You are on page 1of 13

บทที่ ๒

เอกสารที่เกี่ยวของ

การทําโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง แชมพูที่ทำจากว่านหางจระเข้และ


มะกรูด เพื่อทำความสะอาดหนังศรีษะให้สะอาด และประหยัด ผูศึกษาได
รวบรวมแนวคิด ทฤษฏี และหลักการตางๆ จากเอกสารที่เกี่ยวของ ดังตอ
ไปนี ้

๑. ว่านหางจระเข้

๒. มะกรูด

๓. หม้อสเตนเลส

๔. ทัพพี

๕. ช้อน

๖. น้ำ

๗. แชมพู

๑. ว่านหางจระเข้
ที่มา : https://www.pobpad.com

สมุนไพรยอดฮิตที่คนไทยนิยมใช้และคุ้นเคยกันดีคงหนีไม่พ้นว่าน
หางจระเข้ ที่อาจมีสรรพคุณและคุณประโยชน์มหาศาล โดยว่านหาง
จระเข้เป็ นพืชสีเขียวที่มีใบหนาอ้วน เมื่อผ่าใบออกแล้วจะพบส่วนที่เป็ น
เนื้อวุ้นใส ๆ ที่อุดมไปด้วยสารสำคัญต่าง ๆ เช่น สารต้านอนุมูลอิสระ
วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และกรดอะมิโนที่จำเป็ นสำหรับร่างกาย
เป็ นต้น

นอกจากยารักษา ว่านหางจระเข้ได้ถูกนำมาใช้เป็ นส่วนผสมในอาหาร


เสริม เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหลากหลายชนิด เนื่องจาก
สมุนไพรชนิดนีอ
้ าจมีประโยชน์ทางการแพทย์และสรรพคุณทางยา
มากมายในการช่วยรักษาโรคและการเจ็บป่ วยได้หลายชนิด ดังนี ้

รักษาแผลไหม้พุพอง

แผลพุพองจากความร้อนที่ไม่ร้ายแรง แผลที่เกิดจากการทำครัว เช่น


น้ำมันลวก น้ำร้อนลวก สามารถบรรเทาได้ง่าย ๆ ด้วยว่านหางจระเข้ โดย
จะช่วยลดอาการอักเสบ เพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปสูบ
่ ริเวณเนื้อเยื่อ
ของแผล ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในบริเวณที่เกิดการไหม้ และแม้จะ
เป็ นแผลที่ง่ายต่อการติดเชื้ออย่างแผลพุพอง ก็ยังสามารถใช้ได้เพราะว่าน
หางจระเข้มีกรดซาลิซิลก
ิ คอยยับยัง้ แบคทีเรีย และช่วยผลัดเซลล์ผิวหนัง
ใหม่
รักษาโรคเริมที่อวัยวะเพศ

โรคเริมเป็ นโรคจากเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ (Herpes Simplex


Virus: HSV) ที่มักทำให้เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนัง ปาก และอวัยวะเพศ
ลักษณะเป็ นตุ่มน้ำใส ๆ จากนัน
้ จะแตกออกและอักเสบจนเกิดแผลเจ็บ
แสบ โดยตัวยาที่มีว่านหางจระเข้เป็ นส่วนผสมอาจช่วยบรรเทาอาการของ
โรคได้และลดการอักเสบของโรค
รักษาโรคสะเก็ดเงิน

การใช้ว่านหางจระเข้รูปแบบครีมหรือขีผ
้ งึ ้ อาจช่วยบรรเทาอาการของโรค
สะเก็ดเงินที่รุนแรงเล็กน้อยถึงปานกลางได้ โดยครีมที่มีส่วนผสมของสาร
สกัดจากว่านหางจระเข้จะช่วยลดการอักเสบ แดง คัน และผิวหนังที่ตก
สะเก็ด ทัง้ นี ้ ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินอาจต้องทาครีมที่มีสารสกัดจากว่านหาง
จระเข้วันละหลายครัง้ ติดต่อกัน 1 เดือนเพื่อผลลัพธ์ที่ดีขน
ึ้
ดีต่อผู้ป่วยเบาหวาน

จากการศึกษาพบว่าการรับประทานเนื้อว่านหางจระเข้อาจช่วยลดระดับ
น้ำตาลในเลือดได้ และคอเลสเตอรอล ซึ่งน่าจะเป็ นผลดีต่อการรักษาผู้
ป่ วยโรคเบาหวาน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาเกี่ยวกับสรรพคุณของว่าน
หางจระเข้ด้านนีย
้ ังไม่เพียงพอ ทำให้ไม่อาจระบุประสิทธิภาพและความ
ปลอดภัยในการใช้ว่านหางจระเข้รักษาโรคเบาหวานได้อย่างแน่ชัด
บรรเทาอาการท้องผูก

หลักฐานทางวิทยาศาสตร์บางส่วนพิสูน์ว่าการรับประทานยางของว่าน
หางจระเข้อาจมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการท้องผูกได้ อย่างไรก็ตาม
การรับประทานยางของว่านหางจระเข้จะให้ผลดีจริงหรือไม่นน
ั ้ ยังไม่
ทราบแน่ชัด เนื่องจากยังไม่มีการวิจัยที่น่าเชื่อถืออย่างชัดเจน และการดื่ม
น้ำว่านหางจระเข้ก็อาจส่งผลข้างเคียงทำให้เกิดอาการปวดท้องและท้อง
เสียได้
เห็นประโยชน์ต่อการรักษาสารพัดโรคของว่านหางจระเข้อย่างนีแ
้ ล้ว
หลายคนคงสนใจคุณสมบัติด้านการรักษาของพืชชนิดนี ้ ซึ่งงานวิจัยส่วน
ใหญ่กพ
็ บว่าการใช้ว่านหางจระเข้ได้ผลดีและมีผลข้างเคียงน้อยเสียด้วย
คาดว่าต่อไปเราอาจได้เห็นว่านหางจระเข้กลายเป็ นส่วนประกอบสำคัญ
ของยารักษาโรคต่าง ๆ เหล่านีม
้ ากขึน
้ อย่างแน่นอน
ใช้ว่านหางจระเข้อย่างไรให้ปลอดภัย ?

โดยทั่วไปแล้วการใช้ว่านหางจระเข้เพื่อบรรเทาอาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
ผิวหนังและการรับประทานว่านหางจระเข้ในปริมาณที่เหมาะสมติดต่อกัน
เป็ นช่วงเวลาสัน
้ ๆ นัน
้ ค่อนข้างปลอดภัย อย่างไรก็ตาม การรับประทาน
ว่านหางจระเข้อาจไม่ส่งผลดีต่อสุขภาพหรือมีความปลอดภัยเสมอไป โดย
ข้อควรระวังของการบริโภคว่านหางจระเข้มี ดังนี ้
การรับประทานสารสกัดจากใบหรือยางของว่านหางจระเข้

 ไม่รับประทานสารสกัดจากใบหรือยางของว่านหางจระเข้ในปริมาณ
มากหรือติดต่อกันเป็ นระยะเวลานาน เพราะอาจทำให้เกิดผลข้าง
เคียง เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย เป็ นต้น อีกทัง้ ยังเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง
และอาจนำไปสู่การเกิดภาวะไตวายฉับพลันที่อาจเป็ นอันตราย
ถึงแก่ชีวิตได้  
 ไม่ใช้สารสกัดจากใบหรือยางของว่านหางจระเข้ในเด็กอายุต่ำกว่า
12 ปี
การรับประทานว่านหางจระเข้ร่วมกับยา

การรับประทานว่านหางจระเข้ร่วมกับยารักษาโรคบางชนิดอาจก่อให้เกิด
ผลข้างเคียงรุนแรงตามมาได้ โดยผู้ที่กำลังรับประทานยารักษาโรคเบา
หวาน ยารักษาโรคหัวใจ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาขับปั สสาวะ ยา
ถ่ายชนิดกระตุ้นลำไส้ หรืออาหารเสริม ควรปรึกษาแพทย์ก่อนลองใช้ว่าน
หางจระเข้เพื่อบำบัดรักษาโรค

๒. มะกรูด

ที่มา : https://medthai.com
สมุนไพรมะกรูด มีช่ อ
ื ท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า มะขู (แม่ฮ่องสอน), มะขุน
มะขูด (ภาคเหนือ), ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้) เป็ นต้น

หลาย ๆ ท่านคงคุ้นเคยกับมะกรูดเป็ นอย่างดี เพราะเป็ นสมุนไพรคูค


่ รัว
ไท p มาอย่างยาวนาน เพราะนิยมใช้เป็ นส่วนผสมในเครื่องแกงที่จำเป็ น
อย่างขาดไม่ได้เลย ซึง่ โดยปกติแล้วเรามักจะนิยมใช้ใบมะกรูดและผิว
มะกรูดมาเป็ นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากมะกรูด
จะใช้เป็ นเครื่องประกอบในอาหารต่าง ๆ แล้ว ก็ยังมีประโยชน์ในด้านอื่น
ๆ อีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นในด้านของความงามและในด้านของยา
สมุนไพร นอกจากนีย
้ ังถือว่าเป็ นไม้มงคลที่นิยมปลูกไว้บริเวณบ้านอีกด้วย
เพราะเชื่อว่าจะทำให้ผู้อยู่อาศัยมีความสุข โดยจะปลูกไว้ทางทิศตะวันตก
เฉียงเหนือ

สารเคมีที่สำคัญที่พบได้ในผลมะกรูดก็คือน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีทงั ้ ในส่วน


ของเปลือกผลหรือผิวมะกรูดและในส่วนของใบ โดยเปลือกผลจะมีน้ำมัน
หอมระเหยประมาณ 4% และในส่วนของใบนัน
้ จะมีน้ำมันหอมระเหยอยู่
ประมาณ 0.08% และยังสกัดยากกว่าน้ำมันในเปลือกผลอีกด้วย แต่ก็ยังมี
จุดเด่นตรงที่น้ำมันจากใบจะมีกลิ่นมากกว่านั่นเอง จึงนิยมใช้ทงั ้ น้ำมัน
มะกรูดทัง้ จากใบและเปลือกผล ซึ่งน้ำมันหอมระเหยนีก
้ ็สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้หลายอย่างและยังมีสรรพคุณเป็ นยาอีกด้วย !
๓. หม้อสเตนเลส

ที่มา : https://chefscornerstore.com

ข้อดีของหม้อประเภทนีค
้ ือ ราคาไม่สูงมากนัก หาซื้อง่าย วัสดุก็ดู
สวยเงางามและทนทานต่อการใช้งานค่ะ แต่ถ้าอยากได้ของดีควรเลือก
ยี่ห้อที่น่าเชื่อถือและควรเลือกใช้หม้อสเตนเลสกับเตาแม่เหล็กโดย
เฉพาะ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อปรุงอาหารด้วยหม้อชนิดนีน
้ ัน
้ อาหารมักจะ
ติดหม้อได้ง่ายกว่าหม้อประเภทอื่น ๆ ข้อควรระวังอีกอย่างหากอาหาร
นัน
้ เป็ นอาหารชนิดที่ว่ามีกรดเป็ นส่วนประกอบอยู่ค่อนข้างมาก อย่าง
เช่นอาหารจพวกยำรสแซ่บต่าง ๆ ไม่ควรแช่อาหารประเภทนัน
้ ไว้ใน
หม้อสเตนเลสเป็ นเวลานาน เพราะจะทำให้วัสดุเสื่อมคุณภาพเร็วขึน

๔. ทัพพี
ที่มา : https://www.google.com

ทัพพีเป็ นหนึง่ ในอุปกรณ์เครื่องครัวที่ใช้บ่อยและจำเป็ นที่สุดและมีให้


บริการในบ้านทุกหลัง อย่างไรก็ตามแม้จะมีความเรียบง่ายที่ชัดเจนของ
การออกแบบในวันนีม
้ ีหลายอุปกรณ์ง่าย ๆ นีแ
้ ละบางครัง้ นอกเหนือจาก
วัตถุประสงค์โดยตรงของพวกเขาทำหน้าที่เป็ นองค์ประกอบสำคัญของ
การตกแต่งห้องครัว

๕. ช้อน

ที่มา : https://th.wikipedia.org
ช้อน เป็ นเครื่องครัวที่มีลักษณะเป็ นแอ่งตื้นและเล็กกว่าทัพพี ตรง
ปลายมีที่จับ โดยทั่วไปใช้ในการตักอาหารเหลว หรืออาหารกึ่งเหลว หรือ
อาหารแข็งที่ไม่อาจใช้กับส้อมได้อย่างสะดวก เช่น ใช้ในการตักข้าวหรือ
ธัญพืช นอกจากนี ้ ช้อนยังใช้ในการทำอาหารที่จะตวงวัดปริมาณส่วนผสม
ของอาหารที่จะใช้ด้วย ช้อนอาจจะทำมาจากโลหะ ไม้ พลาสติก หิน หรือ
แม้แต่งาช้าง

ในวัฒนธรรมไทยแต่เดิมใช้มือในการเปิ บอาหารรับประทาน ภายหลัง


มีการนำช้อนเข้ามาใช้ โดยปรากฏในรูปของช้อนสัน
้ ส่วนในปั จจุบันมักใช้
ช้อนยาวคู่กับส้อมในการรับประทานอาหารโดยทั่วไป ซึ่งเป็ นลักษณะ
เฉพาะที่ไม่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดที่ใดในโลก แต่ไม่ปรากฏแน่ชัดว่ามี
การนำช้อนคู่กับส้อมเมื่อใด

๖. น้ำ
ที่มา : https://www.google.com

น้ำเป็ นสารเคมีชนิดหนึ่งที่เขียนสูตรเคมีได้ว่า H2O: น้ำ 1 โมเลกุล


ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม สร้างพันธะโควาเลนต์รอบออกซิเจน 1
อะตอม

คุณสมบัติหลักทางเคมีและฟิ สิกส์ของน้ำ ได้แก่

 น้ำเป็ นของเหลวที่ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ที่อุณหภูมิและความดันปกติ สี


ของน้ำตามธรรมชาติเป็ นสีโทนน้ำเงินอ่อน ๆ แม้ว่าน้ำจะดูไม่มีสีเมื่อ
มีปริมาณน้อย ๆ ก็ตาม น้ำแข็งก็ดูไม่มีสเี ช่นกัน และสำหรับน้ำใน
สถานะแก๊สนัน
้ โดยปกติเราจะมองไม่เห็นมันเลย
 น้ำเป็ นของเหลวโปร่งใส ดังนัน
้ พืชน้ำจึงสามารถอยู่ในน้ำได้เพราะมี
แสงสว่างส่องมันอย่างทั่วถึง จะมีเพียงแสงอุลตร้าไวโอเลตและ
อินฟราเรดเท่านัน
้ ที่จะถูกน้ำดูดซับเอาไว้
 น้ำมีสถานะเป็ นของเหลวในสภาวะปกติ
 น้ำเป็ นโมเลกุลมีขว
ั ้ เพราะว่าออกซิเจนมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี
(Electronegativity: EN) สูงกว่าไฮโดรเจน ออกซิเจนมีขว
ั ้ ลบ ใน
ขณะที่ไฮโดรเจนมีขว
ั ้ บวก แสดงว่าน้ำเป็ นโมเมนต์ขว
ั ้ คู่ ปฏิกิริยา
ระหว่างขัว้ ของแต่ละโมเลกุลเป็ นเหตุให้เกิดแรงดึงดูดที่เชื่อมโยงกับ
มวลรวมของน้ำของความตึงผิว
 แรงยึดเหนี่ยวสำคัญอื่น ๆ ที่ทำให้โมเลกุลของน้ำเสียบเข้าสู่อีกอัน
หนึ่งเรียกว่าพันธะไฮโดรเจน
 จุดเดือดของน้ำ (รวมถึงของเหลวอื่น ๆ) ขึน
้ อยู่กับความกดดันของ
บรรยากาศ ตัวอย่างเช่น บนยอดเขาเอเวอเรสต์ น้ำจะเดือดที่
อุณหภูมิ 68 องศาเซลเซียส เปรียบเทียบกับ 100 องศาเซลเซียสที่
ระดับน้ำทะเล ในทางกลับกัน เขตน้ำลึกในมหาสมุทรใกล้รอยแตก
ของเปลือกโลกเนื่องจากภูเขาไฟระเบิด อุณหภูมิอาจขึน
้ เป็ นหลาย
ร้อยองศาและยังคงสถานะเป็ นของเหลวเหมือนเดิม
 น้ำจะไหลเข้าหาตัวมันเอง น้ำมีค่าความตึงผิวสูงซึง่ เกิดจากการ
ประสานกันอย่างแข็งแรงระหว่างโมเลกุลของน้ำเพราะว่ามันมีขว
ั้
ความยืดหยุ่นที่เห็นได้ชัดเกิดจากค่าความตึงผิวคอยควบคุมให้คลื่น
มีลักษณะเป็ นพริว้

 น้ำมีขว
ั ้ แม่เหล็กจึงมีคณ
ุ สมบัติการยึดติดสูง
 การแทรกซึมของน้ำตามรูเล็กกล่าวถึงแนวโน้มของน้ำที่จะไหลอยู่ใน
หลอดเล็ก ๆ ซึง่ ต้านกับแรงโน้มถ่วง คุณสมบัตินถ
ี ้ ูกพึง่ พาโดยพืชสี
เขียวเช่นต้นไม้
 น้ำเป็ นตัวทำละลายที่ดี เรียกได้ว่าน้ำเป็ น ตัวทำละลายสากล
สามารถละลายสสารได้หลายชนิด สสารที่ละลายกับน้ำได้ดี เช่น
เกลือ น้ำตาล กรด ด่าง และแก๊สบางชนิด โดยเฉพาะออกซิเจน
คาร์บอนไดออกไซด์ เรียกว่า ไฮโดรฟิ ลิก หรือสสารที่ชอบน้ำ ขณะที่
สสารที่ละลายน้ำได้น้อยหรือไม่ได้เลย เช่น ไขมัน และน้ำมัน เรียก
ว่า ไฮโดรโฟบิก หรือสสารที่ไม่ชอบน้ำ
 ทุกองค์ประกอบที่สำคัญในเซลล์ (โปรตีน ดีเอ็นเอ และ โพลีแซคคา
ไรด์) จะละลายได้ในน้ำ
 ์ ีค่าการนำไฟฟ้ าที่ต่ำ แต่ค่านีจ
น้ำบริสุทธิม ้ ะเพิ่มขึน
้ อย่างมีนัยสำคัญ
กับปริมาณของสารประกอบไอออนิก เช่น โซเดียมคลอไรด์ ที่
ละลายอยู่ในน้ำ
 น้ำมีค่าความร้อนจำเพาะสูงเป็ นอันดับ 2 ในบรรดาสสารที่รู้จัก รอง
จากแอมโมเนีย อีกทัง้ ยังมีค่าความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอสูง
เช่นกัน (40.65 กิโลจูลต่อโมล) ซึ่งทัง้ สองคุณสมบัตินเี ้ ป็ นผลมาจาก
พันธะไฮโดรเจนครอบคลุมเป็ นบริเวณกว้างระหว่างโมเลกุล
คุณสมบัติที่ไม่ธรรมดา 2 ประการนีช
้ ่วยทำให้น้ำบรรเทาความ
รุนแรงของสภาพภูมิอากาศบนโลกได้โดยการดูดซับอุณหภูมิที่
ผันผวนอย่างมากเอาไว้
 ภาวะที่น้ำมีความหนาแน่นสูงที่สุดคือที่อุณหภูมิ 3.98 องศา
เซลเซียส[2] เป็ นคุณสมบัติที่ไม่ปกติที่มีความหนาแน่นลดลงไม่ใช่
เพิ่มขึน
้ ของน้ำเมื่อได้รับความเย็นจนเปลี่ยนเป็ นสถานะของแข็ง
(กลายเป็ นน้ำแข็ง) ในสถานะของแข็งนีจ
้ ะมีปริมาณเพิ่มขึน
้ 9% ซึ่ง
เป็ นสาเหตุของข้อเท็จจริงที่น้ำแข็งลอยน้ำได้
 สามารถแยกน้ำออกเป็ นไฮโดรเจน และออกซิเจน ได้โดยวิธีอิเล็ก
โตรไลสีส
 สารบางชนิด เช่น โซเดียม ลิเทียม แคลเซียม โพแทสเซียม เป็ นต้น
เมื่อถูกน้ำจะปล่อยแก๊สไวไฟออกมา หรือมีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับ
น้ำ
๗. แชมพู

ที่มา : https://www.google.com

คุณสมบัติที่สมบูรณ์ของแชมพูต้องทำความสะอาดเส้นผมและ
หนังศีรษะได้อย่าง หมดจด เมื่อใช้สระผมต้องไม่ทำให้เส้นผมเหนียวหวี
ยาก เส้นผมหลังสระจะต้องลื่น อ่อนนุ่มเป็ นประกาย แวววาว และ
ยืดหยุ่นตัวได้ดี ไม่ทำลายไขมันตามธรรมชาติของเส้นผม ไม่ทำให้ผมแห้ง
กรอบหรือหนังศรีษะแห้งกรอบ เกิดองปริมาณมากและสม่ำเสมอ ฟอง
คงทน บนเส้นผมแม้ขณะที่มีน้ำมันหรือสิ่งสกปรกมากล้างออกได้ง่าย โดย
ใช้น้ำธรรมดา และน้ำกระด้าง ไม่ทำให้เกิดการแพ้ระคายเคืองแสบตา
หรือเป็ นอันตรายต่อเยื่อตา ผิวหนังอักเสบหรือผมร่วงมีกลิ่นหอม ไม่ก่อ
ความระคายเคือง มีความคงตัวดี มีกลิ่นและความหนืดไม่เปลี่ยนแปลง
แม้เมื่อถูกแสงหรืออุณหภูมิสูง

You might also like