังนั้น ผลที่ได้จากการตรวจสอบ จึง
เป็นเพียงการคาดคะเน ซึ่งจะเป็นที่แน่นอนก็ต่อเมื่อสามารถสกัด
แยกสารบริสุทธิ์ และนาสารนั้นไปพิสูจน์หาสูตรโครงสร้างทางเคมี
โดยเทคนิคต่างๆ แล้วเท่านั้น

70
ประโยชน์ของการตรวจสอบเบื้องต้นทางพฤกษเคมี ได้แก่
1. สามารถนาผลการตรวจสอบมาวางแผนการสกัดแยกสารบริสุทธิ์ตามคุณสมบัติของ
สารเช่น
หากตรวจพบสารกลุ่ม saponins ก็ควรเลือกใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วสูง (เช่น
เมทานอล) เพื่อเตรียมสารสกัดให้ได้สารสาคัญดังกล่าวมากที่สุด
หากตรวจพบสารกลุ่ม alkaloids ก็สามารถเลือกสารสะกัดที่มีขั้วน้อย (เช่น อีเทอร์)
เพื่อให้ได้สารสาคัญมากที่สุด เป็นต้น

2. ใช้เป็นวิธีการหนึ่งประกอบการตรวจสอบโดยเบื้องต้นถึงชนิดของพืช เช่นพืชที่
คาดว่าเป็นมะขามแขกจะต้องให้ผลบวกกับ Borntrager test ถ้าให้ผลลบ แสดงว่าควรเป็น
พืชชนิดอื่น
71
72
ธฤตา กิตติศรีปัญญา, Quality control of medicinal plants, 73
2021
4.2 การตรวจวัดสารสาคัญจากสารสกัดด้วยวิธีขั้นสูง
• เทคนิคที่ใช้ในการบอกชนิดและปริมาณของสารสาคัญ:
• High Performance Liquid Chromatography (HPLC)
• Gas Chromatography (GC)
• เทคนิคที่ใช้ระบุโครงสร้างของสารสาคัญ:
• UV-Visible spectroscopy
• IR
• 1H-NMR
• 13C-NMR
• Mass spectroscopy
74
UV-Visible spectroscopy

75
UV-Visible spectroscopy

76
High Performance Liquid Chromatography (HPLC)

77
78
Gas Chromatography (GC)

79
80
ธฤตา กิตติศรีปัญญา, Quality control of medicinal plants, 81
2021
ธฤตา กิตติศรีปัญญา, Quality control of medicinal plants, 82
2021
83
ดร. อุดม อัศวาภิรมย์, การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีการสกัด และการห่อหุ้มระดับนาโน, NANOTEC
84
ดร. อุดม อัศวาภิรมย์, การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีการสกัด และการห่อหุ้มระดับนาโน, NANOTEC
85
ดร. อุดม อัศวาภิรมย์, การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีการสกัด และการห่อหุ้มระดับนาโน, NANOTEC
86
ดร. อุดม อัศวาภิรมย์, การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีการสกัด และการห่อหุ้มระดับนาโน, NANOTEC
87
ดร. อุดม อัศวาภิรมย์, การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีการสกัด และการห่อหุ้มระดับนาโน, NANOTEC
ขอบพระคุณครับ

You might also like