You are on page 1of 12

คำนำ

รายงานเล่มนี้จดั ทาขึ้นเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาวิศวกรรมประปาและสุขาภิบาลเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู ้


ในเรื่ อง กระบวนการผลิตน้ าประปา และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กบั การเรี ยน

ผูจ้ ดั ทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่าน หรื อนักเรี ยน นักศึกษา ที่กาลังหาข้อมูลเรื่ องนี้ อยู่
หากมีขอ้ แนะนาหรื อข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่น้ ี ดว้ ย

ผู้จัดทำ
และ กลุ่ม
สำรบัญ

หัวข้อ หน้า

ระบบผลิตน้ าประปา 1
ขั้นตอนการผลิตน้ าประปา ให้ได้มาตรฐาน ทาอย่างไร 2
อันตรายจากสิ่ งปนเปื้ อนในน้ าดื่ม 5
วิธีการแก้หากมีสิ่งปนเปื้ อนในน้ าดื่ม 7
ขั้นตอนการผลิตน้ าประปา (โดยการประปาส่ วนภูมิภาค) 8

ภาคผนวก 10
1

ระบบผลิตน้ำประปำ

กำรทำระบบผลิตน้ำประปำ ประกอบไปด้วยหลายขั้นตอน ทุกขั้นตอนจะต้องมีคุณภาพได้


มาตรฐานเพื่อให้ได้น้ าประปาที่ใสสะอาดปลอดภัยไม่มีสิ่งสกปรกหรื อสารพิษเจือปนสามารถ
นาไปใช้อุปโภคและบริ โภคได้อย่างมัน่ ใจ กำรติดตั้งระบบผลิตน้ำประปำมีความสาคัญอย่างมาก
เพื่อให้ครัวเรื อนนาน้ าไปใช้อุปโภค บริ โภค ภาคเกษตรมีน้ าไว้ใช้เพื่อรดพืชผักผลไม้ให้
เจริ ญเติบโต ภาคอุตสาหกรรมได้ใช้น้ าในกระบวนการผลิต การทาระบบประปาหมู่บา้ นยัง
เหมาะกับพื้นที่ห่างไกลจากการประปาส่ วนภูมิภาคด้วย
2

ระบบผลิตน้ าประปา คืออะไร

ระบบผลิตน้ำประปำ Water Treatment System คือ ระบบที่นาน้ าจากแหล่งธรรมชาติ เช่น แม่น้ า ห้วย
หนอง คลอง บึง รวมถึงน้ าบาดาล เป็ นต้น โดยนาน้ าดิบปริ มาณที่ตอ้ งการมาแปรสภาพผ่านกระบวนการ
ต่างๆ เพื่อให้ใสสะอาดปลอดภัย หลังจากนั้นจึงแจกจ่ายให้กบั บ้านเรื อน ประชาชน ใช้ในภาคการเกษตร
หรื อโรงงานอุตสาหกรรมเป็ นลาดับต่อไป โครงสร้างของระบบผลิตน้ าประปา ประกอบไปด้วย ระบบน้ า
ดิบ ระบบผลิตน้ าและระบบจ่ายน้ า ระบบผลิตน้ าประปาต้องมีขนาดที่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าหรื อ
รองรับปริ มาณการใช้น้ าสู งสุ ดต่อวันได้
3

ขั้นตอนกำรผลิตน้ำประปำ ให้ ได้มำตรฐำน ทำอย่ำงไร

ระบบน้ำประปำจะต้องมีคุณภาพได้มาตรฐานเพื่อให้ได้น้ าที่ใสสะอาด ปลอดภัย ขั้นตอนการผลิตน้ าประปา


ให้ได้มาตรฐาน อ้างอิงจากการบริ หารระบบประปาส่วนภูมิภาคโดยหลักๆ แล้วแบ่งออกเป็ น 6 ขั้นตอน
ดังต่อไปนี้

1.คัดเลือกแหล่งน้ าดิบ

ขั้นตอนแรกคือการจัดหาและคัดเลือกแหล่งน้ าดิบซึ่งต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสม น้ำผิวดินต้องเป็ นไปตาม


มาตรฐานคุณภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดิน ประเภท 1-4 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่
8 ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่ อง การ
กาหนดมาตรฐานคุณภาพในแหล่งน้ าผิวดิน หรื ออย่างน้อยคุณภาพในเบื้องต้นทางกายภาพเหมาะที่จะไป
ผลิตน้ าประปาได้ สาหรับน้ าบาดาลต้องเป็ นไปตามประกาศเรื่ อง กาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในทาง
วิชาการสาหรับการป้องกันด้านสาธารณสุ ขและกี่ป้องกันสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ

2.ปรับปรุ งคุณภาพน้ าดิบขั้นต้น

เมื่อคัดเลือกแหล่งน้ าดิบที่เหมาะสมและมีปริ มาณเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ


การปรับปรุ งคุณภาพน้ าดิบขั้นต้น น้ าดิบไหลผ่านทุนกันขยะ ไหลผ่านทั้งตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอียด
เพื่อป้องกันสิ่ งปนเปื้ อน ป้องกันวัชพืช ตะไคร่ น้ า ฯลฯ

3.เติมสารเคมี

ระบบกำรผลิตน้ำประปำขั้นตอนต่อมาคือ เติมสารเคมี น้ าดิบที่ถูกกาจัดสิ่ งปนเปื้ อนในเบื้องต้นออกไปแล้ว


เมื่อเข้าสู่ กระบวนการผลิตน้ าประปาจะยังมีสารแขวนลอยขนาดเล็กปะปนอยูต่ อ้ งเติมสารเคมีเพื่อกาจัดออก
อาจเติมด่างทับทิมและมีการเติมปูนขาวลงไปเพื่อปรับสภาพความเป็ นกรดและด่างและทาให้เกิดการ
ตกตะกอนที่มีประสิ ทธิภาพ จากนั้นเติมสารส้ม เติมโพลิเมอร์ เร่ งตะกอนให้จบั ตัวขนาดใหญ่เพื่อเร่ งการ
ตกตะกอนที่เร็ วขึ้น
4
4.การตกตะกอน

น้ าดิบที่เติมสารเคมีแล้วถูกส่ งไปยังถังตกตะกอน ผ่าน Tri-Dent ตะกอนลงสู่กน้ ถัง น้ าใสอยูช่ ้ นั บนไหลล้น


เข้าสู่ รางรับน้ าไปยังถังกรองเป็ นลาดับต่อไป สาหรับตะกอนที่มีจานวนมาก จะถูกระบายไปยังระบบกาจัด
ตะกอน ตะกอนจะถูกรี ดและนาไปกาจัดทิ้ง

5.กระบวนการกรอง

น้ าที่ผา่ นการตกตะกอนแล้วแม้จะมีความใสสะอาดขึ้นแต่ยงั มีสารแขวนลอยขนาดเล็กมากๆ ปะปนอยู่


วิธีการกาจัดคือการกรองเร็วด้วยการใช้สารกรอง คือ ทราย ช่วยดักจับสารแขวนลอยขนาดเล็กไว้ที่ผิวหน้า
และในชั้นของสารกรองน้ าที่ผา่ นกระบวนการกรองมาแล้วซึ่งมีความขุ่นไม่เกิน 1 NTU

6.จากัดเชื้อโรค

ขั้นตอนการฆ่าเชื้อโรคเป็ นกระบวนการสุ ดท้ายของระบบผลิตน้ าประปา ในระบบจ่ายน้ าประปาจะมีการ


เติมคลอลีนลงไปในน้ าปริ มาณที่เหมาะสม โดยเติมลงไปในปริ มาณที่เพียงพอใส่ ลงไปในถังเก็บน้ าใส และ
เส้นท่อในระหว่างขนส่ งน้ าประปาทาให้น้ าประปามีความใสสะอาดปลอดภัยเหมาะสาหรับการอุปโภคและ
บริ โภค
5

อันตรำยจำกสิ่งปนเปื้ อนในน้ำดื่ม

สิ่ งปนเปื้ อนในน้ าดื่ม

สิ่งปนเปื้ อนในน้ำดื่ม ถือเป็ นเรื่ องที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เพราะเป็ นเรื่ องที่ส่งผลต่อสุขภาพร่ างกายโดยตรง


อาจทาให้เกิดอันตรายได้ อีกทั้งน้ ายังเป็ นของเหลวที่อยูใ่ นร่ างกายมนุษย์มากถึง 70% ทาให้การดื่มน้ าสะอาด
เป็ นเรื่ องที่สาคัญเป็ นอย่างมาก รวมถึงต้องดื่มให้เพียงพอต่อความต้องการของร่ างกายภายใน 1 วันด้วย
เช่นกัน ซึ่งในน้ าดื่มที่เราใช้ดื่มกันในปัจจุบนั นี้ก็อาจมีสารปนเปื้ อนเจือปนอยูโ่ ดยที่คุณไม่รู้ตวั ดังนั้น
บทความนี้จะพาคุณไปทาความรู ้จกั กับสารปนเปื้ อนในน้ าดื่มให้มากขึ้นว่าคืออะไร มีสารอะไร และมีวิธีการ
แก้ไขอย่างไร
6

สิ่ งปนเปื้ อนในน้ าดื่ม คืออะไร

สิ่งปนเปื้ อนในน้ำดื่ม หรื อสารปนเปื้ อนที่อยูใ่ นน้ าดื่ม คือ น้ าที่มีปริ มาณการเจือปนของสารที่เป็ นอันตรายต่อ
ร่ างกายอยูใ่ นน้ าดื่ม จนทาให้ไม่สามารถนาไปใช้ดื่มได้อย่างไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพร่ างกาย ควรนาไป
ผ่านกระบวนกำรกรองน้ำบาบัดเพื่อเพิ่มคุณภาพของน้ า ให้สามารถนาไปใช้ดื่มได้อย่างไม่ส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพร่ างกาย

สารปนเปื้ อนที่อนั ตรายในน้ าดื่ม มีอะไรบ้าง

สาหรับสารปนเปื้ อนหรื อสารอันตรายที่ผสมอยูใ่ นน้ าดื่ม เป็ นสารที่มีอยูห่ ลากหลายชนิดเป็ นอย่างมาก


สาหรับ ทาให้มีการแบ่งประเภทของสารปนเปื้ อนในน้ าดื่มออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้

สารปนเปื้ อนในรู ปแบบโลหะหนัก

• เหล็ก ทาให้การย่อยอาหารมีประสิ ทธิภาพลดลง ตับเสื่ อม เลือดแข็งตัวช้า


• ปรอท อาจทาให้ร่างกายมีอาการปวดท้อง ท้องเสี ย มองเห็นไม่ชดั รวมถึงระบบประสาทผิดปกติ
และความจาเสื่ อม
• แมงกำนีส ส่งผลให้รู้สึกอ่อนเพลีย ปวดหัว เยือ่ บุในระบบทางเดินอาหารอักเสบและรุ่ นแรงถึงเป็ น
อัมพาตได้
• ทองแดง ทาให้เกิดการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย อาเจียน และเม็ดเลือดแดงเกิดการแตกตัว

สำรปนเปื้ อนในรู ปแบบเชื่ อโรค

• อีโคไล เป็ นแบคทีเรี ยที่พบในลาไส้ของคนและสัตว์ ปกติแล้วจะไม่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายเมื่อ


ได้รับในปริ มาณที่พอดี
• โคลิฟอร์ แบคทีเรีย เป็ นกลุ่มแบคทีเรี ยที่สามารถโตได้ที่ที่มีอากาศและไม่มีอากาศ หากได้รับโคลิ
ฟอร์มแบคทีเรี ยมากเกินไปก็อาจทาให้มีอาการคล้ายกับไข้หวัดใหญ่ได้
7
วิธีกำรแก้ หำกมีสิ่งปนเปื้ อนในน้ำดื่ม ทำอย่ำงไร
1.เลือกใช้เครื่ องกรองน้ าดื่ม

โดยเลือกเครื่ องกรองน้ าที่มีไส้กรองหลายชั้น จะได้สามารถกาจัดสิ่ งปกติที่เจือปนมากับน้ าได้อย่างหมดจด

2.พิจารณาสภาพน้ าดิบ

เนื่องจากในน้ าประปาหรื อน้ าบาดาล จะมีปริ มาณของสารปนเปื้ อนที่แตกต่างกันออกไป การใช้


กระบวนกำรRo จึงมีความแตกต่างกันเล็กน้อย อีกทั้งการพิจารณาสภาพน้ าดิบ ก็ยงั เป็ นวิธีการช่วยเลือก
เครื่ องกรองน้ ากระบวนการ Reverseosmosis ได้อย่างเหมาะสม

3.เลือกไส้กรอง

เพราะไส้กรองในปั จจุบนั นี้มีความแตกต่างกันออกไป ทาให้คุณสมบัติในการนาไปใช้งานแตกต่างกัน


นัน่ เอง

4.เลือกขนาดเครื่ องกรองน้ า

การเลือกขนาดของเครื่ องกรองน้ า ควรเลือกให้เหมาะสมกับปริ มาณในการใช้น้ าและจานวนสมาชิกภายใน


ครอบครัว เพื่อทาให้ไม่เปลืองน้ าและเครื่ องไม่ทางานหนักโดยเปล่าประโยชน์

5.เลือกเครื่ องกรองน้ าที่มีมาตรฐาน

เพราะในปัจจุบนั นี้มีเครื่ องกรองน้ าหลากหลายรู ปแบบ ควรเลือกที่ได้รับความมาตรฐาน ไม่วา่ จะเป็ น ISO


9001, Water Quality Association หรื อ NFS
8

ขั้นตอนกำรผลิตน้ำประปำ (โดยกำรประปำส่ วนภูมิภำค)

"ขั้นตอนการผลิตน้ า" น้ าประปา เป็ นน้ าที่ผา่ นขบวนการต่างๆ มากมายกว่าจะเป็ นน้ าประปาให้บริ การแก่
ประชาชนได้น้ นั มีข้นั ตอนการผลิตหลายชั้นตอน และต้องมีการลงทุนที่สูงมาก ดังขบวนการผลิตต่อไปนี้

1. การสู บน้ า การผลิตน้ าประปา เริ่ มจาก "โรงสู บน้ าแรงต่า" ทาการสู บน้ าดิบจากแหล่งน้ าธรรมชาติ
เพื่อลาเลียงเข้าสู่ระบบผลิต ซึ่ งน้ าดิบที่สามารถนามาผลิตน้ าประปาได้น้ นั ต้องเป็ นน้ าที่ไม่มีสี ไม่มี
กลิ่น ไม่มีรส ไม่มีสิ่งสกปรกโสโครกปนเปื้ อนเกินกว่าที่กาหนด ซึ่งได้ผา่ นการวิเคราะห์ตรวจสอบ
จากนักวิทยาศาสตร์แล้วว่าสามารถนามาใช้ผลิตเป็ นน้ าประปาได้ และต้องมีปริ มาณมากเพียง
พอที่จะนามาผลิตน้ าประปาได้อย่างต่อเนื่ อง
2. การปรับปรุ งคุณภาพน้ าดิบ น้ าดิบที่สูบเข้ามาแล้ว จะถูกผสมด้วยสารเคมี เช่น สารส้มและปูนขาว
เพื่อทาการปรับปรุ งคุณภาพน้ าดิบ สารละลายสารส้มจะช่วยให้มีการตกตะกอนได้ดียงิ่ ขึ้น และ
สารละลายปูนขาวจะช่วยยับยั้งการเจริ ญเติบโตของตะไคร่ น้ าหรื อสาหร่ ายในน้ า หรื อบางครั้งจะมี
การเติมคลอรี น เพื่อทาการฆ่าเชื้อโรคที่อาจปะปนมากับน้ าในชั้นต้นนี้ก่อน
3. การตกตะกอน ขั้นตอนนี้จะปล่อยน้ าที่ผสมสารส้มและปูนขาวแล้ว ที่ทาให้เกิดการหมุนวนเวียน
เพื่อให้น้ ากับสารเคมีรวมตัวกันจะช่วยให้มีการจับตัวของตะกอนได้ดียงิ่ ขึ้น และจะนาน้ าเหล่านั้น
ให้เข้าสู่ถงั ตะกอนที่มีขนาดใหญ่ เพื่อทาให้เกิดน้ านิ่ง ตะกอนที่มีขนาดใหญ่น้ าหนักมาก จะตกลงสู่
ก้นถัง และถูกดูดทิง้ น้ าใสด้านบนจะไหลตามรางรับน้ าเข้าสู่ ข้นั ตอนต่อไป
4. การกรอง ในการกรองจะใช้ทรายหยาบและทรายละเอียดเพื่อการกรองตะกอนขนาดเล็กมากในน้ า
และให้มีความใสสะอาดมากขึ้น ซึ่งในขั้นตอนนี้ น้ าที่ผา่ นการกรองจะมีความใสมากแต่จะมีความ
ขุ่นหลงเหลืออยูป่ ระมาณ 0.2-2.0 หน่วยความขุ่น และทรายกรองจะมีการล้างทาความสะอาดอย่าง
สม่าเสมอเพื่อให้การกรองมีประสิ ทธิภาพ
5. การฆ่าเชื้อโรค น้ าที่ผา่ นการกรองมาแล้วจะมีความใส แต่อาจจะมีเชื้อโรคเจือปนมากับน้ า ฉะนั้นจึง
จะต้องทาการฆ่าเชื้อโรค โดยใช้ คลอรี น ซึ่งคลอรี นนี้สามารถฆ่าเชื้อโรคได้เป็ นอย่างดี น้ าที่ได้รับ
การผสมคลอรี นแล้ว เรี ยกกันว่า "น้ าประปา" สามารถนามาใช้เพื่อการอุปโภคบริ โภคได้ และจะทา
การจัดเก็บไว้ในถังขนาดใหญ่ เรี ยกว่า ถังน้ าใส เพื่อจัดการบริ การต่อไป
6. การควบคุมคุณภาพน้ าประปา ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนที่สาคัญ เพราะน้ าประปาที่ทาการผลิตมาแล้ว
นั้น จะต้องวิเคราะห์ตรวจสอบอีกครั้งจากนักวิทยาศาสตร์ และการตรวจสอบนี้ จะดาเนิ นการอย่าง
สม่าเสมอ เพื่อให้ได้น้ าประปาที่สะอาด ปลอดภัย สาหรับการอุปโภคบริ โภค
7. การสู บจ่าย น้ าประปาที่ผลิตมาแล้วนั้น จะต้องให้บริ การถึงบ้านเรื อนของผูใ้ ช้น้ าโดยส่ งผ่านไปตาม
เส้นท่อ ดังนั้นการสู บจ่ายจึงมีความจาเป็ น ด้วยการส่ งจากหอถังสู งที่สามารถบริ การได้ในพื้นที่
9

ใกล้เคียง และในพื้นที่ที่ไกลออกไปหรื อมีความสู งมากจาเป็ นต้องใช้เครื่ องอัดแรงดันน้ า เพื่อให้


น้ าประปาสามารถบริ การได้อย่างทัว่ ถึง
10

ภำคผนวก
https://mitrwater.com/tap-water-production-process-2/
https://www.welkinchemi.com/

You might also like