You are on page 1of 80

ระบบบำบัดมลพิษอากาศและ

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ดร.ศิรกาญจน์ เหลืองสกุล
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
หลักเกณฑ์ตามกฎหมาย
1. การบ่งชี้แหล่งกำเนิดมลพิษอากาศ
2. ลักษณะมลพิษทางอากาศ
3. ระบบบำบัดมลพิษอากาศ
4. ค่ามาตรฐานมลพิษอากาศ
5. การตรวจสอบ ตรวจวัด
6. การจัดทำรายงาน
7. บทลงโทษ

2
1. การบ่งชี้แหล่งกำเนิดมลพิษอากาศ
 นิยาม ?
มลพิษอากาศ หมายถึง การทีอ่ ากาศมีสารมลพิษเจือปนอยู่ใน
ปริมาณมากพอและนานพอทีจ่ ะทำให้ เกิดอันตรายต่ อสุ ขภาพอนามัย
ของมนุษย์ พืช สั ตว์ สิ่ งของ เช่ น เช่ น ฝุ่ น ควัน ไอเสี ย ก๊ าซพิษ
 แหล่ งกำเนิด ?

 ขั้นตอนการผลิตต่ างๆ
 การเผาไหม้ เชื้อเพลิงของเครื่องจักร
 ถังเก็บสารเคมีฯลฯ
3
2. ลักษณะมลพิษทางอากาศ

ก๊าซ ค่าความ ระดับ แสง/กลิ่


พิษ/ไอ ทึบ เสี ยง น
พิษ แสง/ฝุ่ น รบกวน
ควัน
4
แหล่งกำเนิดกลิ่น
 การรั่วระเหยจากอุปกรณ์

 จากถังเก็บสารเคมี
 จากระบบการขนถ่าย

 จากการเผาไหม้
 จากปล่องเผาทิ้งหรื อแฟลร์
 ระบบบำบัดน้ำเสี ย

 จากเหตุการณ์ไม่คาดหมาย หรื ออุบต


ั ิเหตุ

5
ลักษณะการปลดปล่อย

Accident/uncontrol
stack

Fugitive/area mobile

6
3. ระบบบำบัดมลพิษอากาศ

• ติดตั้งระบบ CEMS
(ถ้าเข้าข่าย)
• วัดปริ มาณมลสารที่ระบาย
• วัดประสิ ทธิภาพระบบ
• บันทึกปริ มาณการใช้สาร
เคมี (หากใช้)
• บันทึกปริ มาณการใช้ไฟฟ้ า
• ห้ามใช้วธิ ีการเจือจาง

7
องค์ประกอบของระบบบำบัดอากาศ
 ช่องดูดอากาศ (hood)
 ท่อนำอากาศ (duck works)

 อุปกรณ์กำจัดมลพิษ

 พัดลมดูดอากาศ (fan/blower)

8
เปลี่ยนสถานะ/เปลี่ยนรู ปของมลพิษ

Phase กรอง ของเสี ย – ฝุ่ น, ถุงกรอง


Transfer
ดูดซับ (adsorb) ของเสี ย - ถ่านกัมมันต์
มลพิษอากาศ
ดูดซึม (absorb) น้ำเสี ย, กากตะกอน

เผา อากาศเสี ย
9
จุดสังเกตุการทำงานของระบบบำบัดมลพิษ
หลักการหอดูดซึม
Packed Tower /
Wet Scrubber

การสเปรย์น ้ำ
ระดับของมีเดีย

รอยต่อรั่วไหม
สังเกตุดูระดับน้ำ
และความสกปรก 10
Cross-flow
scrubber

ละอองน้ำหลุดออกมาไหม
ควันหรื อฝุ่ นออกที่ปลาย
ปล่อง
มีจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ตรวจสอบการเติมสารเคมี

พัดลม และปั๊มน้ำอยูใ่ น
สภาพที่ใช้งานได้ และถูก
ใช้งานเป็ นประจำ

11
Multi-cyclone
ท่อผุกร่อน

ท่อลำเลียงฝุน่
มัลติไซโคลนอยูใ่ น ฝุน่ หลุด
สังเกตุดวู า่ มีหกรัวไหล
่ หรือ
housing เดียวกัน ออกมา
ทีก่ กั เก็บเต็มหรือเปล่า

เครือ่ งดูดฝุน่ สมัยใหม่ใช้หลักการไซโคลนเพือ่ เก็บฝุน่


12
หลักการและส่ วนประกอบของไซโคลน

13
หลักการและส่ วนประกอบของถุงกรอง

14
จุดสังเกตุของระบบกำจัดฝุ่ น
จุดระบายอากาศ

จุดรวบรวมฝุ่ น
15
การรวบรวมอากาศเสี ยและระบบท่อนำอากาศ

16
Hoods

17
4. ค่ามาตรฐานมลพิษอากาศ
 ค่ามาตรฐานการระบายอากาศเสี ยจากปลายปล่ อง
กฎหมายโรงงาน
– ค่ามาตรฐานทัว่ ไป จากปล่องระบายอากาศเสี ย
– ค่ามาตรฐานเฉพาะประเภทอุตสาหกรรม
– ค่ามาตรฐานตามประเภทเชื้อเพลิงที่ใช้
– ค่ามาตรฐานเฉพาะรายโรงงาน EIA / เงื่อนไขการประกอบกิจการ
 ค่ามาตรฐานภายในบริ เวณพืน
้ ทีป่ ฏิบัตงิ าน กฎหมายแรงงาน
 ค่ามาตรฐานบรรยากาศ
โรงงานต้องปฏิบตั ิเป็ นไปตาม
กฎหมายสิ่ งแวดล้อม ทุกกฎหมายกำหนด
18
Air Quality Standard

Factory Act sets


Clean Air Act sets
Emission Standard
Ambient Standard
•TPM
• PM10/2.5
•NOx
• NOx
•SOx
• SOx
•CO
• CO
•H2S
• VOCs
•Pb
• O3
•Hg
• Pb
•Opacity

19
การกำหนดค่ามาตรฐานอากาศ
 ค่ามาตรฐานปลายปล่อง กำหนดเป็ นค่าความเข้มข้น, C (mass/volume)

 ค่าการปลดปล่อย เป็ นอัตราการระบาย,


C (mass/volume) x Q (volume/time) = m (mass/time)
 ค่าการปลดปล่อย ตามแนวปฏิบต ั ิที่ดี, (mass/production)

20
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมโรงงาน ●


ออกกฎหมายกำกับดูแลโรงงาน
ส่งเสริมโรงงานผ่านโครงการต่างๆ
อุตสาหกรรม ●
กำกับดูแลโรงงานในเขตกรุงเทพฯ พ.ร.บ.โรง
งาน
สำนักงานอุตสาหกรรม ●
ฝา่ ยโรงงาน กำกับดูแลโรงงานทีต่ งั อยูภ่ ายในจังหวัด
จังหวัด ●
ดำเนินตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม

การนิคมอุตสาหกรรม ●


พัฒนาพืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรม
ตรวจติดตามมลพิษในพืน้ ทีใ่ ห้เป็ นไปตามมาตรฐาน
แห่ งประเทศไทย ●
ช่วยเหลือการดำเนินธุรกิจโรงงานในพืน้ ที่
พ.ร.บ.การ
นิคมฯ 21
5. การตรวจสอบ ตรวจวัด
 โดยทัว่ ไปไม่กำหนดระยะเวลาการตรวจวัด ยกเว้นกรณี ให้มีการรายงาน

 หากถูกตรวจสอบ ต้องระบายไม่เกินค่ากำหนด
 ตรวจวัดโดยห้องปฏิบต
ั ิการที่ข้ ึนทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ห้องปฏิบตั ิการของหน่วยงานรัฐหรื อมหาวิทยาลัย
 ตรวจวัดโดยวิธีที่กำหนด

 ตรวจวัดพารามิเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง และตามที่ EIA / เงื่อนไขการประกอบ


กิจการกำหนด

22
6. การจัดทำรายงาน
 กำหนดโรงงาน 14 ลำดับประเภท (ตามที่กำหนดให้จด
ั ทำ EIA และต้อง
มีผคู้ วบคุมสิ่ งแวดล้อม) และ 4 กลุ่มที่มีขนาดหรื อการใช้สารหรื อระบาย
สารที่กำหนด
– ให้รายงานทุก 6 เดือน ตามพารามิเตอร์อย่างน้อยที่กำหนด
– ให้วดั คุณภาพน้ำทิ้งทุกเดือน
– ให้วดั คุณภาพอากาศที่ระบายออก ทุก 6 เดือน
 กรณี ไม่กำหนดให้ส่งรายงาน ให้เก็บรายงานไว้ที่สถานประกอบการ
ซึ่ งสามารถให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูได้

23
7. บทลงโทษ
 กรณี ไม่รายงาน ไม่แจ้ง ไม่มีเอกสารให้ตรวจสอบ
ปรับไม่เกิน 20,000 บาท
 กรณี ไม่ดำเนิ นการตามกฎหมายกำหนด ได้แก่ ไม่มีอุปกรณ์ควบคุมมลพิษและก่อ
ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ไม่มีบุคลากรเฉพาะ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
 หากตรวจสอบพบการฝ่ าฝื นอันอาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสี ยหาย
ความเดือดร้อนแก่บุคคลอื่น พนักงานสามารถสัง่ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝื น
หรื อแก้ไขปรับปรุ งภายในเวลาที่กำหนด หรื อห้ามใช้เครื่ องจักรได้
 กรณี จงใจไม่ปฏิบต ั ิตามคำสัง่ หรื อเกิดความเดือดร้อนเสี ยหาย
อย่างรุ นแรง ปลัดกระทรวงสามารถสัง่ หยุดการประกอบกิจการได้

24
รายละเอียดกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง

25
กฎหมายด้ านการควบคุมกำกับดูแล

ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


1.  พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535

2.  กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535)
กฎหมายหลัก
3.  กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2535)

4.  กฎกระทรวงฉบับที่ 11 (พ.ศ.2539)

26
1. พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.2535
 “ สาระสำคัญ ”
เป็ นกฎหมาย “ แม่ ” ทีใ่ ช้ ในการควบคุมกำกับดูแลโรงงานอุตสาหกรรม

ทำเลทีต่ ้งั สภาพแวดล้อม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย


ความเดือดร้ อนรำคาญต่ อทรัพย์ สินและชีวติ ของบุคคลรอบข้ างฯลฯ
จำแนกประเภทโรงงานออกเป็ น 3 จำพวก 107 ประเภท
โรงงานทุกประเภท ต้ องปฏิบัตติ ามอย่ างเคร่ งครัด
บทลงโทษและอำนาจของเจ้ าหน้ าที่
27
2. กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535)
 “ สาระสำคัญ ”
 หมวด 3 ข้ อ 10 - โรงงานต้ องมีวธ ิ ีการควบคุมการปล่ อยของเสี ย มลพิษ
และต้ องจัดให้ มีผ้ ูควบคุมดูแลและผู้ปฏิบัตงิ านประจำระบบป้ องกันสิ่ ง
แวดล้อมเป็ นพิษ
 หมวด 4 ข้ อ 16 - “ห้ ามระบายอากาศเสี ยออกจากโรงงาน” เว้ นแต่ ได้
ทำการอย่ างใดอย่ างหนึ่ง จนอากาศทีร่ ะบายออกมีปริมาณของสาร
เจือปน
ไม่ เกินกว่ าค่ ามาตรฐาน ทั้งนี้ ต้ องไม่ ใช่ วธิ ีทำให้ เจือจาง (Dilution)
 หมวด 4 ข้ อ 17 - “เสี ยงดังทีเ่ กิดจากการประกอบกิจการ” ต้ องไม่ เกิน
มาตรฐาน 28
3. กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2535)
 “ สาระสำคัญ ”
การรายงานข้ อมูลต่ างๆ ของโรงงานทีม่ ีผลกระทบรุนแรงต่ อ สิ่ ง
แวดล้ อมต้ องจัดทำรายงานข้ อมูล ต่ อไปนี้
การตรวจสอบ ประสิ ทธิภาพของระบบป้ องกันสิ่ งแวดล้ อมเป็ นพิษ
การวิเคราะห์ ปริ มาณ สารมลพิษในระบบป้ องกันสิ่ งแวดล้ อมเป็ นพิษ
การตรวจสอบ คุณภาพสิ่ งแวดล้อม

29
4. กฎกระทรวงฉบับที่ 11
 1) ในกรณีทโี่ รงงานมีระบบฟอกอากาศ ต้ องดำเนินการดังนี้
ติดตั้งมาตรวัดปริมาณการใช้ ไฟฟ้ า พร้ อมทั้งจดตัวเลข
- ปริมาณการใช้ ไฟฟ้า สำหรับระบบ
- ปริมาณการใช้ สารเคมี ฟอกอากาศ
 2) กรณีเข้ าข่ ายต้ องติดตั้งเครื่ องมือการระบายอากาศเสี ยเข้ ากับระบบ
คอมพิวเตอร์ ต้องดำเนินการดังนี้
1) ติดตั้งเครื่องวัดอัตราการไหลและมาตรวัดไฟฟ้ า
2) ต้ องติดตั้งระบบแปลงสั ญญาณ สำหรั บ ระบบ
ฟอก
3) ติดตั้งอุปกรณ์ ส่งสั ญญาณไปยัง กรอ. อย่ างต่ อเนื่อง
อากาศ 30
กฎหมายการติดตั้งเครื่องมือ Online

ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


5.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดให้ โรงงานประเภทต่ างๆ ต้ อง
ติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ พเิ ศษเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพ
อากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ พ.ศ.2544

6.  ประกาศกรมโรงงาน เรื่อง การส่ งข้ อมูลเข้ าสู่ ระบบตรวจสอบ


คุณภาพอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัตอิ ย่ างต่ อเนื่อง (CEMS)
พ.ศ.2550
31
5. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ พเิ ศษ เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพ
อากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ พ.ศ.2544 (CEMS)
 “ สาระสำคัญ ”
บังคับใช้ เฉพาะโรงงานทีม่ มี ลพิษสู ง ในพืน้ ที่ ตำบลมาบตาพุด
- นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
- นิคมอุตสาหกรรมผาแดง
- นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก
- นิคมอุตสากรรมเอเชีย
 การบังคับใช้ : ตั้งแต่ 22 มกราคม 2545 เป็ นต้ นไป

32
6. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การส่ งข้ อมูลเข้ าสู่ ระบบตรวจสอบ คุณภาพอากาศจากปล่อง
แบบอัตโนมัตอิ ย่ างต่ อเนื่อง (CEMS) พ.ศ.2550

 “ สาระสำคัญ ”
บังคับใช้ เพิม่ เติมกับโรงงานทีต่ ้งั อยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรมทีกำ
่ หนด
ตามประกาศอก.พ.ศ.2544 (CEMS) ได้ แก่
1) โรงงานนอกนิคมมาบตาพุด ในตำบลมาบตาพุด และตำบลห้ วยโป่ ง
จังหวัดระยอง
2) โรงงานทีต่ ้ องติดตั้งตามเงือ่ นไข EIA ทัว่ ประเทศ
การบังคับใช้ : ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2551 เป็ นต้ นไป
33
องค์ ประกอบของเครื่องมือ
 กำหนดให้ โรงงานทีก่ ่อกำเนิดมลพิษสู ง (มลพิษอากาศ) ต้ องติดตั้ง
เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบ On-line

 ส่ วนประกอบของเครื่องมือ  คุณลักษณะของเครื่องมือ
1) ส่ วนเก็บตัวอย่ าง 1) Modem หรือ Internet
2) ส่ วนการวิเคราะห์ 2) Alarm
3) ส่ วนการจัดการข้ อมูล 3) ส่ งข้ อมูลได้ ต่อเนื่อง
4) เก็บข้ อมูลได้ อย่ างน้ อย 30 วัน

34
ระบบการติดตามมลพิษระยะไกล

(โรงงาน จ.ระยอง)

กนอ. มาบตาพุด กรมโรงงานอุตสาหกรรม


ศูนย์ EMCC

โรงงาน (โรงงานนอกเขต จ.ระยอง) 35


ประเภทโรงงานทีต่ ้ องติดตั้ง CEMS
 หน่ วยผลิตไฟฟ้ าตั้งแต่ 29 เมกกะวัตต์ ขนึ้ ไป พารามิเตอร์ตามกฎหมายกำหนด
NOx, SOx, TSP, O2, CO, TRS, Temp
 หน่ วยผลิตเยือ่ และกระดาษ ทุกขนาด
 หน่ วยผลิตซีเมนต์ ปูนขาว ปูนพลาสเตอร์ ทุกขนาด
 หม้ อไอน้ำหรือแหล่ งกำเนิดความร้ อน ขนาด 30 ตันไอน้ำต่ อชั่วโมงขึน้ ไป
หรือ 100 MB BTU ต่ อชั่วโมงขึน้ ไป
 หน่ วยกลัน่ น้ำมันปิ โตรเลีย่ ม ทุกขนาด รายงานค่าเฉลี่ยทุก 1 ชัว่ โมง
 หน่ วยถลุง หล่ อ หลอม เหล็กขนาด 100 ตัน/วันขึน้ ไป ต่อเนื่อง 24 ชม. ข้อมูลหาก
 หน่ วยถลุง หล่ อ หลอมทองแดงหรือสั งกะสี ทุกขนาด น้อยกว่า 80% ต้องแจ้งเหตุ
 หน่ วยหลอมตะกัว่ ทุกขนาด ขัดข้อง
 หน่ วยเตาเผาเพือ่ ปรับคุณภาพของเสี ยรวม ทุกขนาด ให้รายงานค่าที่ 1 atm 25°C Dry basis
 หน่ วยผลิตกรดกำมะถัน ทุกขนาด 50%Excess air หรื อ 7%Excess O2
 โรงงานที่ EIA กำหนดให้ ติดตั้ง CEMS 36
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ
ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย
7.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ
ทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ.2549
8.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากปล่องเตาเผาสิ่ งปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ ใช้ แล้วทีเ่ ป็ น
อันตรายจากอุตสาหกรรมพ.ศ. 2545
9.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนใน
อากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงานผลิต ส่ ง หรือจำหน่ ายพลังงานไฟฟ้ า
พ.ศ.2547

37
7.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง ค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงานพ.ศ.2549
 “ สาระสำคัญ ”
 “ อากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงาน ” คืออากาศทีร่ ะบายออกจาก
ปล่อง หรือช่ องหรือท่ อระบายอากาศของโรงงานไม่ ว่าจะผ่ าน
ระบบบำบัดหรือไม่ กต็ าม
 “ ระบบปิ ด ” คือ ระบบการเผาไหม้ เชื้อเพลิงหรื อวัตถุดบิ
ทีม่ กี ารออกแบบให้ มกี ารควบคุมปริมาตรอากาศและสภาวะแวดล้ อม
ในการเผาไหม้
 “ ระบบเปิ ด ” คือ ระบบการเผาไหม้ เชื้อเพลิงหรื อวัตถุดบ ิ
ทีไ่ ม่ มกี ารออกแบบให้ มกี ารควบคุมปริมาตรอากาศและสภาวะ
แวดล้ อมในการเผาไหม้
38
D

A = Upstream  2D A
(Minimum ≥0.5D) ตำแหน่ งเก็บตัวอย่ าง

B = Downstream  8D B
(Minimum ≥2D) ทิศทางการไหล

Flow Disturbance

แสดงตำแหน่ งทีเ่ หมาะสมในการเก็บตัวอย่ าง


Ref: กรมควบคุมมลพิษ, คู่มือการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสี ย ฉบับที่ 1
40 CFR Part 60 Appendix A Method 1 Sample and Velocity Traverses for Stationary Sources, 1995 Edn.
39
ค่ ามาตรฐานการระบายอากาศทีป่ ล่ อยออกจากโรงงาน

ไม่ มกี ารเผาไหม้ มีการเผาไหม้ เชื้อ


สารเจือปน แหล่ งทีม่ า
เชื้อเพลิง เพลิง
1. ฝุ่ นละออง ก. แหล่งกำเนิดความร้อนที่
ใช้เชื้อเพลิง
- น้ำมันหรื อน้ำมันเตา - 240
- ถ่านหิ น - 320
- ชีวมวลเชื้อเพลิ - 320
งอื่นๆ
ข. การถลุง หลอมอลูมิเนียม 300 240
ค. การผลิตทัว่ ไป 400 320
40
ค่ ามาตรฐานการระบายอากาศทีป่ ล่ อยออกจากโรงงาน
สารเจือปน แหล่ งทีม่ า ไม่ มเี ผาไหม้ มีเผาไหม้
2. SO2 ความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิง
- น้ำมันเตา - 950
- ถ่านหิ น - 700
- ชีวมวล - 60
- เชื้อเพลิงอื่นๆ - 60
การผลิตทัว่ ไป 500 -

3. NOX ความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิง
- น้ำมันเตา - 200
- ถ่านหิ น - 400
- ชีวมวล - 200
- เชื้อเพลิงอื่นๆ - 200
41
Emission Standard for General Process

Industrial Boiler Production Process



TPM 240-320 mg/m3 ●
Antimony 16 mg/m3 ●
TPM 320-400 mg/m3 ●
Antimony 20 mg/m3
● NOx 200-400 ppm ●
Arsenic 16 mg/m3 ● SO2 500 ppm ●
Arsenic 20 mg/m3
● SOx 60-950 ppm ●
Cu 24 mg/m3 ●
CO 870 ppm ●
Cl 30 mg/m3

CO 690 ppm ●
Cl 24 mg/m3 ●
Hg 3 mg/m3 ●
HCl 200 mg/m3

Hg 2.4 mg/m3 ●
HCl 160 mg/m3 ●
Pb 30 mg/m3 ● H2S 100 ppm

Pb 24 mg/m3 ● H2S 80 ppm ●
Cu 30 mg/m3 ● H2SO4 25 ppm

For every industries

42
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง
ค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ.2549
=
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง
กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม
ลงวันที่ 18 พ.ค. 2549

43
8. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การระบายอากาศจากเตาเผาสิ่ งปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ ใช้ แล้ ว
 “ สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบั เตาเผาสิ่ งปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ ใช้ แล้วทีเ่ ป็ นอันตราย
จากอุตสาหกรรม เท่ านั้น
 อากาศทีส่ ามารถระบายออกจากเตาเผาได้ ต้องมีปริมาณของสารเจือปน
ไม่ เกินค่ าที่กำหนดไว้ ดังนี้
– ฝุ่ นละออง 35 มก./ลบ.ม.
– ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ 80 มก./ลบ.ม.
– ไนโตรเจนไดออกไซด์ 150 มก./ลบ.ม.
– ปรอท 0.1 มก./ลบ.ม.
– ไดออกซิน 0.5 นาโนกรัมต่ อลบ.ม.
44
 เตาเผาขยะมูลฝอย ให้ใช้มาตรฐานของกระทรวงทรัพย์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง กำหนด
มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากเตาเผามูลฝอย
ลงราชกิจจานุเบกษา 16 กรกฎาคม 2553
 เตาเผาขยะติดเชื้ อ ให้ใช้มาตรฐานของกระทรวงทรัพย์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง กำหนด
มาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ
ลงราชกิจจานุเบกษา 25 ธันวาคม พ.ศ. 2546

45
Emission for Incinerators

เตาเผาขยะมูลฝอย เตาเผาขยะมูลฝอย เตาเผาขยะติดเชื้อ เตาเผาขยะอันตราย


(≤50 t/d) (>50 t/d) ●
TPM 120 mg/m3 ●
TPM 35 mg/m3

TPM 320-400 mg/m3 ●
TPM 70-120 mg/m3 ●
NOx 180 ppm ●
NOx 150 ppm

NOx 250 ppm ●
NOx 180 ppm ●
SOx 30 ppm ●
SOx 80 ppm

SOx 30 ppm ●
SOx 30 ppm ●
HCl 25 ppm ●
HCl 40 ppm

HCl 80-136 ppm ●
HCl 25 ppm ●
Hg 0.05 mg/m3 ●
Hg 0.1 mg/m3

Hg 0.05 mg/m3 ●
Hg 0.05 mg/m3 ●
Cd 0.05 mg/m3
Cd 0.05 mg/m3

Cd+Pb 0.2 mg/m3

Cd 0.5 mg/m3 ● ●
Pb 0.5 mg/m3

Pb 1.5 mg/m3 ●
Pb 0.5 mg/m3 ●
Dioxins 0.5 ngEq/m3

Dioxins 0.5 ngEq/m3

Dioxins 0.5 ngEq/m3 ●
Dioxins 0.5-1.0 ngEq/m3 ●
Opacity 10%

CO 115 ppm

Opacity 10-20% ●
Opacity 10% ●
HF 20 ppm

As+Be+Cr 1 mg/m3

46
9. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงาน
ผลิต ส่ ง หรือจำหน่ ายพลังงานไฟฟ้ า พ.ศ.2547
 “ สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบั “ โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ า ” เท่ านั้น
 กำหนดค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ 3 ค่ า คือ
- ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์
- ไนโตรเจนไดออกไซด์ ค่ า การระบายขึ น
้ อยู่ กบั ประเภท
โรงไฟฟ้ า เก่ า – ใหม่ – เดิม
- ฝุ่ นละออง

47
 มาตรฐานแตกต่างจากที่กระทรวงทรัพย์ประกาศ
 ให้ใช้มาตรฐานที่เข้มงวดกว่า

 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง กำหนดมาตรฐาน


ควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงไฟฟ้ า
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 มกราคม 2539
 ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)
เรื่ อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงไฟฟ้ าเก่า
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2542 (โรงไฟฟ้ าที่ได้รับอนุญาตก่อนวัน
ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง กำหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงไฟฟ้ าใหม่
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 15 มกราคม 2553 (บังคับโรงไฟฟ้ าที่ได้รับอนุญาต
ให้ประกอบกิจการหลังวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
48
Emission Standard for Specific Process

Petrochemical Iron and


Cement Factory Power
TPM 60-320 mg/m3 Steel Basic
Kiln ●
Plant

NOx 200 ppm Industries

TPM 120 mg/m3 SOx 60-950 ppm

TPM 60-240 mg/m3
● ●
TPM 120-240 mg/m3

NOx 400 ppm ●
CO 690 ppm ●
NOx 180-400 ppm
Hg 2.4 mg/m3

NOx 180-200 ppm

SOx 50 ppm ●

SOx 60-950 ppm

Pb 5 mg/m3

SOx 800 ppm

New/Old/Process New/Old New/Old 49


ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


10.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงาน กรณีการใช้ น้ำมันใช้ แล้วทีผ่ ่ านกระบวนการปรับ
คุณภาพและเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548
11.  ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงานปูนซีเมนต์ พ.ศ.2549
12. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555

50
10.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง ค่ าการระบายอากาศจากโรงงานทีใ่ ช้ น้ำมันใช้ แล้ วและเชื้อเพลิง
สั งเคราะห์ เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรมพ.ศ. 2548
 “ สาระสำคัญ ” บังคับใช้ กบ ั โรงงานทีใ่ ช้ เชื้อเพลิงจาก :
 น้ำมันใช้ แล้ วที่ผา่ นกระบวนการปรับคุณภาพ หมายถึง น้ำมันใช้แล้วที่
ผ่านกระบวนการทางกายภาพหรื อทางเคมีเพื่อปรับคุณภาพให้สามารถนำ
มาใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้ โดยไม่มีการนำเอาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วชนิดอื่นๆ มา
ผสมกับน้ำมันใช้แล้ว
 เชื้อเพลิงสังเคราะห์ หมายถึง น้ำมันใช้แล้วที่ผา่ นกระบวนการผสมกับ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้วชนิดต่างๆ จนมีคุณภาพในการนำมาใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้
คุณลักษณะของน้ำมันใช้ แล้ วทีผ่ ่ านกระบวนการปรับคุณภาพ และเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ เป็ นไปตาม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดลักษณะของน้ำมันใช้ แล้ วทีผ่ ่ านกระบวนการปรับคุณภาพ
และเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ ทจี่ ะนำมาใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรมเพือ่ ทดแทนน้ำมันเตา พ.ศ. 2547
51
บังคับใช้กบั โรงงานลำดับที่
 โรงงานลําดับที่ 59 โรงงานประกอบกิจการ เกี่ยวกับการถลุง หลอม รี ด ดึง หรื อ
ผลิตเหล็ก หรื อเหล็กกล้าในขั้นต้น (Iron and Steel Basic Industries)
 โรงงานลําดับที่ 60 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการถลุง ผสม ทําให้บริ สุทธิ์
หลอม รี ด ดึง หรื อผลิตโลหะในขั้นต้น ซึ่งไม่ใช่เหล็กหรื อเหล็กกล้า (Non-ferrous
Metal Basic Industries)
 โรงงานลําดับที่ 88 โรงงานผลิต ส่ ง หรื อจําหน่ ายพลังงานไฟฟ้ า

 อุปกรณ์ให้ความร้อน (Heating Device) ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานลําดับ


ที่ 58 (1) โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทําผลิตภัณฑ์คอนกรี ต ผลิตภัณฑ์
คอนกรี ตผสม ผลิตภัณฑ์ยปิ ซัม หรื อผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์
 หม้ อไอน้ำ (Boiler) ในกระบวนการผลิตทัว
่ ไป
52
ปริ มาณค่าเจือปนของอากาศที่ระบายออก
ชนิดสารเจือปน ปริมาณกำหนด หน่ วย
ฝุ่ นละออง 240 mg/cu.m.
SO2 800 ppm
NOX 200 ppm
HCl+HF 85 ppm
Dioxins/Furans 0.5 ngTEQ/cu.m.
ปรอท 0.15 mg/cu.m.
พลวง+สารหนู+แคดเมี่ยม+ซีลีเนี่ยม+เทลลูเรี ยม 0.65 mg/cu.m.
วาเนเดียม+โครเมี่ยม+โคบอลต์+นิ 13.0 mg/cu.m.
เกิล+ทองแดง+ตะกัว่ +แมงกานีส+ดีบุก

53
11. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง ค่ าการระบายอากาศจากโรงงานปูนซีเมนต์ พ.ศ.2549
 “ สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบั “ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ” เท่ านั้น
 กำหนดค่ ามาตรฐานสำหรับโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ เก่ าและใหม่ ดังนี้
ฝุ่ น SO2 NO2
หม้ อเผาปูนซีเมนต์ (ทัว่ ไป) 12050 500
หม้ อเผาปูนขาว 120 50 500
หม้ อเผาปูนขาว (เก่ า) 300 600 600
หน่ วยการผลิตอื่นๆ
ไม่ มกี ารเผาไหม้ 400 - -
มีการเผาไหม้ 400 - - 54
12. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดปริมาณของสารเจือปนใน
อากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555
ประกาศ 28 มิ.ย. 55
 “ สาระสำคัญ ”
 กำหนดมาตรฐานอากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงานผลิตแก้ วและกระจก
 TSP, SO2, NOx as NO2, CO, HCl, HF, Pb, As
 NOx 1,750 ppm, Pb 5 ppm, As 1 ppm
 กำหนดการรายงานผล และวิธีตรวจวัด
 ให้ โรงงานทีป่ ระกอบกิจการก่อนประกาศนีม้ ผี ลใช้ บังคับได้ รับการยกเว้ น
ไม่ ต้องปฏิบัตติ ามประกาศนีม้ ีกำหนดหนึ่งปี นับแต่ วนั ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
55
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ
ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย
13. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณเขม่ าควันทีเ่ จือปนใน
อากาศ ทีร่ ะบายออกจากปล่องของหม้ อน้ำของโรงงาน พ.ศ.2549
14. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าปริมาณเขม่ าควันทีเ่ จือปนใน
อากาศ ทีร่ ะบายออกจากปล่องของหม้ อน้ำโรงสี ข้าวทีใ่ ช้ แกลบเป็ นเชื้อเพ
ลิงพ.ศ.2549
15. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดค่ าระดับเสี ยงการรบกวนและระดับ
เสี ยงทีเ่ กิดจากการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2548
16. กฎกระทรวง เรื่อง กำหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิน่ ใน
อากาศจากโรงงานพ.ศ. 2548
56
13.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง ค่ าการระบายเขม่ าควันจากปล่องของหม้ อน้ำของโรงงาน พ.ศ.2549
 “ สาระสำคัญ ”
• “ บังคับใช้ กบั โรงงาน ทีม่ กี ารใช้ หม้ อไอน้ำขนาดตั้งแต่ 1 ตันขึน้ ไป
ของโรงงานจำพวก 3 ทุกประเภท ” ทีไ่ ม่ ได้ กำหนดปริมาณเขม่ า
เป็ นการเฉพาะ ยกเว้ นหม้ อไอน้ำทีใ่ ช้ LPG และ NG เป็ นเชื้อเพลิง
• กำหนดค่ าความทึบแสง ไม่ เกินร้ อยละ 10 เมือ่ ตรวจวัดด้ วย
แผนภูมเิ ขม่ าควันของริงเกิลมานน์

57
แผนภูมเิ ขม่ าควันของริงเกิลมานน์
แบบวงกลม

58
59
14. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง ค่ าการระบายเขม่ าควันจากปล่องของหม้ อน้ำโรงสี ข้าว
ทีใ่ ช้ แกลบเป็ นเชื้อเพลิงพ.ศ.2549
 “ สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบ ั โรงสี ข้าวทีใ่ ช้ แกลบเป็ นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ ของ Boiler

 กำหนดค่ ามาตรฐานปริมาณเขม่ าควันเมือ่ ตรวจวัดด้ วยแผนภูมเิ ขม่ า


ควันของริงเกิลมานน์
– ไม่ เกินร้ อยละ 20 เมือ่ ตรวจวัดก่อน 4 ก.พ. 2550
– ไม่ เกินร้ อยละ 10 เมือ่ ตรวจวัดหลัง 4 ก.พ. 2550 เป็ นต้ นไป

60
15.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง กำหนดค่ าระดับเสี ยงการรบกวนจากการประกอบกิจการ
 คำจำกัดความ
 “ ระดับเสี ยงพืน้ ฐาน ” คือ ระดับเสี ยงทีต่ รวจวัดในสิ่ งแวดล้ อมเดิม ขณะยังไม่ มี
เสี ยงรบกวนจากการประกอบกิจการ
 “ ระดับเสี ยงขณะมีการรบกวน ” คือระดับเสี ยงทีต่ รวจวัดหรือคำนวณจากการ
ประกอบกิจการขณะเกิดเสี ยงรบกวน
 “ ระดับการรบกวน ” คือ ระดับความแตกต่ างระหว่ างเสี ยงรบกวนกับเสี ยงพืน้ ฐาน
มลสาร ปริมาณมลสาร
1) ค่ าระดับเสี ยงรบกวนจากการทำงาน ไม่ เกิน 10 เดซิเบล
2) ค่ าระดับเสี ยงเฉลีย่ 24 ชั่วโมง ไม่ เกิน 70 เดซิเบล
3) ค่ าระดับเสี ยงสู งสุ ดจากการทำงาน ไม่ เกิน 115 เดซิเบล
วิธีการให้เป็ นไปตาม ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง วิธีการตรวจวัดระดับเสี ยงการรบกวน
61
ระดับเสี ยงเฉลี่ย 24 ชัว่ โมง และระดับเสี ยงสูงสุ ดที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2553
16. กฎกระทรวง
เรื่อง กำหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิน่ ในอากาศ
จากโรงงานพ.ศ. 2548
 “สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบั โรงงาน ส่ วนใหญ่ ทเี่ ป็ นโรงงานผลิตอาหาร ไม่ ใช่ สารเคมี
 ห้ ามโรงงานระบายอากาศ ทีม่ คี ่ าความเข้ มกลิน่ เกินมาตรฐาน ออกจากโรงงาน
 ตรวจวัดกลิน่ เฉพาะโรงงานทีถ่ ูกร้ องเรียน โดยใช้ คนเป็ นผู้ดมกลิน่

ค่ าความเข้ มกลิน่ ค่ าความเข้ มกลิน่


ทีต่ ้งั โรงงาน
ทีบ่ ริเวณรั้ว ทีป่ ล่ องระบาย
เขตอุตสาหกรรม 30 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม 15 300
62
การตรวจวัดกลิน่

ตรวจวัดกลิน่ เฉพาะโรงงานทีถ่ ูกร้ องเรียน หรือราชการสงสั ย

ใช้ คนดมกลิน่ จึงไม่ จำเป็ นต้ องรู้ชนิดมลสาร


(แต่ ต้องไม่ ใช่ สารที่ก่อให้ เกิดอันตรายต่ อสุ ขภาพ)

บังคับใช้ กบั โรงงาน รวม 23 ประเภท (ส่ วนใหญ่ เป็ นโรงงานผลิตอาหาร)

63
ตัวอย่ างวิธีการดมกลิน่
ถุงตัวอย่ าง
กลิน่

64
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


17. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบาย
ออกจากโรงงานกลัน่ น้ำมันปิ โตรเลียม พ.ศ. 2553
18. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัตใิ นการ
ตรวจสอบและควบคุมการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์ ใน
โรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555

65
17. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง กำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงาน
กลัน่ น้ำมันปิ โตรเลียม พ.ศ. 2553
 “ สาระสำคัญ ”
 บังคับใช้ กบ
ั โรงกลัน่ ปิ โตรเลียมเก่า (ได้ รับอนุญาตก่อน 26 ตุลาคม 2553)
และใหม่ (หน่ วยทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงเครื่องจักรที่มีผลต่อกรรมวิธีการผลิต
และเชื้อเพลิงที่ใช้ ซึ่ งได้ยนื่ คำขอรับใบอนุญาตขยายโรงงานภายหลัง
ประกาศนี้มีผลใช้บงั คับ)
 กำหนดค่ าการระบายตามแหล่ งกำเนิด ชนิดของเชื้อเพลิง – TSP, SO2,
NO2, CO, H2S, Hg, Pb
 โรงกลัน่ ปิ โตรเลียมใหม่ กำหนดเข้ มข้ นขึน้ – TSP, CO, NOx เฉพาะหน่ วย
ผลิตทีกำ
่ หนด
 หน่ วยกำจัดกำมะถัน มีผลบังคับใช้ 3 ปี นับแต่ 26 ตุลาคม 2553 66
18. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ และ
วิธีการปฏิบัตใิ นการตรวจสอบและควบคุมการรั่วซึมของสาร
อินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์ ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555
 “ สาระสำคัญ ”
 กำหนดความเข้มข้นของไอสารอินทรี ยท์ ้ งั หมด (ppmv) ตรวจที่อุปกรณ์ต่างๆ ยกเว้นที่เข้าไม่ถึง
หรื อมีขนาดเล็กกว่า 2 นิ้ว dia. หรื อตามที่ระบุ
 ระยะที่ 1 ให้ใช้บงั คับเป็ นเวลา 2 ปี (จนถึง 1 มิ.ย. 57 – ภายในการตรวจวัดรอบแรกของปี 2557)
 ระยะที่ 2 ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกำหนด 2 ปี (เริ่ มใช้ในการตรวจวัดรอบที่ 2 ของปี 2557)

67
Fugitive Emission (ต่อ)
 กำหนดวิธีตรวจวัด และความถี่ในการตรวจวัด ปี ละ 1 ครั้ง
 เครื่ องตรวจวัดสารอินทรี ยร์ ะเหยแบบพกพา วิธีปฏิบตั ิเป็ นไปตาม Method 21
 กล้องที่ใช้เทคนิคการถ่ายด้วยแสงอินฟราเรด วิธีปฏิบตั ิเป็ นไปตาม Alternative Work Practice To Detect
Leaks From Equipment
 หากผลตรวจวัดเกินจากเกณฑ์ควบคุม ให้ซ่อมบำรุ ง แล้วตรวจวัดซ้ำและผลการตรวจวัดซ้ำ
ต้องไม่เกินจากเกณฑ์ที่กำหนด หากทำไม่ได้ตอ้ งรายงานกรมโรงงานฯ หรื อหน่วยงานกำกับ
ภายใน 30 วัน
 ผูจ้ ดั การสิ่ งแวดล้อมหรื อผูป้ ระกอบกิจการโรงงานลงนามรับรองในรายงาน
(แบบ รว.3/1) ด้วยทุกครั้ง

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดการซ่อมบำรุ งอุปกรณ์


ลดการรั่วไหล
68
กฎหมายบุคลากรสิ่ งแวดล้ อมประจำโรงงาน
ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย
19. ประกาศกระทรวง เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุม
การปล่ อยของเสี ย มลพิษ หรือสิ่ งใดๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติ
ของผู้ควบคุมดูแล ผู้ปฏิบัตงิ านประจำ และหลักเกณฑ์ การขึน้ ทะเบียนผู้ควบคุมดูแล
พ.ศ.2545
20. ประกาศกระทรวง เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุม
การปล่ อยของเสี ย มลพิษหรือสิ่ งใด ๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติ
ของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฏิบัตงิ านประจำ และหลักเกณฑ์ การขึน้ ทะเบียนผู้ควบคุมดูแล
สำหรับระบบป้ องกันสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
21. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึ กอบรมและการสอบ
มาตรฐานของบุคลากรด้ านสิ่ งแวดล้อมประจำโรงงาน พ.ศ. 2554

69
กฎหมายการรายงานข้ อมูลสิ่ งแวดล้ อมโรงงาน
ลำดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย
22. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิษทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2550
- แบบ รว. 1 – 3 -
23. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่
ต้ องจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษทีร่ ะบายออกนอกโรงงาน พ.ศ. 2553
24. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึมของ
สารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์ และการซ่ อมแซมอุปกรณ์ ในโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2556 - แบบ รว.3/1 -

70
22. การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ
ทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2550
 กำหนดวิธีการได้ขอ้ มูลการจัดทำรายงาน
การตรวจวัดโดยตรง
การคำนวณโดยใช้ โปรแกรมหรือสั มประสิ ทธิ์
 กำหนดความถี่การตรวจวัด
น้ำ – BOD, COD, pH, SS ทุกเดือน
อากาศ – NOx as NO2, SO2, TSP ทุก 6 เดือน
พารามิเตอร์ อนื่ ๆ ตามทีก่ ฎหมาย และ EIA กำหนด
 กำหนดการทำรายงาน และแบบรายงาน รว.1 – 3
 ความถี่ในการรายงาน และช่องทางการรายงาน
จัดส่ งรายงานในรอบ 6 เดือน ให้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมภายในวันที่ 30 ของเดือนถัดไป
ส่ งผ่ านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้ อมเก็บรักษาไว้ ทโี่ รงงาน 1 ชุ ด เพือ่ ตรวจสอบ
71
23. กำหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานทีต่ ้ องจัดทำรายงานชนิด
และปริมาณสารมลพิษทีร่ ะบายออกนอกโรงงาน พ.ศ. 2553
 สาระสำคัญ: ยกเลิกประกาศปี 2551 ให้ใช้ประกาศนี้แทน
 กำหนด 18 ประเภทอุตสาหกรรมที่ตอ ้ งจัดทำรายงาน
รว.2 – BOD, COD, pH, โลหะหนัก (แล้วแต่คุณลักษณะน้ำทิ้ง)
ใช้ผลการตรวจวัดจริ ง
รว.3 – NOx as NO2, NO2, SO2, TSP, TVOC (ตามประเภทโรงงาน)
ใช้การตรวจวัดจริ งที่ปลายปล่อง สำหรับลักษณะฟุ้ งกระจายให้ใช้การคำนวณ
กำหนดรอบการตรวจวัดเป็ น 2 รอบ รอบที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย.) รายงานภายใน 31
กค. รอบที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค.) รายงานภายใน 31 ม.ค.
ใช้ผลการตรวจวัดจากห้องปฏิบตั ิการที่ได้รับการขึ้นทะเบียน

72
24. การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึมของสารอินทรีย์
ระเหยจากอุปกรณ์ และการซ่ อมแซมอุปกรณ์ ในโรงงาน
อุตสาหกรรม พ.ศ. 2556
 สาระสำคัญ: กำหนดแบบรายงาน รว.3/1
กำหนดการตรวจวัด Fugitive VOC ให้รายงานปริ มาณสารอินทรี ยร์ วมในรู ป
มีเทน (CH4)
รายงานจำนวนอุปกรณ์ที่ได้ตรวจวัด จำนวนอุปกรณ์ที่ผลการตรวจวัดเกิน
จำนวนอุปกรณ์ที่ได้รับการซ่อมแซม (แบ่งตรวจเป็ น 2 รอบได้)
ส่ งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 2 รอบ รอบที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย.) รายงานภายใน
31 กค. รอบที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค.) รายงานภายใน 31 ม.ค.

73
กฎหมายที่เกี่ยวข้องตาม พ.ร.บ.ส่ งเสริ มและรักษา
คุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๓๕
 มาตรฐานควบคุมการระบายอากาศเสี ยและเสี ยงจากอุตสาหกรรม
 โรงงานกลัน่ น้ำมันปิ โตรเลียมเก่า/ใหม่ – โรงงานอุตสาหกรรมเคมี (สาร 1,2-ได
 โรงไฟฟ้ าใหม่ (ตั้งแต่ปี 2553) /เก่า คลอโรอีเทน และสารไวนิลคลอไรด์)
(กำหนดรายโรง)  โรงงานอุตสาหกรรม (ทัว่ ไป)
 เตาเผามูลฝอยเก่า/ใหม่ (ตั้งแต่ปี 2553)  โรงงานเหล็ก
– โรงโม่ บด หรื อย่อยหิ น  โรงสี ขา้ ว
 โรงงานปูนซีเมนต์  ความเข้มกลิ่นของอากาศเสี ยที่ปล่อย
– คลังน้ำมันเชื้อเพลิง (ไอน้ำมันเบนซิน, ทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ
TVOCs)  ระดับเสี ยงรบกวน
– โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
74
25. ประกาศ ทส. เรื่ อง กำหนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี
ั โรงงานลำดับที่ 42 และ 44 ซึ่ งมีการผลิต ใช้ หรื อเก็บรักษา
 บังคับใช้กบ
สาร 1, 2 - ไดคลอโรอีเทน หรื อสารไวนิลคลอไรด์
ประเภทของกระบวนการผลิตของ สาร 1, 2 - ไดคลอโรอีเทน สารไวนิลคลอไรด์
โรงงานอุตสาหกรรม
๑. กระบวนการผลิตสารไวนิลคลอ ไม่เกิน ๒๐ กรัม ต่อ ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม ต่อ
ไรด์ รวมถึงการเก็บรักษาสาร ๑, ๒ – สาร ๑, ๒ - ไดคลอโรอีเทนทีใ่ ช้ใน สารไวนิลคลอไรด์ ทีผ่ ลิตได้ ๑ ตัน
ไดคลอโรอีเทน และสารไวนิลคลอ กระบวนการผลิต ๑ ตัน
ไรด์ ในกระบวนการผลิต
๒. กระบวนการผลิต เอส - พีวซี ี - ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม ต่อ
(S-PVC) หรือการผลิตพีวซี โี ดย เอส - พีวซี ที ผ่ี ลิตได้ ๑ ตัน
กระบวนการ Suspension
๓. กระบวนการผลิตเพสท์ - พีวซี ี - ไม่เกิน ๒,๐๐๐ กรัม ต่อ
(paste PVC) หรือการผลิตพีวซี โี ดย เพสท์ - พีวซี ที ผ่ี ลิตได้ ๑ ตัน
กระบวนการ Emulsion

75
26. ประกาศ ทส. เรื่ อง กำหนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยทิ้งอากาศเสี ยจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
ั โรงงานลำดับที่ 89โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับ
 บังคับใช้กบ
การแยกก๊าซธรรมชาติ “โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ประเภทที่ 1 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ประเภทที่ 2
ประเภทโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
(โรงเก่า) (โรงใหม่/ส่วนขยาย)
1. ฝุน่ ละออง (Total Suspended Particulate) 60 มก./ลบ.ม. 60 มก./ลบ.ม.
2. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) 60 ส่วนในล้านส่วน 60 ส่วนในล้านส่วน
3. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide) 690 ส่วนในล้านส่วน 690 ส่วนในล้านส่วน
4. ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen Sulfide) 60 ส่วนในล้านส่วน 60 ส่วนในล้านส่วน
5. สารปรอท (Mercury) 0.08 มก./ลบ.ม. 0.08 มก./ลบ.ม.
6. ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน 200 ส่วนในล้านส่วน 150 ส่วนในล้านส่วน

76
27. ประกาศ ทส. เรื่ อง กำหนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยทิ้งไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง
ั คลังน้ำมันเชื้อเพลิง สถานที่เก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง และ
 บังคับใช้กบ
สถานที่ที่มีการรับหรื อจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงโดยระบบขนส่ งน้ำมันเชื้อ
เพลิงทางท่อ ค่าเฉลี่ยไม่เกิน 17 มิลลิกรัมต่อลิตรต่อชัว่ โมง (Milligram
Total VOCs/Liter in emitted vapour/hour)
สารมลพิ ษ ค่าเฉลี่ย วิ ธีการเก็บตัวอย่าง
ความเข้มข้นใน 1 ชัวโมง ่
ไอน้ำมันเบนซิน 17 มิลลิกรัมต่อลิตร แบบต่อเนื่องจากปล่องของระบบควบคุมไอน้ำมันเบนซินใน
(milligram total VOCs/liter in ขณะทีร่ ะบบ กำลังทำงาน และนำค่าทีไ่ ด้มาคำนวณเพือ่ หาค่า
emitted vapor) เฉลีย่ ไอน้ำมันเบนซินทีเ่ กิดขึน้ ในเวลา 1 ชัวโมงหรื
่ อ
แบบไม่ต่อเนื่องจากปล่องของระบบควบคุมไอน้ำมันเบนซินใน
(นับแต่วนั ที่ 22 มกราคม 2553)
ขณะ ทีร่ ะบบกำลังทำงาน แต่ตอ้ งไม่ต่ำกว่า 4 ครัง้ ต่อ 1 ชัวโมง

และนำค่าทีไ่ ด้ในแต่ละช่วงมาคำนวณ เพือ่ หาค่าเฉลีย่ ไอน้ำมัน
เบนซินทีเ่ กิดขึน้ ในเวลา 1 ชัวโมง

77
28. ประกาศ ทส. เรื่ อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสาร
เบนซีน และสาร 1, 3 – บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี
 ควบคุมโรงงานปิ โตรเคมี ลำดับที่ 42 และ 44 ที่มีหรื อใช้สารเบนซี น
และสาร 1, 3 – บิวทาไดอีน ตั้งแต่ 36 ตัน/ปี ขึ้นไป
 ควบคุมปล่องหรื อท่อระบายอากาศเสี ยจากกระบวนการผลิต
 ไม่รวมถึง เตา (Furnace) หม้อไอน้ำ (Boiler) เตาเผา (Incinerator)
เตาเผาชนิด Thermal Oxidizer หอเผาทิ้ง (Flare)
 ค่าการระบายไม่เกินที่กำหนด
– สารเบนซีน ต้ องมีค่าไม่ เกิน 7 มิลลิกรัมต่ อลูกบาศก์ เมตร
– สาร 1, 3 - บิวทาไดอีน ต้ องมีค่าไม่ เกิน 5 มิลลิกรัมต่ อลูกบาศก์ เมตร

78
ร่ าง กฎหมายว่าด้วยการรายงานสารมลพิษ
 ปรับปรุ งการรายงานให้เหมาะสม พร้อมจัดทำคู่มือ

 รายงานผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์เท่านั้น

ั โรงงานที่ตอ้ งทำ EIA -> มีผคู้ วบคุมด้านสิ่ งแวดล้อม -> จัด


 บังคับใช้กบ
ทำรายงานมลพิษ
 โรงงานที่มีน ้ำเสี ย/อากาศเสี ย/หม้อไอน้ำ ตามที่กำหนด

79
ถาม - ตอบ

80

You might also like