You are on page 1of 3

โครงงานบำบัดนํ้าเสียด้วยผลไม้และพืชรอบตัว

ผู้จัดทำโดย
1.ด.ช.ชยธร ประเสริฐทรัพย์ เลขที่ 17

2.ด.ช.ฐากรู ศรีไพบลูย์ผลิน เลขที่ 2

3.ด.ช.ศตายุ จันทรา เลขที่ 21

1. ที่มาและความสำคัญ
อุตสาหกรรมในพืชผักหลายๆชนิดมีบางส่วนที่ต้องนำไปทิ้งหรือทำอย่างอื่น
แล้วในส่วนตรงนั้นพืชบางชนิดมีสารแทนนินที่สามารถช่วยในการบำบัดนํ้าเสียได้ ในการบำบัดนํ้าเสียจะต้องใช้งบ
ประมาณมหาศาลแต่สามารถบำบัดได้แค่บางส่วน ดังนั้นในผลไม้เหล่านั้นมีสารแทนนินสามารถช่วยบำบัดนํ้าเสียได้
ซึ่งเราจะไม่ต้องทิ้งอย่างไร้คุณค่า
2. คำถามวิจัย
2.1 พืชชนิดไหนสามารถบำบัดนํ้าเสียได้มากที่สุด
2.2 พืชอะไรบ้างที่มีสารแทนนิน

2.3 พืชแต่ละชนิดสามารถสกัดแทนนินได้เท่ากันหรือไม่

3. สมมุติฐาน
3.1 กล้วยสามารถบำบัดนํ้าเสียได้มากที่สุด
3.2 มังคุดและมะพร้าวมีสารแทนนินอยู่

3.3 เปลือกกล้วยมีแทนนินมากที่สุด

4. วัตถุประสงคง์านวิจัย
4.1 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในกาารบำบัดนํ้าเสียของพืชต่างๆ
4.2 เพื่อศึกษาพืชที่มีสารแทนนิน
4.3 เปรียบเทียบจำนวนสารแทนนินในพืชต่างๆ

5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
5.1 การนำช่วยในการบำบัดนํ้ำเสียในปริมาณหนึ่ง
5.2 การต่อยอดการใช้ประโยชน์จากสารแทนนินเช่น นำไปเคลือบยา

6. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อ
6.1 วิธีสกัดแทนนิน
6.2 ชนิดพืชที่มีแทนนิน
6.3 วิธีใช้แทนนินในการบำบัด
6.4 วิธีตรวจสอบคุณภาพนํ้า
6.5 วิธีหาจำนวนสารแทนนินในพืช
วิธีสกัดแทนนินจากใบหูกวาง
6.1.1 นำไปหมกกับนํ้า
6.1.2 แช่ใบหูกวางในนํ้าเป็นเวลา 3-14 วัน
6.1.3 เก็บใบหูกวางนำมาล้างนํ้าทำความสะอาด แล้วตากให้แห้ง
อ้างอิงจาก หทัยภัทร (2559) วิธีสกัดจากมังคุด
6.2.1 สกัดด้วยเอทานอลชั่งอย่างพืช เติมเอทานอลและต้มบนอ่างอังไอนํ้า สกัดแบบไหลย้อนกลับ
6.2.2 กรองเก็บสารละลายที่ได้นํ้าไปละเหยแห้ง บนอ่างอังไอนํ้ากำจัด ตัวทำละลายที่เป็นแอลกอฮอล์
6.2.3 ละลายสารสกัดที่เหลืออยู่ด้วยนํ้ากลั่นโดยใช้ความร้อนช่วย จากนั้นกรองผ่านกรวยบุชเนอร์โดยใช้สาร
ช่วยกรอง filter aid
6.2.4 เติมโซเดียมคลอไรด์ แล้วกรองเก็บตะกอนแทนนินไปใช้ได้เลย

อ้างอิงจากสำนักงาานข้อมูล

สมุนไพร 2560

6.3.1 วิธีสกัดจากเปลือกมะพร้าว

นำเปลือกมะพร้ำวที่บดแล้วมาเติมสารละลายผสมระหว่ำงนํ้ากลั่นและเอทานอล จากนั้น
ปั่นโดยใช้เครื่องปั่นความเร็วสูง ที่อุณหภูมิห้องและละเหยเอทานอลที่อุณหภูมิ60 องศาเซลเซียส
เป็ นเวลา 6 ชัวโมง และนำตัวอย่างไปปั่นเหวี่ยงเพื่อกำจัดตะกอน เป็ นเวลา 15 นาที เก็บตัวอย่างที่
อุณหภูมิ4 องศาเซลเซียส

อ้างอิงจาก โครงงานสกัดสารแทนนินจากเปลือกมะพร้าวอ่อน

6.4.1 ทฤษฏีการดูดซับ

6.4.2 การดูดซับ ทาง

กายภาพ
อาศัยแรงดึงดูดทางไฟฟ้ำอย่างอ่านๆเรียกว่าแรงแวนเดอร์วาลส์
หรือพนัธะไฮโดนเจน
ทำให้สารที่อยู่ในของเหลวเข้าติดอยู่ที่สารดูดซับมากกว่าแรงดึงดูดระหว่างสารในของเหลวกับ
ของเหลวทำให้สารที่อยู่บนของ

เหลวติดอยู่ที่สารดูดซับแทนการดูดซับทางกายภาพ

ไม่มีแรงกระตุ้นมาเกี่ยวข้อง

อ้างอิงจากโครงงานการเพิ่มมูลค่าของเปลือกกล้วยเหลือทิ้งเพื่อกำจัดสารพิษ

ในนํ้า

7. ขอบเขตงานวิจัย
7.1 ขอบเขตของงานวิจัย

7.1.1 ความสามารถในการบำบัดของแทนนิน

7.1.2 วิธีสกัดของแทนนิน

7.2 สิ่งที่ต้องการตรวจ

7.2.1 ประสิทธิภาพของการบำบัด

7.2.2 จำนวนสารแทนนินในพืชแทนนิน

7.3 ช่วงเวลางานวิจัย

2566-2567

You might also like