You are on page 1of 62

การตรวจกากับ

ตามกฎหมายมลพิษอากาศ

เอกสารประกอบการบรรยาย
ลักษณะมลพิษทางอากาศ

ก๊าซพิษ/ ค่าความ ระดับเสี ยง/ แสง/รังสี /


ไอพิษ/กลิ่น ทึบแสง/ ความสัน่ ความร้อน
รบกวน ฝุ่ นควัน สะเทือน

2
แหล่ งกาเนิดมลพิษทางอากาศ

o กระบวนการผลิต
o การรั่วระเหยจากอุปกรณ์/ถังเก็บสารเคมี
o การกองเก็บวัตถุดิบและกากของเสี ย
o ระบบขนถ่ายสารเคมี
o การเผาไหม้
o ระบบบาบัดน้ าเสี ย
o เหตุการณ์ไม่คาดหมาย หรื ออุบตั ิเหตุ

3
ลักษณะการปลดปล่ อย

stack Accident / uncontrolled

Fugitive/area mobile

4
ระบบบาบัดมลพิษอากาศ
• ติดตั้งระบบ CEMS
(ถ้าเข้าข่าย)
• วัดปริ มาณมลสารที่ระบาย
• วัดประสิ ทธิภาพระบบ
• บันทึกปริ มาณการใช้สารเคมี
(หากใช้) (1)
• บันทึกปริ มาณการใช้ไฟฟ้า (1)
• ห้ามใช้วิธีการเจือจาง (2)

5
(1) กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2539) (2) กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535)
Wet Scrubber

ละอองน้ าหลุดออกมาไหม
ควันหรื อฝุ่ นออกที่ปลาย
ปล่อง
ตรวจสอบการเติมสารเคมี
มีจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ

พัดลม และปั๊ มน้ าอยูใ่ น


สภาพที่ใช้งานได้ และถูก
ใช้งานเป็ นประจา

6
ท่อผุกร่ อน

Multi-cyclone

ท่อลาเลียงฝุ่ น
สังเกตดูวา่ มีหกรั่วไหล หรื อ
ที่กกั เก็บเต็มหรื อเปล่า

ฝุ่ นหลุด
ออกมา?

7
จุดสั งเกตของระบบกาจัดฝุ่ น
จุดระบายอากาศ

จุดรวบรวมฝุ่ น
8
ค่ ามาตรฐานมลพิษอากาศ
o ค่ามาตรฐานการระบายอากาศเสี ยจากปลายปล่อง
กฎหมายโรงงาน
• ค่ามาตรฐานทัว่ ไป จากปล่องระบายอากาศเสี ย
• ค่ามาตรฐานเฉพาะประเภทอุตสาหกรรม
• ค่ามาตรฐานตามประเภทเชื้อเพลิงที่ใช้ EIA / เงื่อนไขการประกอบกิจการ
• ค่ามาตรฐานเฉพาะรายโรงงาน กฎหมายแรงงาน
o ค่ามาตรฐานภายในบริ เวณพื้นที่ปฏิบตั ิงาน
o ค่ามาตรฐานบรรยากาศ โรงงานต้องปฏิบตั ิเป็ นไปตาม
กฎหมายสิ่ งแวดล้อม ทุกกฎหมายกาหนด 9
การตรวจสอบ ตรวจวัด
o โดยทัว่ ไปไม่กาหนดระยะเวลาการตรวจวัด ยกเว้นกรณี ให้มีการรายงาน
o หากถูกตรวจสอบ ต้องระบายไม่เกินค่ากาหนด
o ตรวจวัดโดยห้องปฏิบตั ิการที่ข้ ึนทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ห้องปฏิบตั ิการของหน่วยงานรัฐหรื อ
มหาวิทยาลัยที่มีหอ้ งปฏิบตั ิการและ
การเรี ยนการสอนที่เกี่ยวข้อง
o ตรวจวัดโดยวิธีที่กาหนด
o ตรวจวัดพารามิเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง และ
ตามที่ EIA / เงื่อนไขการประกอบกิจการกาหนด
10
D

A = Upstream  2D A
(Minimum ≥0.5D) ตาแหน่ งเก็บตัวอย่ าง

B = Downstream  8D B
(Minimum ≥2D) ทิศทางการไหล

Flow Disturbance

แสดงตาแหน่ งทีเ่ หมาะสมในการเก็บตัวอย่ าง


Ref: กรมควบคุมมลพิษ, คู่มือการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสี ย ฉบับที่ 1
40 CFR Part 60 Appendix A Method 1 Sample and Velocity Traverses for Stationary Sources, 1995 Edn.
11
6. การจัดทารายงาน
o กาหนดโรงงาน 16 ลักษณะการประกอบกิจการ และ 2 กลุ่มที่มีขนาดหรื อการ
ใช้สารหรื อระบายสารที่กาหนด (ตามที่กาหนดให้จดั ทา EIA และ
ต้องมีผคู ้ วบคุมสิ่ งแวดล้อม)
o รวมถึงโรงงานอีก 3 ลักษณะการประกอบกิจการ และ 2 กลุ่มที่มีขนาดหรื อการ
ใช้สารหรื อระบายสารที่กาหนด (ไม่เข้าข่ายต้องมีผคู ้ วบคุม)
• ให้วดั คุณภาพน้ าทิ้งทุกเดือน
• ให้วดั คุณภาพอากาศที่ระบายออก ทุก 6 เดือน
• ให้รายงานทุก 6 เดือน ตามพารามิเตอร์ อย่างน้อยที่กาหนด
o กรณี ไม่กาหนดให้ส่งรายงาน ให้เก็บรายงานไว้ที่สถานประกอบการ
12
ซึ่ งสามารถให้เจ้าหน้าที่ตรวจดูได้
7. บทลงโทษตาม พ.ร.บ.โรงงาน

o กรณี ไม่รายงาน ไม่แจ้ง ไม่มีเอกสารให้ตรวจสอบ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท


o กรณี ไม่ดาเนินการตามกฎหมายกาหนด ได้แก่ ไม่มีอุปกรณ์ควบคุมมลพิษและ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ไม่มีบุคลากรเฉพาะ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
o หากตรวจสอบพบการฝ่ าฝื นอันอาจก่อให้เกิดอันตราย ความเสี ยหาย
ความเดือดร้อนแก่บุคคลอื่น พนักงานสามารถสั่งระงับการกระทาที่ฝ่าฝื น
หรื อแก้ไขปรับปรุ งภายในเวลาที่กาหนด หรื อห้ามใช้เครื่ องจักรได้
o กรณี จงใจไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ หรื อเกิดความเดือดร้อนเสี ยหายอย่างรุนแรง
ปลัดกระทรวงสามารถสั่งหยุดการประกอบกิจการได้
13
“ รายละเอียดกฎหมาย
ที่เกีย่ วข้ อง

14
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


1. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงงาน พ.ศ.2549
2. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงงานผลิต ส่ ง หรื อจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า พ.ศ.2547

15
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ.2549
“ สาระสาคัญ ”
•“ อากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ” คืออากาศที่ระบายออกจาก
ปล่อง หรื อช่อง หรื อท่อระบายอากาศของโรงงานไม่วา่ จะผ่าน
ระบบบาบัดหรื อไม่กต็ าม
•“ ระบบปิ ด ” คือ ระบบการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรื อวัตถุดิบ
ที่มีการออกแบบให้มีการควบคุมปริ มาตรอากาศและสภาวะแวดล้อมในการเผาไหม้
•“ ระบบเปิ ด ” คือ ระบบการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรื อวัตถุดิบ
ที่ไม่มีการออกแบบให้มีการควบคุมปริ มาตรอากาศและสภาวะแวดล้อมในการเผาไหม้

16
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ.2549 (ต่ อ)
ไม่ มีการเผาไหม้ มีการเผาไหม้
สารเจือปน แหล่งที่มา
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง
1. ฝุ่ นละออง ก. แหล่งกาเนิดความร้อนที่ใช้
(mg/m3) เชื้อเพลิง
- น้ ามันหรื อน้ ามันเตา - 240
- ถ่านหิ น - 320
- ชีวมวล เชื้อเพลิงอื่นๆ - 320
ข. การถลุง หลอมอลูมิเนียม 300 240
ค. การผลิตทัว่ ไป 400 320
17
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ.2549 (ต่ อ)
สารเจือปน แหล่ งทีม่ า ไม่ มเี ผาไหม้ มีเผาไหม้
2. SO2 ความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิง
(ppm) - น้ ามันเตา - 950
- ถ่านหิน - 700
- ชีวมวล - 60
- เชื้อเพลิงอื่นๆ - 60
การผลิตทัว่ ไป 500 -
3. NOX ความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิง
(ppm) - น้ ามันเตา - 200
- ถ่านหิน - 400
- ชีวมวล - 200
- เชื้อเพลิงอื่นๆ - 200
18
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ.2549 (ต่ อ)
• กรณี โรงงานใช้เชื้อเพลิงร่ วมกันตั้งแต่ 2 ประเภทขึ้นไป อากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ต้องมีคา่
ปริ มาณสารเจือปนในอากาศไม่เกินค่าที่กาหนด สาหรับเชื้อเพลิงประเภทที่มีสัดส่ วนการใช้ มาก
ที่สุด
• การรายงานผลการตรวจวัดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศ ให้รายงานผล ดังต่อไปนี้
▪ ในกรณีที่ไม่ มีการเผาไหม้ เชื้อเพลิง ให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรื อที่ 760 มิลลิเมตร
ปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis) โดยมีปริ มาตรออกซิเจนในอากาศ
เสี ย ณ สภาวะจริ งขณะตรวจวัด
▪ ในกรณีที่มีการเผาไหม้ เชื้อเพลิง
(ก) ระบบปิ ดให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรื อที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis) โดยมีปริ มาตรอากาศส่ วนเกินในการเผาไหม้ (Excess Air)
ร้อยละ 50 หรื อ มีปริ มาตรออกซิเจนในอากาศเสี ย ร้อยละ 7
(ข) ระบบเปิ ดให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรื อที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis) โดยมีปริ มาตรออกซิเจนในอากาศเสี ย ณ สภาวะจริ งขณะ
19
ตรวจวัด
มาตรฐานการระบายสาหรับโรงงานทัว่ ไป

Industrial Boiler Production Process


• TSP 240-320 mg/m3 • Antimony 16 mg/m3 • TSP 320-400 mg/m3 • Antimony 20 mg/m3
• NOx 200-400 ppm • Arsenic 16 mg/m3 • SO2 500 ppm • Arsenic 20 mg/m3
• SO2 60-950 ppm • Cu 24 mg/m3 • CO 870 ppm • Cl 30 mg/m3
• CO 690 ppm • Cl 24 mg/m3 • Hg 3 mg/m3 • HCl 200 mg/m3
• Hg 2.4 mg/m3 • HCl 160 mg/m3 • Pb 30 mg/m3 • H2S 100 ppm
• Pb 24 mg/m3 • H2S 80 ppm • Cu 30 mg/m3 • H2SO4 25 ppm

20
มาตรฐานทัว่ ไป สาหรับทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
2. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง กาหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงานผลิต ส่ ง หรื อจาหน่ ายพลังงาน
ไฟฟ้ า พ.ศ.2547

“ สาระสาคัญ ”
บังคับใช้กบั “ โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ” เท่านั้น
กาหนดค่ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ 3 ค่า คือ
• ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ค่ าการระบายขึน้ อยู่กบั ประเภท
• ไนโตรเจนไดออกไซด์ โรงไฟฟ้ า เก่า – ใหม่ – เดิม
• ฝุ่ นละออง

21
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


3. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน กรณี การใช้น้ ามันใช้แล้วที่ผา่ นกระบวนการปรับคุณภาพและเชื้อเพลิง
สังเคราะห์เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548

22
3. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าการระบายอากาศจากโรงงานทีใ่ ช้ นา้ มันใช้ แล้ว
และเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2548
“ สาระสาคัญ ” บังคับใช้ กบั โรงงานที่ใช้ เชื้อเพลิงจาก :
น้ามันใช้ แล้ วที่ผา่ นกระบวนการปรับคุณภาพ หมายถึง น้ามันใช้ แล้ วที่ผา่ น
กระบวนการทางกายภาพหรื อทางเคมีเพื่อปรับคุณภาพให้สามารถนามาใช้เป็ นเชื้อเพลิง
ได้โดยไม่มีการนาเอาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วชนิดอื่นๆ มาผสมกับน้ ามันใช้แล้ว
เชื้อเพลิงสังเคราะห์ หมายถึง น้ามันใช้ แล้ วที่ผา่ นกระบวนการผสมกับวัสดุ
ที่ไม่ ใช้ แล้ วชนิดต่างๆ จนมีคุณภาพในการนามาใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้
คุณลักษณะของน้ามันใช้ แล้ วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพ และเชื้ อเพลิง
สั งเคราะห์ เป็ นไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดลักษณะของน้ามันใช้
แล้ วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพ และเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ ที่จะนามาใช้ เป็ นเชื้อเพลิงในเตา
อุตสาหกรรมเพื่อทดแทนน้ามันเตา พ.ศ. 2547 23
บังคับใช้ กบั โรงงานลาดับที่

• โรงงานลาดับที่ 59 โรงงานประกอบกิจการ เกี่ยวกับการถลุง หลอม รี ด ดึง หรื อ


ผลิตเหล็ก หรื อเหล็กกล้าในขั้นต้น (Iron and Steel Basic Industries)
• โรงงานลาดับที่ 60 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการถลุง ผสม ทาให้บริ สุทธิ์
หลอม รี ด ดึง หรื อผลิตโลหะในขั้นต้น ซึ่งไม่ใช่เหล็กหรื อเหล็กกล้า (Non-ferrous
Metal Basic Industries)
• โรงงานลาดับที่ 88 โรงงานผลิต ส่ ง หรื อจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า
• อุปกรณ์ให้ความร้อน (Heating Device) ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานลาดับ
ที่ 58 (1) โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทาผลิตภัณฑ์คอนกรี ต ผลิตภัณฑ์
คอนกรี ตผสม ผลิตภัณฑ์ยปิ ซัม หรื อผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์
• หม้ อไอน้า (Boiler) ในกระบวนการผลิตทั่วไป
24
3. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าการระบายอากาศจากโรงงานทีใ่ ช้ นา้ มันใช้ แล้ว
และเชื้อเพลิงสั งเคราะห์ เป็ นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2548 (ต่ อ)
ชนิดสารเจือปน ปริมาณกาหนด หน่ วย

ฝุ่ นละออง 240 mg/cu.m.


SO2 800 ppm
NOX 200 ppm
HCl+HF 85 ppm
Dioxins/Furans 0.5 ngTEQ/cu.m.
ปรอท 0.15 mg/cu.m.
พลวง+สารหนู+แคดเมี่ยม+ซีลีเนี่ยม+เทลลูเรี ยม 0.65 mg/cu.m.
วาเนเดียม+โครเมี่ยม+โคบอลต์+นิเกิล+ทองแดง+ 13.0 mg/cu.m.
25
ตะกัว่ +แมงกานีส+ดีบุก
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


4. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดปริ มาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
ปล่องเตาเผาสิ่ งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็ นอันตรายจากอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2545
5. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงงานปูนซีเมนต์ พ.ศ.2549

6. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก


โรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555
26
4. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ องกาหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออก
จากปล่ องเตาเผาสิ่ งปฏิกูลหรื อวัสดุทไี่ ม่ ใช้ แล้ วทีเ่ ป็ น
อันตรายจากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545
“ สาระสาคัญ ”
• บังคับใช้กบั เตาเผาสิ่ งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็ นอันตรายจากอุตสาหกรรม เท่านั้น
• อากาศที่สามารถระบายออกจากเตาเผาได้ตอ้ งมีปริ มาณของสารเจือปน
ไม่เกินค่าที่กาหนดไว้ ดังนี้
ฝุ่ นละออง 35 มก./ลบ.ม.
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 80 มก./ลบ.ม.
ไนโตรเจนไดออกไซด์ 150 มก./ลบ.ม.
ปรอท 0.1 มก./ลบ.ม.
ไดออกซิน 0.5 นาโนกรัมต่อลบ.ม.

เพื่อกากับเตาเผาของกรมโรงงานฯ ทีใ่ ห้
อัคคีปราการดาเนินการ
27
5. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าการระบายอากาศจากโรงงาน
ปูนซีเมนต์ พ.ศ.2549

“ สาระสาคัญ ”
บังคับใช้กบั “ โรงงานผลิตปนู ซีเมนต์ ” เท่านั้น
กาหนดค่ามาตรฐานสาหรับโรงงานผลิตปูนซี เมนต์เก่าและใหม่ ดังนี้
ฝุ่ น SO2 NO2
หม้อเผาปูนซี เมนต์ (ทัว่ ไป) 120 50 500
หม้อเผาปูนขาว 120 500 500
หน่ วยการผลิตอื่นๆ
ไม่มีการเผาไหม้ 400 - -
มีการเผาไหม้ 320 - -
28
6. ประกาศกระทรวง เรื่ อง กาหนดปริมาณ
ของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจาก
โรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555

“ สาระสาคัญ ”
กาหนดมาตรฐานอากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก
• TSP, SO2, NOx as NO2, CO, HCl, HF, Pb, As
• NOx 1,750 ppm, Pb 5 ppm, As 1 ppm
o กาหนดการรายงานผล และวิธีตรวจวัด
o ให้โรงงานที่ประกอบกิจการก่อนประกาศนี้มีผลใช้บงั คับได้รับการยกเว้ น
ไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามประกาศนี้มีกาหนดหนึ่งปี นับแต่วนั ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา

29
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


7. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดปริ มาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงานกลัน่ น้ ามันปิ โตรเลียม พ.ศ. 2553
8. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2559
9. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณของสารเจือปนในอากาศ ที่ระบาย
ออกจากโรงงานผลิตเหล็กเส้นเสริ มคอนกรี ตและโรงงานผลิตเหล็กแท่งเล็ก
สาหรับเหล็กเส้นเสริ มคอนกรี ต พ.ศ. 2564
30
7. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง กาหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบาย
ออกจากโรงงานกลัน่ นา้ มันปิ โตรเลียม พ.ศ. 2553

“ สาระสาคัญ ”
• บังคับใช้กบั “โรงกลั่นปิ โตรเลียม”
• กาหนดค่าการระบายตามแหล่งกาเนิ ด ชนิดของเชื้อเพลิง – TSP, SO2, NOx, CO,
H2S, Hg, Pb
• โรงกลัน่ ปิ โตรเลียมใหม่ กาหนดเข้มข้นขึ้น – TSP, CO, NOx เฉพาะหน่วยผลิต
ที่กาหนด
• หน่วยกาจัดกามะถัน มีผลบังคับใช้ 3 ปี นับแต่ 26 ตุลาคม 2553

31
8. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง กาหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2559

• บังคับใช้กบั “โรงแยกก๊ าซธรรมชาติ (Natural Gas)”


• ใช้กบั แหล่งกาเนิดมลพิษ ดังนี้ boiler, furnace, gas turbine, on shore compressor
station, waste heat recovery, thermal oxidizer
• ปรับลดค่ามาตรฐานให้เข้มงวดกว่า ประกาศ ทส.
TSP 60 mg/cu.m.
SO2 50 ppm
NOX 150 ppm
CO 550 ppm
H2S 60 ppm
Hg 0.06 mg/cu.m.
32
9. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง กาหนดค่ าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ ทีร่ ะบายออก
จากโรงงานผลิตเหล็กเส้ นเสริมคอนกรีตและโรงงานผลิตเหล็ก
แท่ งเล็กสาหรับเหล็กเส้ นเสริมคอนกรีต พ.ศ. 2564
• “โรงงานผลิตเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต” หมายถึง โรงงานผลิตเหล็กเส้นที่มีลกั ษณะ
หน้าตัดกลมหรื อเหล็กเส้นกลมที่มีบ้ งั หรื อครี บ ซึ่งอาจนาไปใช้เสริ มคอนกรี ตสาหรับ
งานก่อสร้างทัว่ ไปได้
• “โรงงานผลิตเหล็กแท่ งเล็กสาหรั บเหล็กเส้ นเสริ มคอนกรี ต” หมายถึง โรงงานผลิตเหล็ก
แท่งเล็กสี่ เหลี่ยมจัตุรัสที่มีภาคตัดขวางเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส หรื อเหล็กแท่งเล็ก
สี่ เหลี่ยมผืนผ้าที่มีภาคตัดขวางเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีดา้ นยาวไม่เกิน 1.25 เท่า
ของด้านกว้าง โดยมีความยาวด้าน 50 มิลลิเมตร ถึง 150 มิลลิเมตร
TSP 50 mg/cu.m.
SO2 500 ppm
NOX 180 ppm
มีผลใช้บงั คับ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2568 33
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


10. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบตั ิในการตรวจสอบและ
ควบคุมการรั่วซึมของสารอินทรี ยร์ ะเหยจากอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2555
11. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณเขม่าควันที่เจือปนในอากาศ ที่ระบายออกจาก
ปล่องของหม้อน้ าของโรงงาน พ.ศ. 2549
12. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าปริ มาณเขม่าควันที่เจือปนในอากาศ ที่ระบายออกจาก
ปล่องของหม้อน้ าโรงสี ขา้ วที่ใช้แกลบเป็ นเชื้อเพลิงพ.ศ. 2549
34
10. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนด
หลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัตใิ นการตรวจสอบและ
ควบคุมการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์
Fugitive Emission
ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555
• บังคับเฉพาะโรงงานลาดับที่ 42, 44, 49, 89 ที่มีหรื อใช้ VOCs ตั้งแต่ 36 ตันต่อปี
• กาหนดความเข้มข้นของไอสารอินทรี ยท์ ้ งั หมด (ppmv) ตรวจที่อุปกรณ์ต่างๆ ยกเว้นที่เข้าไม่ถึง หรื อมี
ขนาดเล็กกว่า 2 นิ้ว dia. หรื อตามที่ระบุ
• ระยะที่ 1 ให้ใช้บงั คับเป็ นเวลา 2 ปี (จนถึง 1 มิ.ย. 57 – ภายในการตรวจวัดรอบแรกของปี 2557)
• ระยะที่ 2 ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด 2 ปี (เริ่ มใช้ในการตรวจวัดรอบที่ 2 ของปี 2557)

35
11. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าการระบายเขม่ าควันจากปล่องของหม้ อนา้
ของโรงงาน พ.ศ.2549
“ สาระสาคัญ ”
•บังคับใช้กบั โรงงานที่มีการใช้หม้อไอน้ าขนาดตั้งแต่ 1 ตันขึ้นไป ของโรงงานจาพวก 3
ทุกประเภท ที่ไม่ได้กาหนดปริ มาณเขม่าเป็ นการเฉพาะ ยกเว้นหม้อไอน้ าที่ใช้ LPG และ NG
เป็ นเชื้อเพลิง
•กาหนดค่าความทึบแสง ไม่ เกินร้ อยละ 10 เมื่อตรวจวัดด้วยแผนภูมิเขม่าควันของริ งเกิลมานน์
o ใช้ผตู ้ รวจวัดครั้งละ 2 คน
o ยืนห่าง 3 เท่าของความสู งปล่อง แต่ไม่เกิน 400 เมตร
o ต้องมีแสงพอที่จะสังเกตความเข้มของเขม่าควัน
o ให้ดวงอาทิตย์อยูด่ า้ นหลังของผูต้ รวจวัดมากที่สุด (ไม่ยอ้ นแสง)
o ผูต้ รวจวัดอยูใ่ นทิศตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของกลุ่มควัน สังเกตจุดที่ควันหนาแน่นที่สุด
36
แผนภูมเิ ขม่ าควันของริงเกิลมานน์

37
12. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง ค่ าการระบายเขม่ าควันจากปล่องของหม้ อนา้ โรงสี ข้าว
ทีใ่ ช้ แกลบเป็ นเชื้อเพลิงพ.ศ. 2549
“ สาระสาคัญ ”
•บังคับใช้กบั โรงสี ขา้ วที่ใช้แกลบเป็ นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ของ Boiler
•กาหนดค่ามาตรฐานปริ มาณเขม่าควันเมื่อตรวจวัดด้วยแผนภูมิเขม่าควัน
ของริ งเกิลมานน์

ไม่ เกินร้ อยละ 10 เมื่อตรวจวัดหลัง 4 ก.พ. 2550 เป็ นต้ นไป

38
กฎหมายการติดตั้งเครื่ องมือ Online

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


13. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดให้โรงงานประเภทต่างๆ ต้อง
ติดตั้งเครื่ องมือหรื อเครื่ องอุปกรณ์พิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
อากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ พ.ศ.2544
14. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดให้โรงงานต้องติดตั้งเครื่ องมือหรื อ
เครื่ องอุปกรณ์พิเศษ เพื่อรายงานมลพิษอากาศจากปล่องโรงงาน
พ.ศ. 2565

39
13. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง การติดตั้งเครื่ องมือหรื อเครื่ องอุปกรณ์ พเิ ศษ
เพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติ
พ.ศ.2544
“ สาระสาคัญ ”
บังคับใช้ เฉพาะโรงงานที่มีมลพิษสู ง ในพื้นที่ ตาบลมาบตาพุด
- นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
- นิคมอุตสาหกรรมผาแดง
- นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก
- นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย

40
ประเภทโรงงานทีต่ ้ องติดตั้ง CEMS
พารามิเตอร์ตามกฎหมายกาหนด
➢ หน่วยผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ 29 เมกกะวัตต์ข้ ึนไป NOx, SOx, TSP, O2, CO, TRS, Temp
➢ หน่วยผลิตเยือ่ และกระดาษ ทุกขนาด
➢ หน่วยผลิตซี เมนต์ ปูนขาว ปูนพลาสเตอร์ ทุกขนาด
➢ หม้อไอน้ าหรื อแหล่งกาเนิดความร้อน ขนาด 30 ตันไอน้ าต่อชัว่ โมงขึ้นไป
หรื อ 100 MB BTU ต่อชัว่ โมงขึ้นไป
➢ หน่วยกลัน่ น้ ามันปิ โตรเลี่ยม ทุกขนาด รายงานค่าเฉลี่ยทุก 1 ชัว่ โมง
ต่อเนื่อง 24 ชม. ข้อมูลหากน้อย
➢ หน่วยถลุง หล่อ หลอม เหล็กขนาด 100 ตัน/วันขึ้นไป กว่า 80% ต้องแจ้งเหตุขดั ข้อง
➢ หน่วยถลุง หล่อ หลอมทองแดงหรื อสังกะสี ทุกขนาด
➢ หน่วยหลอมตะกัว่ ทุกขนาด
➢ หน่วยเตาเผาเพื่อปรับคุณภาพของเสี ยรวม ทุกขนาด
ให้รายงานค่าที่ 1 atm 25°C Dry basis
➢ หน่วยผลิตกรดกามะถัน ทุกขนาด
50%Excess air หรื อ 7%Excess O2
➢ โรงงานที่ EIA กาหนดให้ติดตั้ง CEMS
41
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนดให้ โรงงานต้ องติดตั้งเครื่ องมือหรื อ
เครื่ องอุปกรณ์ พเิ ศษ เพื่อรายงานมลพิษอากาศจากปล่ องโรงงาน พ.ศ. 2565

ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ (365 วัน)


เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2565 ตั้งแต่ วนั ที่ 10 มิถุนายน 2566

โรงงานได้รับอนุญาต โรงงานได้รับอนุญาต/ส่ วนขยาย ข้ อยกเว้ นไม่ ติดตั้งเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ พเิ ศษ


ก่อนประกาศ หลังประกาศ
หน่วยผลิตติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องมือลดหรื อควบคุมมลพิษ +
ดาเนินการให้แล้วเสร็ จ ผลตรวจวัด 10 ข้อมูล ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี มีค่าไม่เกิน 10%
ภายใน 10 มิถุนายน 2567 ดาเนินการให้แล้วเสร็ จ
ของค่ามาตรฐาน + แจ้งต่อกรมโรงงานฯ
ก่อนเริ่ มประกอบกิจการ
ขยายระยะเวลาได้ไม่เกิน โรงงาน หรื อเริ่ มส่ วนขยาย มีจุดเก็บตัวอย่าง + ไม่สามารถเจาะปล่องเพิ่มเพื่อตรวจวัด
31 ธันวาคม 2570
TSP และ Flow rate + กรมโรงงานฯ เห็นชอบ

ขยายพืน้ ทีบ่ ังคับใช้กบั โรงงานทัว่ ประเทศ


หน่วยผลิตที่มีการใช้งานไม่เกิน 60 วัน/ปี
แก้ไขและเพิม่ ประเภท ขนาดของหน่วยการผลิต
จากประกาศเดิม 10 หน่วยการผลิต  เป็ น 13 หน่วยการผลิต เชื้อเพลิงมี S น้อยกว่าหรื อเท่ากับ 0.05% โดยน้ าหนัก +
ขอความเห็นชอบไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัด SO2
เพิม่ รายการมลพิษ ที่ตอ้ งตรวจวัดจากประกาศเดิมอีก 4 รายการ ได้แก่
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S), ปรอท (Hg), ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) และ ใช้วธิ ีการประเมินผลจากระบบเผ้าระวังการระบายมลพิษ
อัตราการไหล (Flow Rate) แบบคาดคะเน (PEMS) แทน - เมื่อรัฐมนตรี ประกาศกาหนด
ค่ ามาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


15. ประกาศ อก. เรื่ อง กาหนดค่าระดับเสี ยงการรบกวนและระดับเสี ยงที่เกิดจากการ
ประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2548
16. กฎกระทรวง เรื่ อง กาหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน
พ.ศ. 2548

43
15. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่ อง กาหนดค่ าระดับเสี ยงการรบกวนจาก
การประกอบกิจการ พ.ศ. 2548

มลสาร ปริมาณมลสาร
1) ค่ าระดับเสี ยงรบกวนจากการทางาน ไม่ เกิน 10 เดซิเบล
2) ค่ าระดับเสี ยงเฉลีย่ 24 ชั่วโมง ไม่ เกิน 70 เดซิเบล
3) ค่ าระดับเสี ยงสู งสุ ดจากการทางาน ไม่ เกิน 115 เดซิเบล

วิธีการให้เป็ นไปตาม ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่ อง วิธีการตรวจวัดระดับเสี ยงการรบกวน 44


ระดับเสี ยงเฉลี่ย 24 ชัว่ โมง และระดับเสี ยงสูงสุดที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2553
16. กฎกระทรวง
เรื่ อง กาหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิน่
ในอากาศจากโรงงาน พ.ศ. 2548
“สาระสาคัญ ”
•บังคับใช้กบั โรงงาน ส่ วนใหญ่ที่เป็ นโรงงานผลิตอาหาร ไม่ใช่สารเคมี
•ห้ ามโรงงานระบายอากาศ ที่มีค่าความเข้มกลิ่นเกินมาตรฐาน ออกจากโรงงาน
•ตรวจวัดกลิ่น เฉพาะโรงงานที่ถูกร้องเรี ยน โดยใช้ คนเป็ นผูด้ มกลิ่น

ค่ าความเข้ มกลิน่ ค่ าความเข้ มกลิน่


ทีต่ ้งั โรงงาน
ทีบ่ ริเวณรั้ว ทีป่ ล่องระบาย
เขตอุตสาหกรรม 30 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม 15 300
45
การตรวจวัดกลิน่

ตรวจวัดกลิน่ เฉพาะโรงงานทีถ่ ูกร้ องเรียน หรื อราชการสงสั ย

ใช้ คนดมกลิน่ จึงไม่ จาเป็ นต้ องรู้ ชนิดมลสาร


(แต่ ต้องไม่ ใช่ สารทีก่ ่ อให้ เกิดอันตรายต่ อสุ ขภาพ)

บังคับใช้ กบั โรงงาน รวม 23 ประเภท


(ส่ วนใหญ่ เป็ นโรงงานผลิตอาหาร)
46
กฎกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 เรื่ อง กาหนดมาตรฐานและวิธีการ
ตรวจวัดกลิน่ ในอากาศจากโรงงาน ครอบคลุม 23 ประเภท

➢ ลาดับที่ 1 ➢ ลาดับที่ 10 ➢ ลาดับที่ 19


➢ ลาดับที่ 2 ➢ ลาดับที่ 11 ➢ ลาดับที่ 20
➢ ลาดับที่ 4 ➢ ลาดับที่ 12 ➢ ลาดับที่ 21
➢ ลาดับที่ 5 ➢ ลาดับที่ 13 ➢ ลาดับที่ 29
➢ ลาดับที่ 15 ➢ ลาดับที่ 30
➢ ลาดับที่ 6
➢ ลาดับที่ 16 ➢ ลาดับที่ 43
➢ ลาดับที่ 7 ➢ ลาดับที่ 17 ➢ ลาดับที่ 92
➢ ลาดับที่ 8 ➢ ลาดับที่ 18
➢ ลาดับที่ 9
กลิน่ อินทรีย์สาร
47
กฎหมายการรายงานข้ อมูลสิ่ งแวดล้ อมโรงงาน

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


17. ประกาศ อก. เรื่ อง การจัดทารายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษที่ระบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558
18. ประกาศ กรอ. เรื่ อง แบบรายงานชนิดและปริ มาณสารมลพิษที่ระบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ. 2559
19. ประกาศ กรอ. เรื่ อง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึ มของสารอินทรี ย ์
ระเหยจากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2556
48
17. การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ
ทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558
ข้ อควรรู้
1. เป็ นรายงานสารมลพิษน้ าและอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน โดยประกอบด้วย
1.1 แบบรายงานข้อมูลทัว่ ไป (แบบ รว.1)
1.2 แบบรายงานมลพิษน้ า (แบบ รว.2)
1.3 แบบรายงานมลพิษอากาศ (แบบ รว.3)
1.4 แบบรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึ มของสารอินทรี ยร์ ะเหยจากอุปกรณ์ และ
การซ่อมแซมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม (รว.3/1)
2. ส่ งรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น
มาตรา 46 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรื อไม่ ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา 8(6)
หรื อ (7) หรื อประกาศของรัฐมนตรีทอี่ อกตามกฎกระทรวง
ดังกล่ าว ต้ องระวางโทษปรับไม่ เกินสองหมื่นบาท
49
17. การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ
ทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 (ต่ อ)
• กาหนดวิธีการได้ขอ้ มูลการจัดทารายงาน
• การตรวจวัดโดยตรง
• การคานวณโดยใช้ค่าสัมประสิ ทธิ์ คานวณทางวิศวกรรม สมดุลมวล
• กาหนดความถี่การตรวจวัด
• น้ า – BOD, COD, pH, SS น้ าเสี ยเข้า-ออกระบบวัดทุก 3 เดือน/น้ าทิ้งวัดทุกเดือน
• อากาศ – NOx as NO2, SO2, TSP, CO วัดทุก 6 เดือน ตามประเภทเชื้อเพลิง
• พารามิเตอร์อื่นๆ ตามที่กฎหมาย และ EIA กาหนด
• กาหนดให้โรงงานที่มีผคู ้ วบคุมสิ่ งแวดล้อมและโรงงานที่ EIA กาหนดต้องจัดทารายงาน
• กาหนดเพิม่ อีก 4 ประเภทอุตสาหกรรมที่ตอ้ งจัดทารายงาน (ไม่มีผคู ้ วบคุมสิ่ งแวดล้อม) + 1
ประเภทอุตสาหกรรม (update ตามประกาศ EIA)
• ความถี่ในการรายงาน และช่องทางการรายงาน
• จัดส่ งรายงานในรอบ 6 เดือน ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 2 เดือน
• ส่ งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมเก็บรักษาไว้ที่โรงงาน 1 ชุด เพื่อตรวจสอบ 50
18. แบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่
ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2559
• รว.1 – ทุกโรงงานจัดทาข้อมูลทัว่ ไป จานวนจุดระบายน้ าทิ้งและปล่องระบายอากาศ
• รว.2 – BOD, COD, pH, โลหะหนัก (แล้วแต่คุณลักษณะน้ าทิ้ง)
การรายงาน รว.2 ให้ใช้ผลการตรวจวัดจริ ง
• รว.3 – NOx as NO2, NO2, SO2, TSP, TVOC (ตามประเภทโรงงาน)
ใช้การตรวจวัดจริ งที่ปลายปล่องหรื อการคานวณ
สาหรับลักษณะฟุ้งกระจายให้ใช้การคานวณประกอบการตรวจวัด
• กาหนดรอบการรายงานเป็ น 2 รอบ รอบที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย.) รายงานภายใน 1 ก.ย.
รอบที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค.) รายงานภายใน 1 มี.ค.
• ใช้ผลการตรวจวัดจากห้องปฏิบตั ิการที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
โปรดตรวจสอบก่อนยื่นส่ งรายงาน www.diw.go.th -> บริการอิเล็กทรอนิกส์ ->
ระบบรายงานปริมาณสารมลพิษ
รายงานผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เท่ านั้น (รว.1 รว.2 รว.2/1 รว.3 รว.3/1)
51
สรุปสาระสาคัญ – การรายงาน รว.

โรงงานต้ องมี โรงงานต้ องทา


โรงงานทีต่ ้ องทา EIA
บุคลากรด้ านสิ่ งแวดล้ อม รายงาน รว.

โรงงานที่ไม่ ต้องมีบุคลากรด้ านสิ่ งแวดล้ อม ดังนี้


•การทากระดาษที่ทาจากเส้นใยหรื อไฟเบอร์
ตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป o การรายงานสามารถทาได้ 2 วิธี คือ
•การผลิตแก้ว เส้นใยแก้ว หรื อผลิตภัณฑ์แก้วที่มีเตาหลอม ตรวจวัดโดยตรง และการคานวณ ได้แก่
•มีหม้อน้ าใช้เชื้อเพลิงแข็งหรื อเหลวตั้งแต่10 ตันไอน้ า หรื อ Emission Factor, Engineering Calculation,
Mass Balance
หม้อน้ าใช้เชื้อเพลิงก๊าซตั้งแต่ 20 ตันไอน้ า o คุณภาพน้ าทิ้งให้ตรวจวัดโดยตรงทุกเดือน
•ใช้ VOCs ตั้งแต่ 36 ตัน/ปี o การรายงานการระบายอากาศให้ทาทุก
•โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเหล็กหรื อเหล็กกล้า ที่มีกาลังการ 6 เดือน โดยการตรวจวัด หรื อการคานวณ
ผลิตแต่ละชนิดหรื อรวมกันตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป
52
ประกาศ กรอ. เรื่ อง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึม
ของสารอินทรี ยร์ ะเหยจากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์
ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556

ให้โรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง กาหนด


หลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบตั ิในการตรวจสอบและควบคุมการรั่วซึ มของสารอินทรี ย ์
ระเหยจากอุปกรณ์ ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555 (โรงงานลาดับที่ 42, 44, 49
และ 89 ที่มีหรื อใช้สารอินทรี ยร์ ะเหยในกระบวนการผลิต ตั้งแต่ 36 ตันต่อปี ขึ้นไป)
จัดทาบัญชีรายชื่ออุปกรณ์ พร้อมรายงานปริ มาณสารอินทรี ยร์ ะเหยรวม

53
ประกาศ กรอ. เรื่ อง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึม
ของสารอินทรี ยร์ ะเหยจากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์
ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556 (ต่อ)

“อุปกรณ์ ทตี่ ้ องตรวจวัดการรั่วซึม” หมายความว่ า ปั๊ม (Pumps)


เครื่ องอัดอากาศ (Compressors) อุปกรณ์ ทใี่ ช้ กวนหรื อผสมของเหลว (Agitators
หรื อ Mixers) วาล์ว (Valves) ท่ อส่ งปลายเปิ ด (Open-Ended Lines) ข้ อต่ อหรื อ
หน้ าแปลน (Connectors หรื อ Flanges) อุปกรณ์ ลดความดัน (Pressure Relief
Devices) จุดเก็บตัวอย่ างสารเคมี (Sampling Connections)

รอบที่ 1 ของเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ภายในวันที่ 31 กรกฎาคมของปี ที่รายงาน


รอบที่ 2 ของเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม ภายในวันที่ 31 มกราคมของปี ถัดไป

54
กฎหมายการรายงานข้ อมูลสิ่ งแวดล้ อมโรงงาน

ลาดับ รายละเอียดข้ อกฎหมาย


20. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการใช้หอเผาทิ้ง พ.ศ. 2565

21. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรี ยร์ ะเหยจากการ


ซ่อมบารุ ง พ.ศ. 2565
22. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรี ยร์ ะเหยจากถังกักเก็บ
พ.ศ. 2565

55
ประเภทของโรงงานทีอ่ ยู่ในบังคับของกฎหมาย
1) โรงงานลาดับที่ 42 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ เคมีภณ ั ฑ์
สารเคมี เฉพาะที่มีกาลังการผลิตรวมตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป
และหรื อมีการเก็บรักษาสารอินทรี ยร์ ะเหยรวมตั้งแต่ 100 ตันขึ้นไป
2) โรงงานลาดับที่ 44 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิต
ยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรื อเส้นใย
สังเคราะห์ เฉพาะที่มีหรื อใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีหรื อสารอินทรี ย ์
ระเหย เป็ นวัตถุดิบรวมตั้งแต่ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป
3) โรงงานลาดับที่ 49 โรงงานกลัน่ น้ ามันปิ โตรเลียม
4) โรงงานลาดับที่ 89 โรงงานผลิตก๊าซเฉพาะที่ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการแยกก๊าซธรรมชาติ
20. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการใช้ หอเผาทิง้
พ.ศ. 2565

ขึน้ ทะเบียนหอเผาทิง้ การรายงานในระบบ


❖ รายงานข้อมูลจาเพาะของหอเผาทิ้ง (แบบ รว.7)
ควบคุมควันดา ❖ รายงานการปรับปรุ ง/เปลี่ยนแปลงหอเผาทิ้ง (แบบ รว.7)
❖ รายงานบันทึกการใช้หอเผาทิ้ง ทุกเดือน (แบบ รว.8)
รายงานการเกิดควันดา การรายงานเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
❖ กรณี เกิดควันดาเกิน 10 นาที ในช่วง 240 นาที
รายงานการใช้ Flare • รายละเอียดการใช้หอเผาทิ้ง ระยะเวลา
• รายงานผลการสื บสวนสาเหตุ
ประเมินการระบาย VOCs • มาตรการป้องกันหรื อลดการเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าว
ในอนาคต
57
21. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการระบาย
ไอสารอินทรี ยร์ ะเหยจากการซ่อมบารุ ง พ.ศ. 2565

การรายงานในระบบ
แจ้ งก่อนดาเนินการซ่ อมใหญ่ ❑ แจ้งการซ่อมบารุ งใหญ่ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ไม่ น้อยกว่ า 30 วัน ก่อนวันเริ่ มดาเนินการ (แบบ รว.9)
จัดทาแผนซ่ อมบารุง ▪ วัตถุประสงค์และระยะเวลาในการหยุดเดินเครื่ องจักร
▪ มาตรการป้องกันและแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อม
จัดทามาตรการลด VOCs ❑ รายงานการดาเนินกิจกรรมการซ่อมบารุ งหรื อการซ่อมบารุ งใหญ่
จัดทามาตรการป้องกันและแก้ ไข ภายใน 60 วัน นับแต่วนั สิ้ นสุ ดการซ่อมบารุ งหรื อการซ่อมบารุ งใหญ่
ปัญหาสิ่งแวดล้อม (แบบ รว.10)
1) ข้อมูลโรงงาน
ติดตามผลกระทบ
2) ผลการปฏิบตั ิตามมาตรการลดการระบายสารอินทรี ยร์ ะเหย
ประเมินการระบาย VOCs ในช่วงซ่อมบารุ ง
3) ผลการติดตามผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมที่แนวรั้วขอบเขตโรงงาน
รายงานผล 4) ผลการประเมินการระบายสารอินทรี ยร์ ะเหยในช่วงซ่อมบารุ ง
58
22. ประกาศ อก. เรื่ อง การควบคุมการระบาย
ไอสารอินทรี ยร์ ะเหยจากถังกักเก็บ พ.ศ. 2565

ขึน้ ทะเบียนถังกักเก็บ การรายงานในระบบ


ปรับปรุงถังตามมาตรการควบคุม ➢ รายงานข้อมูลจาเพาะของถังกักเก็บ (แบบ รว.11)
ไอระเหย ➢ รายงานการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจาเพาะของถังกักเก็บ
(แบบ รว.11)
ตรวจสอบ ซ่ อมแซม ซ่ อมบารุง ➢ รายงานข้อมูลการใช้ถงั กักเก็บ ภายในวันที่ 1 มีนาคม
ของทุกปี (แบบ รว.12)
รายงานการใช้ ถังกักเก็บ • ปริ มาณและชนิดสารที่กกั เก็บ
ควบคุมการระบาย VOCs ให้ มี
• ปริ มาณการระบายไอสารอินทรี ยร์ ะเหย
ประสิ ทธิภาพ • ประสิ ทธิภาพของระบบควบคุมสารอินทรี ยร์ ะเหย

ประเมินการระบาย VOCs 59
กฎหมายทีอ่ ยู่ระหว่ างการพัฒนา

*ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว

60
กฎหมายทีอ่ ยู่ระหว่ างการพัฒนา

61
ถาม - ตอบ
กลุ่มมลพิษอากาศ
กองส่ งเสริ มเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โทร. 0 2430 6315 ต่อ 2410
62

You might also like