You are on page 1of 55

กฎหมายมลพิ ษอากาศ

ก อ ง ส่ ง เ ส ริ ม เ ท ค โ น โ ล ยี สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ร ง ง า น

ก ร ม โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ลักษณะมลพิ ษทางอากาศ
ก๊าซพิ ษ/ไอพิ ษ
/กลิ่นรบกวน

แสง/รังสี
/ความร้อน ลักษณะ
มลพิ ษ
ทางอากาศ
ค่าความทึบแสง
/ฝุน
่ ควัน

ระดับเสียง
/ความสั่น สะเทือน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
แหล่งกาเนิดมลพิ ษทางอากาศ

กระบวนการผลิต

การรัว
่ ระเหยจากอุปกรณ์/ถังเก็บสารเคมี

การกองเก็บวัตถุดิบและกากของเสีย

ระบบขนถ่ายสารเคมี

การเผาไหม้

ระบบบาบัดนา้ เสีย

เหตุการณ์ไม่คาดหมาย หรืออุบัติเหตุ

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ลักษณะการปลดปล่อย
stack Accident / uncontrolled

Fugitive/area

mobile

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ค่ามาตรฐานมลพิ ษอากาศ
ค่ามาตรฐานการระบายอากาศเสียจากปลายปล่อง
1 ค่ามาตรฐานทั่วไป จากปล่องระบายอากาศเสีย
ค่ามาตรฐานเฉพาะประเภทอุตสาหกรรม กฎหมายโรงงาน
ค่ามาตรฐานตามประเภทเชื้อเพลิงที่ใช้
ค่ามาตรฐานเฉพาะรายโรงงาน EIA / เงื่อนไขการประกอบกิจการ

2 ค่ามาตรฐานภายในบริเวณพื้ นที่ปฏิบัติงาน

กฎหมายแรงงาน

ค่ามาตรฐานในบรรยากาศ
3
กฎหมายสิ่งแวดล้อม

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
การตรวจสอบ/ตรวจวัด
โดยทั่วไปไม่กาหนดระยะเวลาการตรวจวัด
ยกเว้นกรณีให้มีการรายงาน

หากถูกตรวจสอบ ต้องระบายไม่เกินค่ากาหนด

ตรวจวัดโดยห้องปฏิบัติการที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานรัฐ หรือมหาวิทยาลัยที่มีห้องปฏิบัติการ
และการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้อง

ี ี่กาหนด
ตรวจวัดโดยวิธท

ตรวจวัดพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง และตามที่ EIA /


เงื่อนไขการประกอบกิจการกาหนด

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
การจัดทารายงาน

โรงงาน 16 ลักษณะการประกอบกิจการ และ


่ ข
2 กลุ่มทีม ่ าหนด
ี นาดหรือการใช้สารหรือระบายสารทีก
ให้วัดคุณภาพอากาศทีร่ ะบายออก
(ตามที่กาหนดให้จัดทา EIA และต้องมีผู้ควบคุมสิ่งแวดล้อม) ทุก 6 เดือน

โรงงานอีก 3 ลักษณะการประกอบกิจการ
่ ข
และ 2 กลุ่มทีม ี นาดหรือการใช้สาร ให้รายงานปีละ 2 ครั้ง
หรือระบายสารทีก ่ าหนด

(ไม่เข้าข่ายต้องมีผู้ควบคุม) ตามพารามิเตอร์
่ าหนด
อย่างน้อยทีก
่ รายงาน ให้เก็บรายงานไว้ที่
กรณีไม่กาหนดให้สง
สถานประกอบการ ซึ่งสามารถให้เจ้าหน้าทีต
่ รวจดูได้

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง กาหนดค่าปริมาณ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549
ของสารเจือปนในอากาศทีร

่ ะบายออกจากโรงงาน”
“อากาศทีร คืออากาศที่ระบายออก
สาระ จากปล่อง หรือช่อง หรือท่อระบายอากาศของโรงงานไม่ว่าจะ
ผ่านระบบบาบัดหรือไม่ก็ตาม
สาคัญ

“ระบบปิด” ้ เพลิงหรือวัตถุดิบทีม
คือ ระบบการเผาไหม้เชือ ่ ีการออกแบบ
ให้มีการควบคุมปริมาตรอากาศและสภาวะแวดล้อมในการเผาไหม้

“ระบบเปิด” ้ เพลิงหรือวัตถุดิบทีไ่ ม่มีการออกแบบ


คือ ระบบการเผาไหม้เชือ
ให้มีการควบคุมปริมาตรอากาศและสภาวะแวดล้อมในการเผาไหม้

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง กาหนดค่าปริมาณของ
่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549 (ต่อ)
สารเจือปนในอากาศทีร

Industrial Boiler Production Process

TSP 240-320 mg/m3 Antimony 16 mg/m3 TSP 320-400 mg/m3 Antimony 20 mg/m3
NOx 200-400 ppm Arsenic 16 mg/m3 SO2 500 ppm Arsenic 20 mg/m3
SO2 60-950 ppm Cu 24 mg/m3 CO 870 ppm Cl 30 mg/m3
CO 690 ppm Cl 24 mg/m3 Hg 3 mg/m3 HCl 200 mg/m3
Hg 2.4 mg/m3 HCl 160 mg/m3 Pb 30 mg/m3 H2S 100 ppm
Pb 24 mg/m3 H2S 80 ppm Cu 30 mg/m3 H2SO4 25 ppm

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง กาหนดค่าปริมาณของ
่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549 (ต่อ)
สารเจือปนในอากาศทีร

การใช้เชื้อเพลิง การรายงานผลการตรวจวัดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ

กรณีโรงงานใช้เชื้อเพลิงร่วมกัน
ตัง
้ แต่ 2 ประเภทขึน ้ ไป ในกรณีที่ไม่มีการเผาไหม้ ในกรณีที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง ให้คานวณผลที่
อากาศที่ระบายออกจากโรงงาน เชื้อเพลิง ให้คานวณผลที่ - ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท
ต้องมีค่าปริมาณสารเจือปนใน - ความดัน 1 บรรยากาศ หรือ - อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
อากาศไม่เกินค่าที่กาหนด สาหรับ ที่ 760 มิลลิเมตรปรอท ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
- อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
เชื้อเพลิงประเภททีม่ สี ด
ั ส่วน
ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
การใช้มากทีส่ ด
ุ - โดยมีปริมาตรออกซิเจนใน
อากาศเสีย ณ สภาวะจริง
ขณะตรวจวัด ระบบปิด ระบบเปิด
โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกิน โดยมีปริมาตรออกซิเจน
ในการเผาไหม้ (Excess Air) ในอากาศเสีย ณ สภาวะ
ร้อยละ 50 หรือ มีปริมาตร จริงขณะตรวจวัด
ออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7
กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ
ที่ระบายออกจากโรงงานผลิต ส่ง หรือจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า พ.ศ. 2547

บังคับใช้กับ โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า เท่านั้น


กาหนดค่ามาตรฐานการระบาย
โรงไฟฟ้าเก่า: ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการ มลพิ ษอากาศ 3 พารามิเตอร์
โรงงานหรือใบอนุญาตขยายโรงงาน ก่อนวันที่
31 ม.ค. 2539
TSP SO2 NOx
สาระ โรงไฟฟ้าใหม่: ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการ
สาคัญ โรงงานหรือใบอนุญาตขยายโรงงาน ตั้งแต่ กาหนดแตกต่างกันตามชนิด
วันที่ 31 ม.ค. 2539 โรงไฟฟ้า เก่า - ใหม่ - เดิม

โรงไฟฟ้าเดิม: โรงไฟฟ้า 9 ราย

การรายงานผลตรวจวัด
ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง
(Dry Basis) โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ (Excess Air) ร้อยละ 50 หรือ
ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7
กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน กรณีการใช้นา้ มันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์
เป็นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548

บังคับใช้กับ
โรงงานที่ใช้
นา้ มันใช้แล้วที่ผ่านกระบวน เชื้อเพลิงจาก
เชื้อเพลิงสังเคราะห์
การปรับคุณภาพ หมายถึง
หมายถึง น้ามันใช้แล้วที่
น้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการทาง
ผ่านกระบวนการผสมกับวัสดุที่ไม่
กายภาพหรือทางเคมีเพื่ อปรับคุณภาพ
ใช้แล้วชนิดต่าง ๆ จนมีคุณภาพ
ให้สามารถนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้
ในการนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้
โดยไม่มีการนาเอาวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้ว
ชนิดอื่น ๆ มาผสมกับน้ามันใช้แล้ว

*คุณลักษณะของน้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ เป็นไปตาม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดลักษณะของนา้ มันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการ
ปรับคุณภาพ และเชื้อเพลิงสังเคราะห์ท่จ ี ะนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรมเพื่ อทดแทน
นา้ มันเตา พ.ศ. 2547

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน กรณีการใช้นา้ มันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์
เป็นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 (ต่อ)
บังคับใช้กับ
ประเภทโรงงาน
โรงงานประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการถลุง หลอม
รีด ดึง หรือผลิตเหล็ก โรงงานผลิต ส่ง หรือ หม้อไอน้า (Boiler) ใน
หรือเหล็กกล้าในขั้นต้น จาหน่ายพลังงานไฟฟ้า กระบวนการผลิตทั่วไป

โรงงาน โรงงาน โรงงาน อุปกรณ์ให้ความร้อน


หม้อไอนา้
ลาดับที่ 59 ลาดับที่ 60 ลาดับที่ 88 (Heating Device)

โรงงานประกอบกิจการ ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของ
เกี่ยวกับการถลุง ผสม โรงงานลาดับที่ 58 (1) โรงงาน
ทาให้บริสุทธิ์ หลอม รีด ประกอบกิจการเกี่ยวกับการทา
ดึง หรือผลิตโลหะ ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์
ในขั้นต้น ซึ่งไม่ใช่เหล็ก คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิปซัม
หรือเหล็กกล้า หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์
การรายงานผลตรวจวัด ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ (Excess Air) ร้อยละ 50 หรือ ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7
กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
โรงงาน กรณีการใช้นา้ มันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์
เป็นเชื้อเพลิงในเตาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 (ต่อ)

ชนิดสารเจือปน ปริมาณกาหนด หน่วย


TSP 240 mg/m3
SO2 800 ppm
NOX 200 ppm
HCl+HF 85 ppm
Dioxins/Furans 0.5 ngTEQ/m3
Hg 0.15 mg/m3
่ ม+ซีลีเนีย
พลวง+สารหนู+แคดเมีย ่ ม+เทลลูเรียม 0.65 mg/m3
่ ม+โคบอลต์+นิเกิล+
วาเนเดียม+โครเมีย 13.0 mg/m3
ทองแดง+ตะกั่ว+แมงกานีส+ดีบุก

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
ที่ระบายออกจากโรงงานปูนซีเมนต์ พ.ศ. 2549

กาหนดค่ามาตรฐานการระบาย
บังคับใช้กับ “โรงงานผลิตปูนซีเมนต์” เท่านั้น มลพิ ษอากาศ 3 พารามิเตอร์

การรายงานผล
TSP SO2 NOx
ตรวจวัด
สาระ
สาคัญ สาหรับหม้อเผาปูนซีเมนต์ทั่วไป: ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสที่สภาวะแห้ง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการ
เผาไหม้ (Excess Air) ร้อยละ 50 หรือ ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7

สาหรับหม้อเย็น: ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท


่ ภาวะแห้ง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรออกซิเจน
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ทีส
ในอากาศเสีย ณ สภาวะจริงขณะตรวจวัด

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณเขม่าควันที่เจือปน
ในอากาศที่ระบายออกจากปล่องของหม้อนา้ ของโรงงาน พ.ศ. 2549

บังคับใช้กับโรงงานที่มีการใช้ หม้อไอนา้ ขนาดตั้งแต่ 1 ตันขึน


้ ไป ของโรงงานจาพวก 3 ทุกประเภท
ที่ไม่ได้กาหนดปริมาณเขม่าเป็นการเฉพาะ
ยกเว้นหม้อไอนา้ ที่ใช้ LPG และ NG เป็นเชื้อเพลิง

กาหนดค่าความทึบแสง ไม่เกินร้อยละ 10 ใช้ผู้ตรวจวัดครัง


้ ละ 2 คน ยืนห่าง 3 เท่า
เมื่อตรวจวัดด้วยแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์ ของความสูงปล่อง แต่ไม่เกิน 400 เมตร

ต้องมีแสงพอที่จะสังเกตความเข้ม
ของเขม่าควัน ให้ดวงอาทิตย์อยู่ ผู้ตรวจวัดต้องผ่านการทดสอบและ
ด้านหลังของผู้ตรวจวัดมากที่สุด ขึ้นทะเบียนกับกรมควบคุมมลพิ ษ
(ไม่ย้อนแสง)

ตรวจวัดในสภาวะหม้อนา้
สาระ ผู้ตรวจวัดอยู่ในทิศตั้งฉากกับ
การเคลื่อนที่ของกลุ่มควัน
มีการทางานปกติ
สาคัญ สังเกตจุดที่ควันหนาแน่นที่สุด

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง กาหนดค่าปริมาณเขม่าควันที่เจือปน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
ในอากาศที่ระบายออกจากปล่องของหม้อนา้ ของโรงงาน พ.ศ. 2549 (ต่อ)

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง กาหนดค่าปริมาณเขม่าควันทีเ่ จือปนในอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
ที่ระบายออกจากปล่องของหม้อนา้ โรงสีข้าวที่ใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง พ.ศ. 2549

บังคับใช้กับ
หม้อน้าของโรงสีข้าว
ที่ใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง
ในการเผาไหม้

ค่ามาตรฐาน
ปริมาณเขม่าควัน
เมื่อตรวจวัดด้วย
แผนภูมเิ ขม่าควันของริงเกิลมานน์

ไม่เกินร้อยละ 10

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออก
จากโรงงานกลั่นนา้ มันปิโตรเลียม พ.ศ. 2553

บังคับใช้กับ
• โรงกลั่นปิโตรเลียมเก่า: ได้รับอนุญาตก่อน 26 ตุลาคม 2553
• โรงกลั่นน้ามันใหม่: ได้รับอนุญาตหลัง 26 ตุลาคม 2553

กาหนดค่าการระบายตามแหล่งกาเนิด/ชนิดของเชื้อเพลิง: TSP, SO2,


NO2, CO, H2S, Hg, Pb

โรงกลั่นปิโตรเลียมใหม่กาหนดค่ามาตรฐานเข้มข้นขึ้น: TSP, CO, NOx


เฉพาะหน่วยผลิตที่กาหนด

การรายงานผลการตรวจวัดให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ
หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 ºC ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ (Excess Air) ร้อยละ 50
หรือ มีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดปริมาณของสารเจือปนใน
อากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555

กาหนดค่ามาตรฐาน การรายงานผลการตรวจวัดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ

ให้คานวณผลที่
พารามิเตอร์ท่ก
ี าหนด:
TSP, SO2, NOx as NO2, - ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท
CO, HCl, HF, Pb, As - อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)

▪ NOx 1,750 ppm


▪ Pb 5 ppm
▪ As 1 ppm
ระบบปิด ระบบเปิด
โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ โดยมีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย
(Excess Air) ร้อยละ 50 หรือ มีปริมาตร ณ สภาวะจริงขณะตรวจวัด
ออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ
ที่ระบายออกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2559

ปรับลดค่ามาตรฐานให้เข้มงวด
บังคับใช้กับ โรงแยกก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) เท่านั้น กว่าประกาศ ทส.
TSP 60 mg/m3
ใช้กับแหล่งกาเนิดมลพิ ษ ได้แก่
boiler, furnace, gas turbine, SO2 50 ppm
on shore compressor station, NOx
สาระ waste heat recovery,
150 ppm
สาคัญ thermal oxidizer CO 550 ppm
H2S 60 ppm
การรายงานผลการตรวจวัดให้คานวณผลที่
ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท Hg 0.06 mg/m3
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียสที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
โดยมีปริมาตรอากาศส่วนเกินในการเผาไหม้ (Excess Air)
ร้อยละ 50 หรือ ปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ร้อยละ 7

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศ
่ ะบายออกจากโรงงานผลิตเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตและโรงงานผลิตเหล็กแท่งเล็ก
ทีร
สาหรับเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต พ.ศ. 2564

“โรงงานผลิตเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต” หมายถึง
โรงงานผลิตเหล็กเส้นที่มีลักษณะหน้าตัดกลมหรือเหล็กเส้น กาหนดค่ามาตรฐาน
กลมที่มีบั้ง หรือครีบ ซึ่งอาจนาไปใช้เสริมคอนกรีตสาหรับงาน
ก่อสร้างทั่วไปได้
TSP 50 mg/m3
“โรงงานผลิตเหล็กแท่งเล็กสาหรับเหล็กเส้นเสริม
คอนกรีต” หมายถึง โรงงานผลิตเหล็กแท่งเล็กสี่เหลี่ยม SO2 500 ppm
สาระ จัตุรัสที่มีภาคตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือเหล็กแท่งเล็ก
NOx
สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีภาคตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่มีด้านยาว 180 ppm
สาคัญ ไม่เกิน 1.25 เท่าของด้านกว้าง โดยมีความยาวด้าน 50 มิลลิเมตร
ถึง 150 มิลลิเมตร ั คับ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2568
มีผลใช้บง

การรายงานผลตรวจวัดสาหรับ เตาหลอม, เตาอบ, และหม้อนา้ ให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ


หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis) และมีปริมาตรออกซิเจนใน
อากาศเสียร้อยละ 7

การรายงานผลตรวจวัดสาหรับ เตาหลอมประเภท Electric Furnace และกระบวนการที่ไม่มีการเผาไหม้


ให้คานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแห้ง (Dry Basis)
และมีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ณ สภาวะจริงขณะตรวจวัด

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
กฎกระทรวงว่าด้วยกาหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจาก
โรงงาน พ.ศ. 2548

ประเภทโรงงาน กลิ่น ค่าความเข้มกลิ่น ห้ามระบาย เรื่องร้องเรียน


(odour concentration)

บังคับใช้กับโรงงาน หมายความว่า สิ่งเจือปนใน หมายความว่า ค่าแสดง ห้ามโรงงานระบายอากาศ ตรวจวัดกลิน ่ เฉพาะ


ส่วนใหญ่ที่เป็น อากาศที่รู้ได้ด้วยจมูกของ สภาพกลิ่นซึ่งเป็นอัตราส่วน ที่มีค่าความเข้มกลิ่นเกิน โรงงานที่ถูกร้องเรียน
โรงงานผลิตอาหาร คนหรือเครื่องมือวิเคราะห์ การเจือจางตัวอย่างอากาศ มาตรฐาน ออกจากโรงงาน โดยใช้คนเป็นผู้ดมกลิ่น
ไม่ใช่สารเคมี ที่มีกลิ่นด้วยอากาศบริสุทธิ์ (sensory test)
จนเกือบจะไม่สามารถรับ
กลิน ่ ที่แรงกว่าจะมี
่ ได้ กลิน
ค่าความเข้มกลิ่นมากกว่า
เพราะต้องเจือจางด้วย
อากาศบริสุทธิ์ปริมาตร
มากกว่า โดยทาการวิเคราะห์
กลิน ่ ด้วยการดม
(sensory test)

ที่ตั้งโรงงาน ค่าความเข้มกลิ่นที่บริเวณรั้ว ค่าความเข้มกลิ่นที่ปล่องระบาย


เขตอุตสาหกรรม 30 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม 15 300

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
กฎกระทรวงว่าด้วยกาหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจาก
โรงงาน พ.ศ. 2548

ลาดับประเภทโรงงาน
ตรวจวัดกลิ่นเฉพาะโรงงาน ครอบคลุม 23 ประเภท
ที่ถูกร้องเรียน หรือราชการ กลิ่นอินทรีย์สาร
สงสัย
1 2 4 5
ใช้คนดมกลิ่นจึงไม่จาเป็นต้องรู้ชนิด 6 7 8 9 10
มลสาร (แต่ต้องไม่ใช่สารที่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อสุขภาพ)
11 12 13 15 16

บังคับใช้กับโรงงาน รวม 23 ประเภท 17 18 19 20 21


(ส่วนใหญ่เป็นโรงงานผลิตอาหาร)
29 30 43 92

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กาหนดค่าระดับเสียงการรบกวนและ
ระดับเสียงที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน พ.ศ. 2548

“ระดับเสียง
“เสียงรบกวน” “ระดับเสียพื้ นฐาน” ขณะมีการรบกวน”
“ระดับการรบกวน” วิธีการ

ระดับเสียงตรวจวัดนอก ระดับเสียงที่ตรวจวัดใน คือ ระดับเสียงที่ตรวจวัด คือ ระดับความแตกต่าง ให้เป็นไปตาม ประกาศ กรอ.


บริเวณโรงงาน ที่เกิดจาก สิ่งแวดล้อมเดิม ขณะยัง หรือคานวณจาก ระหว่างเสียงรบกวนกับ เรื่อง วิธีการตรวจวัดระดับ
การประกอบกิจการ ไม่มีเสียงรบกวนจากการ การประกอบกิจการขณะ เสียงพื้ นฐาน เสียงการรบกวน ระดับ
โรงงาน ขณะมีการรบกวน ประกอบกิจการ (ระดับ เกิดเสียงรบกวน เสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง และ
ซึ่งมีระดับเสียงสูงกว่า เสียงเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90) ระดับเสียงสูงสุดที่เกิดจาก
ระดับเสียงพื้ นฐาน และมี การประกอบกิจการโรงงาน
ระดับการรบกวน เกินกว่า พ.ศ. 2553
ค่าที่กาหนดไว้

ค่าระดับเสียงรบกวนจากการทางาน ไม่เกิน 10 เดซิเบล


ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชัว
่ โมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล
ค่าระดับเสียงสูงสุดจากการประกอบกจการโรงงาน ไม่เกิน 115 เดซิเบล

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กาหนดให้โรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือหรือ
เครื่องอุปกรณ์พิเศษเพื่ อรายงานมลพิ ษอากาศจากปล่องโรงงาน พ.ศ. 2565

โรงงานได้รับอนุญาต โรงงานได้รับอนุญาต/ส่วขยาย ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เมือ ่ วันที่ 10 มิถุนายน 2565


ก่อนประกาศ หลังประกาศ มีผลบังคับใช้ (365 วัน) ตั้งแต่วันที่ 10 มิถุนายน 2566

ดาเนินการให้แล้วเสร็จ ดาเนินการให้แล้วเสร็จ ่ งมือหรืออุปกรณ์พิเศษ


ข้อยกเว้นไม่ติดตั้งเครือ
ภายใน 10 มิถุนายน 2567 ก่อนเริ่มประกอบกิจการ ้ อุปกรณ์เครื่องมือลดหรือควบคุมมลพิ ษ
หน่วยผลิตติดตัง
โรงงาน หรือเริ่มส่วนขยาย + ผลตรวจวัด 10 ข้อมูล ไม่น้อยกว่า 2 ปี มีค่าไม่เกิน 10%
ขยายระยะเวลาได้ไม่เกิน ของค่ามาตรฐาน + แจ้งต่อกรมโรงงานฯ
31 ธันวาคม 2570
มีจุดเก็บตัวอย่าง + ไม่สามารถเจาะปล่องเพิ่ มเพื่ อ
ตรวจวัด TSP และ Flow rate + กรมโรงงานฯ เห็นชอบ
ขยายพื้ นที่บังคับใช้กับโรงงานทั่วประเทศ
หน่วยผลิตที่มีการใช้งานไม่เกิน 60 วัน/ปี
แก้ไขและเพิ่ มประเภท ขนาดของหน่วยการผลิตจาก
ประกาศเดิม 10 หน่วยการผลิต เป็น 13 หน่วยการผลิต เชื้อเพลิงมี S น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05% โดยน้าหนัก
+ ขอความเห็นชอบไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัด SO2
่ ้องตรวจวัดจากประกาศเดิมอีก
เพิ่ มรายการมลพิ ษ ทีต
4 รายการ ได้แก่ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S), ปรอท (Hg),
ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) และอัตราการไหล (Flow Rate) ใช้วิธีการประเมินผลจากระบบเผ้าระวังการระบายมลพิ ษแบบ
คาดคะเน (PEMS) แทน - เมื่อรัฐมนตรีประกาศกาหนด

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กาหนด สาระสาคัญ
หลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติในการตรวจสอบและ
ควบคุมการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยจาก โรงงานที่ต้องปฏิบัติตามประกาศฯ
อุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555 บังคับเฉพาะโรงงานลาดับที่ 42, 44, 49, 89
ที่มีหรือใช้ VOCs ตั้งแต่ 36 ตันต่อปี

กาหนดความเข้มข้น TVOCs
กาหนดความเข้มข้นของไอสารอินทรีย์ทั้งหมด
(ppmv) ตรวจที่อุปกรณ์ตา่ งๆ ยกเว้นที่เข้าไม่ถึง
หรือมีขนาดเล็กกว่า 2 นิ้ว dia. หรือตามที่ระบุ
ในประกาศฯ

ระยะที่ 1
ให้ใช้บังคับเป็นเวลา 2 ปี (จนถึง 1 มิ.ย. 57
ถึง ภายในการตรวจวัดรอบแรกของปี 2557)

ระยะที่ 2
ให้ใช้บังคับเมื่อพ้ นกาหนด 2 ปี (เริ่มใช้ใน
การตรวจวัดรอบที่ 2 ของปี 2557)

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
กฎหมายว่าด้วยแนวปฏิบัติท่ด
ี ี (COP) เพื่ อลดการปล่อยสารอินทรีย์ระเหย (VOCs)
จากกิจกรรมถังกักเก็บ หอเผาทิ้ง และการซ่อมบารุง

หอเผาทิ้ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การควบคุมการใช้
หอเผาทิ้ง พ.ศ. 2565
ถังกักเก็บ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การควบคุมการระบาย ซ่อมบารุง
ไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
ถังกักเก็บ พ.ศ. 2565 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การควบคุมการระบาย
ไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
การซ่อมบารุง พ.ศ. 2565

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
กฎหมายว่าด้วยแนวปฏิบัติท่ด
ี ี (COP) เพื่ อลดการปล่อยสารอินทรีย์ระเหย (VOCs)
จากกิจกรรมถังกักเก็บ หอเผาทิ้ง และการซ่อมบารุง

บังคับเฉพาะโรงงานลาดับที่

ลาดับที่ 42 ลาดับที่ 44
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ เคมีภัณฑ์ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิต
สารเคมี เฉพาะที่มีกาลังการผลิตรวม ยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์
ตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป และ/ พลาสติก หรือเส้นใยสังเคราะห์ เฉพาะที่มี
หรือมีการเก็บรักษา VOCs หรือใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีหริอ VOCs
รวมตั้งแต่ 100 ตันขึ้นไป เป็นวัตถุดิบรวมตัง
้ แต่ 100 ตันต่อวัน
ขึ้นไป
ลาดับที่ 49 ลาดับที่ 89
โรงงานกลั่นน้ามันปิโตรเลียม โรงงานผลิตก๊าซเฉพาะที่ประกอบกิจการ
เกี่ยวกับการแยกก๊าซธรรมชาติ

มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นไป

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหย
จากถังกักเก็บ พ.ศ. 2565

คานิยาม ถังกักเก็บ (Storage Tank)


สารอินทรีย์ระเหย (Volatile
ถังสาหรับเก็บรักษา VOCs ทีต่ ิดตั้งอยู่
Organic Compounds: VOCs)
้ ไป
กับที่ ขนาดตั้งแต่ 4,000 ลิตรขึน
ไม่รวมถึง
สารประกอบที่มีคาร์บอนอินทรีย์ (Organic
Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก และมี ❑ ถังความดัน (Pressure Tank)
ความดันไอมากกว่า 0.1 มิลลิเมตรปรอท ที่มีการออกแบบความดันมากกว่า
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi)
บรรยากาศ 750 มิลลิเมตรปรอท ยกเว้น ❑ ถังที่แปรเปลี่ยนปริมาตรได้
มีเทน คาร์บอนมอนอกไซด์ (Variable Vapor Space Tank)
คาร์บอนไดออกไซด์ โลหะคาร์ไบด์ หรือ ❑ ถังที่ใช้ในกระบวนการผลิต (Process
คาร์บอเนต แอมโมเนียมคาร์บอเนต Tanks/Vessels) เช่น ถังปฏิกรณ์
ตามบัญชีท้ายประกาศ 109 รายการ (Reactor) หอกลั่น (Distillation
Column) ถังที่เป็นทางผ่านของไหล
VOCs ในกระบวนการผลิตเพื่ อให้เกิดการไหล
อย่างต่อเนื่อง (Flow-through
Process Tank)

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
สารอินทรีย์ระเหย (Volatile Organic Compounds: VOCs)

พิ จารณาจากข้อมูล SDS ของสารเคมี :


ส่วนที่ 9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี

ความดันไอ 29 hPa ที่ 20๐C = 21.75 mmHg

มีความดันไอมากกว่า 0.1 มิลลิเมตรปรอท


ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส

* 1hPa = 0.75 mmHg

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหย
จากถังกักเก็บ พ.ศ. 2565

สาระสาคัญ
ข้อมูลจาเพาะ รายงานข้อมูลจาเพาะของถังกักเก็บ ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายใน 90 วัน หรือก่อนแจ้งเริ่มประกอบ
ของถังกักเก็บ
กิจการโรงงาน ตามแบบ รว.11

เมื่อมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลถังกักเก็บ
การเปลี่ยนแปลงข้อมูล ให้รายงานข้อมูลจาเพาะของถังกักเก็บ ตามแบบ รว.11

ปรับปรุงถังกักเก็บให้เป็นไปตามมาตรการควบคุม VOCs
มาตรการควบคุม (ภาคผนวก ข้อ 1)
กรณีไม่สามารถดาเนินการได้ ภายใน 1 ปี ให้แจ้งพร้อม
เหตุผล และขอขยายระยะเวลาดาเนินการ พร้อมระบุเหตุผลที่
ขอขยายระยะเวลาการดาเนินการดังกล่าว ให้กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม พิ จารณาเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ
การขอขยายระยะเวลา ไม่เกิน 15 ปี

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหย
จากถังกักเก็บ พ.ศ. 2565 (ต่อ)

สาระสาคัญ
ดาเนินการตามแนวทางการตรวจสอบ ซ่อมแซม และซ่อมบารุงถังกักเก็บ
แนวทางการตรวจสอบ (ภาคผนวก ข้อ 2)

รายงานข้อมูลภายในวันที่ 1 มีนาคม ของปีถัด ตามแบบ รว.12


การรายงานข้อมูล ข้อมูลการใช้ถังกักเก็บ
ปริมาณการระบายไอสารอินทรียร์ ะเหย*
ประสิทธิภาพของระบบควบคุมสารอินทรีย์ระเหย

การจัดเก็บเอกสาร ให้โรงงานจัดเก็บข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
เพื่ อการตรวจสอบเป็นระยะเวลา 2 ปี

ิ ี่ดส
*ประเมินตามคู่มือแนวปฏิบัตท ี าหรับการควบคุมและ
การลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยจากถังกักเก็บ
E-book COP Tank

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการใช้หอเผาทิ้ง พ.ศ. 2565

สารอินทรีย์ระเหย (Volatile หอเผาทิ้ง (Flare)


Organic Compounds: VOCs)
คานิยาม อุปกรณ์ที่ใช้เปลวไฟและอากาศที่ไม่ได้
ถูกควบคุมจากบริเวณโดยรอบเปลวไฟ
สารประกอบที่มีคาร์บอนอินทรีย์ (Organic ในการเผาไหม้ VOCs ที่ระบายออกจาก
Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก และมี กระบวนการผลิตหรือจากการกักเก็บสาร
ความดันไอมากกว่า 0.1 มิลลิเมตรปรอท ทั้งในลักษณะต่อเนื่อง และลักษณะเป็น
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และความดัน ช่วงไม่ต่อเนื่องกัน
บรรยากาศ 750 มิลลิเมตรปรอท ยกเว้น
มีเทน คาร์บอนมอนอกไซด์
คาร์บอนไดออกไซด์ โลหะคาร์ไบด์ หรือ
คาร์บอเนต แอมโมเนียมคาร์บอเนต
สารไฮโดรคาร์บอน
VOCs
(Hydrocarbons)
สารประกอบที่มีคาร์บอนอินทรีย์
(Organic Carbon) เป็น
องค์ประกอบหลัก
้ ที่รบ
ไม่ใช้บังคับกับหอเผาทิง ั เฉพาะก๊าซหรือ
อากาศเสียทีเ่ กิดจากระบบบาบัดน้าเสีย

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการใช้หอเผาทิ้ง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

สาระสาคัญ

ข้อมูลจาเพาะของหอเผาทิ้ง 1
รายงานข้อมูลจาเพาะของหอเผาทิ้ง
ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทาง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายใน 90 วัน
หรือก่อนแจ้งเริม
ตามแบบ รว. 7
่ ประกอบกิจการ 2 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล
รายงานการปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง
ข้อมูลหอเผาทิ้ง (หากมี) ภายใน 30 วัน
นับจากวันที่มีการปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง
รายงานการใช้หอเผาทิ้ง 3 ตามแบบ รว. 7
รายงานการใช้หอเผาทิ้งทุกเดือน ภายใน
วันที่ 15 ของเดือนถัดไป ตามแบบ รว.8

❑ อัตราการไหลและองค์ประกอบของก๊าซ
❑ ปริมาณรวมของสารอินทรีย์ระเหยที่ ิ ี่ดส
*ประเมินตามคู่มือแนวปฏิบัตท ี าหรับ
ระบายจากหอเผาทิง ้ * การควบคุมและการลดการปลดปล่อย
❑ รายละเอียดการใช้หอเผาทิ้ง สารอินทรีย์ระเหยจากการใช้หอเผาทิ้ง
E-book COP Flare

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการใช้หอเผาทิ้ง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

สาระสาคัญ
หอเผาทิง
้ เกิดควันดา 4
ควบคุมการทางานของหอเผาทิ้งไม่ให้เกิดควันดาที่
สามารถสังเกตุเห็นได้ด้วยตาเปล่า เกิน 10 นาที
ในช่วง 240 นาที (นับรวมการเกิดควันดาแบบต่อเนื่อง
และไม่ต่อเนื่อง) โดยใช้วิธี Method 22 ของ U.S. EPA
5 รายงานการเกิดควันดา
ให้รายงานรายละเอียดการเกิดควันดาที่เกินกาหนด
หรือพิ จารณาควันดาจากหอเผาทิง ้ ด้วยสายตา หรือ
ภายใน 45 วัน นับแต่วันเกิดเหตุ เป็นลายลักษณ์อักษร
จากภาพเคลื่อนไหวที่ถูกบันทึกด้วยอุปกรณ์
ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้
บันทึกภาพ หรือจากภาพที่ถูกส่งทางไกลอย่าง
❑ รายละเอียดการใช้หอเผาทิง้ ระยะเวลาที่เกิดควันดา
ต่อเนื่องจากอุปกรณ์บันทึกภาพในทันทีหรือภายหลัง
❑ รายงานผลการสืบสวนสาเหตุ
❑ มาตรการป้องกันหรือลดการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว
ในอนาคต
ตรวจสอบการทางาน 6
ต้องตรวจสอบการทางานของหอเผาทิ้งและ
ดาเนินการให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานตามที่ได้
ออกแบบไว้ 7 การจัดเก็บข้อมูล
จัดเก็บข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่ อ
การตรวจสอบเป็นระยะเวลา 2 ปี

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
การซ่อมบารุง พ.ศ. 2565

การซ่อมบารุงใหญ่
คานิยาม
การซ่อมบารุงเครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ การซ่อมบารุง
เกี่ยวเนื่องกับการประกอบกิจการโรงงานที่
ได้มีการวางแผนเตรียมการไว้ล่วงหน้าตาม
ช่วงเวลา เพื่ อดาเนินการซ่อมบารุงประจาปี การซ่อมบารุงเครื่องจักร และอุปกรณ์ที่
(Annual Shutdown) หรือการหยุด เกี่ยวเนื่องกับการประกอบกิจการโรงงาน
เดินเครื่องของโรงงานหรือหน่วยผลิตหลัก ที่ได้มีการวางแผนเตรียมการไว้ล่วงหน้า
(Turnaround) โดยมีการไล่ก๊าซหรือ ซึ่งต้องหยุดการผลิตบางส่วนที่ไม่ใช่
ของเหลวออกจากกระบวนการผลิต และหรือ การซ่อมบารุงใหญ่ โดยมีการไล่ก๊าซหรือ
มีการเปิดเครื่องจักรและอุปกรณ์ ของเหลวออกจากกระบวนการผลิต และ
ทั้งนี้ ครอบคลุมตั้งแต่การหยุดเครื่องจักร หรือมีการเปิดเครื่องจักรและอุปกรณ์
การซ่อมบารุง และการเริ่มเดินเครื่องจักร ทั้งนี้ ครอบคลุมตั้งแต่การหยุดเครื่องจักร
การซ่อมบารุง และการเริ่มเดินเครื่องจักร

เครื่องจักร/อุปกรณ์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับสารอินทรีย์ระเหย

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
การซ่อมบารุง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

สารอินทรีย์ระเหย (Volatile
Organic Compounds: VOCs)
คานิยาม

สารประกอบที่มีคาร์บอนอินทรีย์ (Organic ระบบควบคุมไอสารอินทรีย์ระเหย


Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก และมี (Vapor Control System)
ความดันไอมากกว่า 0.1 มิลลิเมตรปรอท
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และความดัน ระบบท่อ ถัง อุปกรณ์ทีใ่ ช้รวบรวม
บรรยากาศ 750 มิลลิเมตรปรอท ยกเว้น ไอVOCs และอุปกรณ์ควบคุมใด ๆ
มีเทน คาร์บอนมอนอกไซด์ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่ อลดการระบาย
คาร์บอนไดออกไซด์ โลหะคาร์ไบด์ หรือ VOCs สู่บรรยากาศ ทีม ่ ีประสิทธิภาพ
คาร์บอเนต แอมโมเนียมคาร์บอเนต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 หรือมีการ
ระบายVOCs น้อยกว่า 500 ppm
VOCs

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
การซ่อมบารุง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

แจ้งการซ่อมบารุงใหญ่ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ก่อนดาเนินการไม่น้อยกว่า 30 วัน ตามแบบ รว.9

จัดทาแผนการซ่อมบารุงหรือซ่อมบารุงใหญ่ โดยแผนต้องมีมาตรการ ดังนี้

❑ มาตรการลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหย
❑ มาตรการป้องกันและแผนการตอบสนองเหตุที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน
❑ มาตรการกรณีที่การซ่อมบารุงไม่เป็นไปตามแผน

ให้ดาเนินการทางานภายใต้ระบบการอนุมัติการทางาน (Permit) ดังนี้

❑ ตัดแยกอุปกรณ์ แล้วดาเนินการไล่สารอินทรีย์ระเหยออกจากกระบวนการผลิตจนมีค่าน้อยกว่า 10% LEL


หรือน้อยกว่า 10,000 ppm
❑ ควบคุมการระบายก๊าซหรือของเหลวออกจากกระบวนการผลิต โดยส่งไปยังถังแยกสถานะ ภาชนะปิด
หรือระบบควบคุมไอสารอินทรีย์ระเหย (ประสิทธิภาพไม่ต่ากว่า 95%)
ั้ แยกพื้ นที่เพื่ อป้องกันการฟุ ง
❑ กรณีไล่สารออกจากระบบไม่ได้ ให้กน ้ กระจาย

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
่ ง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหยจาก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ
การซ่อมบารุง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

ในช่วงการซ่อมบารุงใหญ่ ให้ติดตามผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่แนวรั้วขอบเขตของโรงงานเพื่ อ
เฝ้าระวังระดับความเข้มข้นสาร VOCs ในบรรยากาศที่แนวรั้วของโรงงาน โดยให้เก็บตัวอย่าง
อากาศต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง จานวนไม่น้อยกว่า 4 จุด ตามวิธี Method TO-17 หรือ Method
TO-15 ช่วงก่อนและระหว่างการซ่อมบารุงใหญ่

ให้ตรวจวัดข้อมูลอุตนุ ิยมวิทยา และจัดทาผังลม ตลอดช่วงเวลา


ที่เก็บตัวอย่างอากาศในบรรยากาศที่แนวรัว้ ขอบเขตของโรงงาน
กรณีไม่สามารถทาได้ใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาจากสถานีตรวจวัด
ใกล้เคียงกับจุดตรวจวัด
*ประเมินตามคู่มือแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับการควบคุมและ
การลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยในช่วงซ่อมบารุง

ต้องประเมินปริมาณการระบายสาร VOCs* จากการซ่อมบารุงและการซ่อมบารุงใหญ่


E-book COP MSS

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การควบคุมการระบายไอสารอินทรีย์ระเหย
จากการซ่อมบารุง พ.ศ. 2565 (ต่อ)

รายงานผลการดาเนินกิจกรรมการซ่อมบารุงใหญ่หรือซ่อมบารุง ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบ
ภายใน 60 วัน ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบ รว.10

ซ่อมบารุงใหญ่ ซ่อมบารุง

❑ การควบคุมไอสารอินทรีย์ระเหย ❑ การควบคุมไอสารอินทรีย์ระเหย
❑ ผลการติดตามผลกระทบด้านสิง ่ แวดล้อมที่แนวรัว
้ ❑ ผลการประเมินปริมาณการระบายสารอินทรีย์ระเหย
ขอบเขตโรงงาน
❑ ผลการประเมินปริมาณการระบายสารอินทรีย์ระเหย

จัดเก็บข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่ อการตรวจสอบเป็นระยะเวลา 2 ปี

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
การส่งรายงาน

ภายใน ภายใน ภายใน


ไม่น้อยกว่า 30 วัน
วันที่ 15 ของเดือน วันที่ 1 มี.ค. ของทุกปี
วันที่ 30 ก.ค. 66 ก่อนเริม
่ ดาเนินการ
ถัดไป

ลงทะเบียน แจ้งซ่อม การใช้


การใช้
ต้องลงทะเบียนหอเผาทิง

หอเผาทิ้ง บารุงใหญ่ ถังกักเก็บ
ก่อน ถึงจะสามารถ
หอเผาทิ้ง รว.8* รว.9* รว.12*
รว.7* รายงาน รว.8 ได้

ภายใน 60 วัน รายงานผ่าน


กรณีควันดา ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ภายใน 45 วัน หลังดาเนินการ ของ กรอ.
นับแต่วันเกิดเหตุ
ถังกักเก็บ รายงานซ่อม
รว.11* บารุงและ
ซ่อมบารุงใหญ่
ลายลักษณ์อักษร รว.10*

* รายงานผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของ กรอ. “ระบบการรายงานสารอินทรีย์ระเหยในกิจกรรมหอเผาทิง


้ ถังกักเก็บ และการซ่อมบารุง (ส่วนผู้ประกอบการ)”

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
01 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (มาตรฐานปลายปล่อง)

02 กลิ่น

03 เสียง

04 ่ งมือหรือเครือ
ติดตั้งเครือ ่ งอุปกรณ์พิเศษ

05 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการระบายสาร VOCs

06 การรายงาน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ระบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิ ษที่ระบายออกจากโรงงาน

เป็นรายงานสารมลพิ ษนา้ และอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน โดยประกอบด้วย

แบบรายงานข้อมูลทั่วไป (แบบ รว.1)

แบบรายงานมลพิ ษนา้ (แบบ รว.2)


รว.

แบบรายงานมลพิ ษอากาศ (แบบ รว.3)

แบบรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหย
จากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม (รว.3/1)

ส่งรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น
กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิ ษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558

กาหนดวิธีการได้ข้อมูลการจัดทารายงาน

01 ❑ การตรวจวัดโดยตรง (ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของทางราชการ หรือเอกชนที่ขึ้น


ทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม)
❑ การคานวณโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์ คานวณทางวิศวกรรม สมดุลมวล

กาหนดการรายงานผล กรณีมีการเผาไหม้เชื้อเพลิง

02 ❑ เชื้อเพลิงของแข็งหรือของเหลว: NOx as NO2, SO2, TSP


❑ เชือ
❑ เชือ
้ เพลิงก๊าซชีวภาพ: NOx as NO2, SO2, CO
้ เพลิงก๊าซอื่นที่ไม่ใช่ก๊าซชีวภาพ: NOx as NO2, CO

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิ ษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 (ต่อ)

03 กาหนดการรายงานผลพารามิเตอร์อื่นๆ ตามที่กฎหมาย และ EIA กาหนด

กาหนดให้โรงงานที่มีผู้ควบคุมสิ่งแวดล้อมและโรงงานที่ EIA กาหนดต้อง


04 จัดทารายงาน

กาหนดเพิ่ มอีก 4 ประเภทอุตสาหกรรมที่ต้องจัดทารายงาน


05 (ไม่มีผู้ควบคุมสิ่งแวดล้อม) + 1 ประเภทอุตสาหกรรม

06 จัดส่งรายงานในรอบ 6 เดือน ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 2 เดือน

ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมเก็บรักษาไว้ที่โรงงาน 1 ชุด


07 เพื่ อตรวจสอบ

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิ ษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 (ต่อ)

กรณีเข้าข่ายุคลากรด้านมลพิ ษอากาศ หรือเข้าข่ายต้องจัดทารายงานมลพิ ษอากาศ


08 ให้ใช้แบบรายงานมลพิ ษอากาศ (รว.3) ใช้การตรวจวัดจริงที่ปลายปล่องหรือการคานวณ

กาหนดรอบการรายงานเป็น 2 รอบ
09 ❑ รอบที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย.) รายงานภายใน 1 ก.ย.
❑ รอบที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค.) รายงานภายใน 1 มี.ค.

ิ ารที่ได้รับ
กรณีใช้วิธีการตรวจวัด ต้องใช้ผลการตรวจวัดจากห้องปฏิบัตก
10 การขึ้นทะเบียน

กรณีกรมโรงงานอุตสาหกรรมพิ จารณาแล้วเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์
11 โรงงานต้องดาเนินการแก้ไขภายใน 45 วัน

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสาร
มลพิ ษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 (ต่อ)

โรงงานต้องมี
บุคลากร
โรงงานที่ ด้านสิ่งแวดล้อม โรงงานต้องทา
ต้องทา EIA
รายงาน รว.
2
1 3

โรงงานที่ไม่ต้องมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม ดังนี้
❑ การทากระดาษที่ทาจากเส้นใยหรือไฟเบอร์ ตั้งแต่
50 ตันต่อวันขึ้นไป
❑ การผลิตแก้ว เส้นใยแก้ว หรือผลิตภัณฑ์แก้วที่มีเตาหลอม
❑ มีหม้อน้าใช้เชื้อเพลิงแข็งหรือเหลวตั้งแต่10 ตันไอน้า หรือ
หม้อน้าใช้เชื้อเพลิงก๊าซตั้งแต่ 20 ตันไอน้า
❑ ใช้ VOCs ตั้งแต่ 36 ตัน/ปี
❑ โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเหล็กหรือเหล็กกล้า
ที่มีกาลังการผลิตแต่ละชนิดหรือรวมกันตัง ้ แต่
100 ตันต่อวันขึ้นไป
กฎหมายมลพิ ษอากาศ
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ่ ง การรายงานผลการตรวจวัดการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหย
จากอุปกรณ์ และการซ่อมแซมอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556

สาระสาคัญ

ประเภทโรงงาน

บังคับใช้กับโรงงานลาดับที่ 42, 44, 49 และ 89 ทีม


่ ีหรือ
ใช้สาร VOCs ในกระบวนการผลิต ตั้งแต่ 36 ตันต่อปีขึ้นไป
การรายงาน
(ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กาหนด
หลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติในการตรวจสอบและควบคุม
จัดทาบัญชีรายชื่ออุปกรณ์ โดยให้รายงานปริมาณ การรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์ ในโรงงาน
สารอินทรีย์ระเหยรวมในรูปมีเทน (Total Volatile อุตสาหกรรม พ.ศ. 2555)
Organic Compounds: TVOC, as Methane)
ตามแบบรายงาน รว.3/1

กฎหมายมลพิ ษอากาศ
THANK
YOU
ติ ด ต่ อ ส อ บ ถ า ม โทร. 0 2430 6315 ต่ อ 2410

You might also like