You are on page 1of 22

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข a
แนวทางการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ที่ปรึกษา
๑. นายธีรพงศ์ ตุนาค ผู้อ�ำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข
๒. ผศ.ดร.สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

คณะผู้จัดท�ำ
คณะกรรมการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับหน่วยสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้จัดพิมพ์และเรียบเรียง
๑. นางสาวชุตินาถ ทัศจันทร์ นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ
๒. นางสาววิระวรรณ เมืองประทับ นักวิชาการสาธารณสุข
๓. นางสาวพิมพา พระสว่าง นักวิชาการสาธารณสุข
๔. นางสาวศุภษร วิกล วิศวกรสิ่งแวดล้อม
๕. นายวิชนันท์ ทัศจันทร์ วิศวกรพลังงาน

จัดพิมพ์และแผยแพร่โดย
กองบริหารการสาธารณสุข ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐

สถานที่พิมพ์
บริษัท บอร์น ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ำกัด
๕๓/๑ หมู่ ๗ ถนนสวนหลวงร่วมใจ ต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอกระทุ่มแบน
จังหวัดสมุทรสาคร ๗๔๑๑๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๑๓ ๗๓๗๘ โทรสาร ๐ ๒๘๑๓ ๗๓๗๘
ค�ำน�ำ
จากการปฏิรูประบบราชการในปี ๒๕๔๕ ส่งผลให้กระทรวงสาธารณสุขขาดหน่วยงาน
ในการส�ำรวจและออกแบบระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และจากผลการตรวจสอบการด�ำเนินการระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสียของส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ระบุถึงปัญหาการด�ำเนิน
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารจัดการของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เช่น การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ระเบียบ และคูม่ อื ทีก่ ำ� หนดไว้, การขาดหน่วยงานทีป่ รึกษาด้านวิชาการของส่วนกลาง, เจ้าหน้าที่
ขาดทักษะในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้โรงพยาบาลชุมชนมากกว่าร้อยละ ๕๐ ปล่อยน�้ำเสีย
ลงแหล่งน�้ำสาธารณะ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพและอนามัยแก่ประชาชน ทั้งนี้ระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลส่วนใหญ่ก่อสร้างมาพร้อมๆกับการก่อตั้งโรงพยาบาล มีการช�ำรุด
ไปตามอายุการใช้งาน น�้ำเสียที่เข้าระบบมีปริมาณเกินความสามารถในการรองรับน�้ำเสีย
(Over Load) นอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังคือกลุ่มที่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียมีแนวโน้มจะมี
ปริมาณน�ำ้ เสียเกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย (Trend to Over load)
น�ำไปสู่ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแก้ไขปัญหาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในหน่วยงานสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๕ ที่ คณะรัฐมนตรีมมี ติรบั ทราบเมือ่ วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙
และยังประสบปัญหาในการขับเคลื่อนให้บรรลุตามเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ เนื่องจาก
ขาดแบบแปลนระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพพื้ น ที่ ข องโรงพยาบาล อั น เป็ น
องค์ประกอบที่ส�ำคัญในการขอสนับสนุนงบประมาณ ส่งผลให้โรงพยาบาลต้องท�ำการจ้าง
สถาบันการศึกษา/เอกชนในการเขียนแบบระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโดยใช้งบประมาณในการเขียนแบบ
ค่อนข้างสูง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดท�ำ แบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัด
น�ำ้ เสียส�ำหรับโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็กสามารถรองรับน�ำ้ เสียขนาด ๓๐-๙๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน
เพื่อให้โรงพยาบาลน�ำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ กองบริหารการสาธารณสุข
จึงได้จัดท�ำแนวทางการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยบริหารและหน่วยบริการภายใต้ส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้น�ำไปใช้เกิดประโยชน์สูงสุด

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ก
สารบัญ
แนวทางการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ๑
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๑. แบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับโรงพยาบาลชุมชน ๒
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒. แนวทางการขอรับแบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ๒
ส�ำหรับโรงพยาบาลชุมชน
๓. กระบวนการขอตั้งงบประมาณ ๔

ภาคผนวกที่ ๑ ๗
ค�ำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ ๑๒๙๑/๒๕๖๒ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการ
พัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับหน่วยสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ภาคผนวกที่ ๒ ๑๑
รายการตรวจสอบเบื้องต้น (Checklist) แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของหน่วยบริการ

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข
แนวทางการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ปั ญ หาน�้ ำ เสี ย เป็ น ปั ญ หาที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพและสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ส� ำ คั ญ


หากการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียไม่มีประสิทธิภาพจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมการเปิด
ให้บริการรักษาพยาบาล ทัง้ การบริการผูป้ ว่ ยนอก การผ่าตัด และการบริการผูป้ ว่ ยใน ตลอดจน
กิจกรรมอืน่ ๆ ประกอบกับน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลมีคณ ุ ลักษณะจ�ำเพาะแตกต่างจากน�ำ้ เสียชุมชน
หรื อ น�้ ำ เสี ย จากสถานประกอบการอื่ น ๆ โดยมี ทั้ ง น�้ำ เสี ย ที่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมการด� ำรงชี วิ ต
และน�้ำเสียจากผู้ป่วยที่มีจุลินทรีย์และแบคทีเรียที่อาจท�ำให้เกิดโรคได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบ
ต่อสุขภาพของประชาชนทัง้ ความเจ็บป่วยทางกายและสุขภาพจิตจากการสัมผัสกลิน่ หรือละออง
น�้ำเสีย และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดจนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน�้ำได้
ปัจจุบันการเพิ่มศักยภาพในการให้บริการของโรงพยาบาล และการปรับเพิ่มจ�ำนวนเตียง
ในการรองรับผูป้ ว่ ย ส่งผลให้เกิดปริมาณน�ำ้ เสียและสิง่ ปฎิกลู เพิม่ มากขึน้ ทัง้ นีร้ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ของโรงพยาบาลส่วนใหญ่ก่อสร้างมาพร้อมๆกับการก่อตั้งโรงพยาบาล มีการช�ำรุดไปตามอายุ
การใช้งาน น�้ำเสียที่เข้าระบบมีปริมาณเกินความสามารถในการรองรับน�้ำเสีย (Over Load)
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังคือกลุ่มที่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีแนวโน้มจะมีปริมาณน�้ำเสีย
เกินขีดความสามารถในการรองรับของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย (Trend to Over load) น�ำไปสู่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแก้ไขปัญหาระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๕ ที่ คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙ และ
ยังประสบปัญหาในการขับเคลื่อนให้บรรลุตามเป้าหมายเนื่องจากขาดแบบแปลนระบบบ�ำบัด
น�้ำเสียอันเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการขอสนับสนุนงบประมาณ
จากการปฏิรูประบบราชการในปี ๒๕๔๕ ส่งผลให้กระทรวงสาธารณสุขขาดหน่วยงาน
ในการส�ำรวจและออกแบบระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย โรงพยาบาลจึงต้องท�ำการจ้างสถาบันการศึกษา/
เอกชนในการเขียนแบบแปลนระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโดยใช้งบประมาณในการเขียนแบบค่อนข้างสูง
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดท�ำแบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับ
โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็กสามารถรองรับน�้ำเสียขนาด ๓๐ - ๙๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน เพื่อให้
โรงพยาบาลน�ำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1
๑. แบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับโรงพยาบาลชุมชน
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระยะที่ 1 ประกอบด้วย
ประเภท ขนาด เลขที่แบบแปลน
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเอเอส ขนาด ๓๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-AS๓๐
แบบผสมสมบูรณ์ ขนาด ๖๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-AS๖๐
(Activated Sludge : AS) ขนาด ๙๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-AS๙๐
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเอเอส ขนาด ๓๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-AL๓๐ (HDPE)
แบบสระเติมอากาศ สป.สธ.-AL๓๐ (CONCRETE)
(Aerated Lagoon : AL) ขนาด ๖๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-AL๖๐ (HDPE)
สป.สธ.- AL๖๐ (CONCRETE)
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเอเอส ขนาด ๖๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-OD๖๐
แบบคูวนเวียน ขนาด ๙๐ ลูกบาศก์เมตร/วัน สป.สธ.-OD๙๐
(Oxidation Ditch: OD)

๒. แนวทางการขอรับแบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับ
โรงพยาบาลชุมชน
๒.๑ ก่อนการขอรับสนับสนุนแบบแปลนมาตรฐาน
โรงพยาบาลจะต้ อ งได้ รั บ การตรวจประเมิ น และวิ เ คราะห์ ร ะบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย
จากผูเ้ ชีย่ วชาญของกระทรวงสาธารณสุข และมีรายงานผลการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจและวิเคราะห์ปญ ั หา
ของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ในกรณีโรงพยาบาลยังไม่ได้ตรวจประเมินและไม่มรี ายงานผลการลงพืน้ ที่
ส� ำ รวจและวิ เ คราะห์ ป ั ญ หาของระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย เดิ ม สามารถขอรั บ การตรวจประเมิ น
โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ (วิศวกรสิง่ แวดล้อม จากส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานจาก
กองบริหารการสาธารณสุข หรือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ)๑/ เพือ่ พิจารณาขนาดและประเภท
ของระบบที่เหมาะสมกับโรงพยาบาล
๒.๒ การยื่นขอแบบรับสนับสนุนแปลนมาตรฐาน
จัดท�ำหนังสือขอรับแบบแปลนมาตรฐานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับโรงพยาบาล
ชุมชน มายังกองบริหารการสาธารณสุข พร้อมทัง้ แนบรายงานผลการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจและวิเคราะห์
ปัญหาของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
๒.๓ การใช้แบบแปลนมาตรฐาน
โรงพยาบาลจะต้องด�ำเนินการปรับแบบให้เหมาะสมกับบริบทกับพื้นที่ควบคู่ไปกับ
การด�ำเนินการดังนี้
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
2 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๑. โรงพยาบาลจะต้องส�ำรวจและออกแบบระบบเส้นท่อโดยหน่วยงานภาครัฐ
(กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) หรือเอกชนที่มีภารกิจ
และมีความเชี่ยวชาญกรณีจ้างหน่วยงานเอกชนให้ท�ำหนังสือสอบถามหน่วยงานราชการ
ที่ มี ภ ารกิ จ ออกแบบก่ อ นด� ำ เนิ น การ (กรมโยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ งจั ง หวั ด กรมศิ ล ปากร
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) และต้องมีหนังสือตอบรับกลับว่าไม่สามารถออกแบบได้๒/
โรงพยาบาลจึงท�ำการจ้างหน่วยงานเอกชน โดยให้ด�ำเนินการจ้างฯ ออกแบบตามระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ กระบวนการ
จ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
๒. แบบแปลนระบบท่ อ จะต้ อ งระบุ ต� ำ แหน่ ง ของจุ ด ที่ จ ะท� ำ การเชื่ อ มต่ อ กั บ
แบบแปลนมาตรฐานให้ชดั เจน พร้อมเอกสารบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง (BOQ)
และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๓. กรณีที่แบบแปลนมาตรฐานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียไม่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่
โรงพยาบาล
- ให้ปรับแบบแปลนมาตรฐาน รายการค�ำนวณและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
เอกสารบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง (BOQ) โดยวิศวกรสิง่ แวดล้อม วิศวกรโยธา
และวิชาชีพอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้อง ให้สอดคล้องกับบริบทของพืน้ ทีโ่ รงพยาบาล และลงลายมือชือ่ รับรอง
การออกแบบโดยวิศวกรตามสาขาที่เกี่ยวข้อง พร้อมแนบใบประกอบวิชาชีพ
- กรณีพื้นที่เกาะ พื้นที่บนดอย พื้นที่บนภูเขา เป็นต้น จะต้องมีการปรับบัญชี
แสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง (BOQ) โดยการประเมินค่าการขนส่งค่าวัสดุก่อสร้าง
หรือค่าใช้จ่ายอื่นที่จ�ำเป็นต้องมี ตามข้อเท็จจริงหรือใช้อัตราตามตารางค่าขนส่งวัสดุก่อสร้าง
เป็นรายละเอียดแนบท้าย
๒.๔ การพิจารณาความเหมาะสมของแบบแปลน
เมือ่ โรงพยาบาลท�ำการปรับแบบแปลนมาตรฐาน และระบบเส้นท่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ให้จัดเตรียมเอกสารตามรายการตรวจสอบเบื้องต้น (Checklist) ส�ำเนาแบบแปลนระบบ
บ�ำบัดน�ำ้ เสีย เอกสารบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง (BOQ) และรายการค�ำนวณอืน่
ที่เกี่ยวข้องมายังกองบริหารการสาธารณสุข เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์
ดังนี้
๑. คณะกรรมการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับหน่วยงานสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข พิจารณาความเหมาะสมของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม รวมถึง
ความพร้อมของพื้นที่
๒. กองแบบแผนพิจารณาและตรวจสอบแบบแปลนโครงสร้าง ระบบท่อ และระบบอืน่ ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3
๓. กระบวนการขอตั้งงบประมาณ
ด� ำ เนิ น การขอรั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณตามกระบวนการจั ด ท� ำ ค� ำ ของบลงทุ น
ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างและขอบข่ายระยะเวลาที่ก�ำหนดในปีงบประมาณ

รายการสิ่งก่อสร้าง
๓.๑ มีความพร้อมด้านสถานที่ กรรมสิทธิ์ที่ดินที่จะสร้าง รวมถึงการประเมินผลกระทบ
ที่เกี่ยวข้อง
๓.๒ มีความพร้อมของแบบแปลนระบบ
แบบแปลนระบบของเอกชน/หน่วยงานอื่นต้องแนบเอกสารดังกล่าวให้ครบถ้วน
ทันเวลา ประกอบด้วยเอกสารบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง (BOQ) เป็นไปตาม
กรมบัญชีกลางและกระทรวงพาณิชย์ที่เป็นปัจจุบัน และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
๓.๓ แนบโครงการ ชี้แจงเหตุผลความจ�ำเป็น (กรณีสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาคารทุกหลัง)
ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ หรือแผนการทดแทน โดยต้องแสดงถึงสภาพ
การใช้งานของสิ่งก่อสร้างเดิม ระบุวัตถุประสงค์เพื่อทดแทน หรือก่อสร้างใหม่ (ทุกรายการ)
จ�ำนวนผูม้ ารับบริการ อัตราการครองเตียง ตลอดจนคาดการณ์ผใู้ ช้งาน/ผูร้ บั บริการ ความคุม้ ค่า
หรือประโยชน์ที่ได้รับ ความจ�ำเป็นที่จะต้องก่อสร้างใหม่ เช่น ยังไม่เคยมี, ระบบเดิมมีอายุ
การใช้งาน (จ�ำนวน) ปี, ระบบช�ำรุด(ส่วนทีช่ ำ� รุดอะไรบ้าง),ทดแทนของเดิม, ขนาดระบบไม่เหมาะสม
กับปริมาณน�้ำเสียที่เกิดขึ้น เดิมระบบรองรับได้กี่ลูกบาศก์เมตร/วัน ปริมาณน�้ำเสียปัจจุบัน
กี่ลูกบาศก์เมตร/วัน เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพหรือลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อประชาชน
ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
๓.๔ แนบรายงานรายงานผลการลงพื้นที่ส�ำรวจและวิเคราะห์ปัญหาของระบบบ�ำบัด
น�้ำเสีย จากผู้เชี่ยวชาญ
ขั้นตอนการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ดังรูปที่ ๓-๑

หมายเหตุ : ๑/ การขอรับการตรวจประเมินและวิเคราะห์ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลจาก
ทีมผู้เชี่ยวชาญของกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลหรือส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถท�ำหนังสือ
เพื่อขอรับการตรวจประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ โดยการท�ำหนังสือยื่นมายังกองบริหารการสาธารณสุขหรือ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
๒/ การขอรับความอนุเคราะห์จากหน่วยงานราชการที่มีภารกิจออกแบบ โรงพยาบาล
ที่ขอความอนุเคราะห์ให้ระบุวันที่ชัดเจนในการตอบกลับหนังสือ เช่น ภายในระยะเวลา ๓ เดือน เป็นต้น
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
4 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาล/หน่วยงานประเมินปัญหา
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเบื้องต้น

ประเมินวิเคราะห์ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย กองบริหารการสาธารณสุข
จากผู้เชี่ยวชาญกระทรวงสาธารณสุข หรือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ขอสนับสนุน กองบริหารการสาธารณสุข
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แบบเอกชน
แบบมาตรฐาน

น�ำแบบมาตรฐานไปปรับ ส�ำรวจแนวท่อโดย เอกชนส�ำรวจพื้นที่


ให้เหมาะสมกับพื้นที่ ๑. ภาครัฐ : กรมสนับสนุน พร้อมท�ำการออกแบบ
บริการสุขภาพ/กรมโยธาธิการ
พร้อมส�ำรวจและออกแบบ และผังเมืองจังหวัด/ท้องถิ่น
แปลนระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
แนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย ๒. ภาคเอกชน พร้อมแนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย

จัดเตรียมเอกสารตามรายการตรวจสอบเบื้องต้น
(Checklist) แล้วท�ำการจัดส่งมายัง
กองบริหารการสาธารณสุข

พิจารณาความเหมาะสมของแบบแปลนระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
๑. คณะกรรมการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียฯ
พิจารณาความเหมาะสมของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและ
ความพร้อมของพื้นที่
๒. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
พิจารณาและตรวจสอบแบบแปลนโครงสร้าง ระบบท่อ และระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ไม่ผ่าน ผ่าน
ปรับปรุง/แก้ไข เข้าสู่กระบวนการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

รูปที่ ๓-๑ ขั้นตอนการของบประมาณระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย


โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 5
ภาคผนวกที่ ๑
ค�ำสั่งกระทรวงสาธารณสุขที่ ๑๒๙๑/๒๕๖๒
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ส�ำหรับหน่วยสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
8 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 9
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
10 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภาคผนวกที่ ๒
รายการตรวจสอบเบื้องต้น (Checklist)
แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของหน่วยบริการ
รายการตรวจสอบเบื้องต้น (Checklist)
แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของหน่วยบริการ

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
โรงพยาบาล……………………………………………...............................………………………
ทีต่ งั้ …………………………………………………………............................……………………
ระดับ (Service Plan)………………………………....................................……….…………….
จ�ำนวนเตียง……………………....................…………………………..……..…………… เตียง
(กรณีมีการขยายตัวจ�ำนวน………………………..........................………...…………… เตียง)
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย (ปัจจุบนั ) ประเภท ……………….....…….........................…………………
อัตราการเกิดน�ำ้ เสีย……………………………….....................……………...ลูกบาศก์เมตร/วัน
ชื่อผู้ประสานงาน ...................................................... โทรศัพท์ ............................................

ส่วนที่ ๒ รายการตรวจสอบเบือ้ งต้น (Checklist) แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย


สถานะการตรวจสอบ
ล�ำดับ รายการ ยัง ได้รับ แก้ไขเพิ่มเติม
ไม่ได้รับ แล้ว (กรณีได้รับ)
๑. เอกสารโครงการ
ส� ำ เนารายงานสรุ ป ผลการลงพื้ น ที่ ส� ำ รวจ
โดยผู้เชี่ยวชาญของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ ชีแ้ จงความจ�ำเป็น/วัตถุประสงค์ และอืน่ ๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องตามแนวทางการของบประมาณระบบ
บ�ำบัดน�ำ้ เสียโดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒. ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย
๒.๑ กรณีใช้ระบบท่อเดิม
แบบแปลนระบบเส้นท่อเดิม แสดงจุดทีจ่ ะท�ำการ
เชื่อมต่อ
๒.๑ กรณีใช้ออกแบบแนวท่อใหม่
แบบส�ำรวจพื้นที่ (Survey)

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
12 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ส่วนที่ ๒ รายการตรวจสอบเบือ้ งต้น (Checklist) แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
สถานะการตรวจสอบ
ล�ำดับ รายการ ยัง ได้รับ แก้ไขเพิ่มเติม
ไม่ได้รับ แล้ว (กรณีได้รับ)
แบบแปลนส�ำรวจระบบเส้นท่อ (Mater plan)
- แสดงความลาดชันของพื้นที่
- แสดงระยะต่างๆ ของบ่อพัก
- แสดงความยาวของเส้นท่อ
บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง
(BOQ) ของระบบเส้นท่อ
รายการแสดงงวดงาน งวดเงิน ของระบบเส้นท่อ
แบบขยายระบบ
- แบบขยายเส้นท่อ แสดงขนาดของเส้นท่อ
- แบบขยายพักน�้ำ (Manhole)
ใบประกอบวิ ช าชี พ ของผู ้ ที่ ท� ำ การออกแบบ
พร้อมกับรับรองลายมือชื่อครบถ้วน
- วิศวกรสิ่งแวดล้อม
- วิศวกรโยธา
- วิศวกรเครื่องกลหรือวิศวกรไฟฟ้า
๓. แบบแปลนระบบ (กรณีที่โรงพยาบาลท�ำการออกแบบ)
งานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ผังบริเวณแสดงระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย (Master Plan)
ประกอบด้วย
- แนวเส้นท่อ
- รายละเอียดของระบบ
ไดอะแกรมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย (Flow Diagrams)
ภาพตัดชลศาสตร์ (Hydraulic Profile)

แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 13
ส่วนที่ ๒ รายการตรวจสอบเบือ้ งต้น (Checklist) แบบแปลนระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
สถานะการตรวจสอบ
ล�ำดับ รายการ ยัง ได้รับ แก้ไขเพิ่มเติม
ไม่ได้รับ แล้ว (กรณีได้รับ)
แบบขยายของระบบ ประกอบด้วย
- แบบขยายบ่อสูบ และขนาดของปั๊ม
- แบบขยายบ่อเติมอากาศ
- แบบขยายบ่อตกตะกอน
- แบบขยายบ่อฆ่าเชื้อโรค
และแบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
รายการค�ำนวณระบบสุขาภิบาล
- เกณฑ์การออกแบบ
- รายการค�ำนวณ
งานวิศวกรรมไฟฟ้า/เครื่องกล
- แบบแปลนแสดงระบบไฟฟ้า
- แบบแสดงเส้นวงจรไฟฟ้า
(SINGER LINE DIAGRAM)
- แบบขยายระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ เช่น ตูค้ วบคุม
งานวิศวกรรมโยธา
- รายการค�ำนวณด้านวิศวกรรมโยธา
- แบบแปลนโครงสร้าง
- รูปด้าน รูปตัด
- แบบขยายฐานราก
เอกสารอื่นๆ
บัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคาค่าก่อสร้าง
(BOQ) ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
รายการงวดงาน งวดเงิน ของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม
ช่วงระยะก่อสร้างและระยะด�ำเนินการ
คู่มือส�ำหรับการเดินระบบ (Start up)
หมายเหตุ : แบบแปลนและรายการค�ำนวณ จะต้องมีการลงรับลายมือชื่อทุกแผ่น
แนวทางการของบประมาณ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
14 โดยใช้แบบมาตรฐานของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

You might also like