You are on page 1of 8

ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ

ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

กฏกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) หมวด 4 การควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ 17 ตุลาคม 2535 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2535 ออกตามความใน ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม กระทรวงอุตสาหกรรม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ขอ 16 หามระบายอากาศเสียออกจากโรงงาน เวนแตไดทํา
การอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางจนอากาศที่ระบายออกนั้น
มีปริมาณ ของสารเจือปนไมเกินกวาคาที่รัฐมนตรีกําหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาแต ทั้งนี้ตองไมใชวิธีทําให
เจือจาง (dilution)

กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2539) ขอ 16 ทวิ ในกรณีที่มีระบบฟอกอากาศ ผูประกอบกิจการโรงงาน 22 สิงหาคม 2539 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2535 ออกตามความใน ตองปฏิบัติ ดังตอไปนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 (1) ตองติดตั้งมาตรวัดปริมาณการใชไฟฟาสําหรับระบบ
ฟอกอากาศโดยเฉพาะไวในที่ที่ งายตอการตรวจสอบ และ
ตองมีการจดบันทึกเลขหนวยและปริมาณการใชไฟฟา
ประจําวันดวย
(2) ในกรณีที่มีการใชสารเคมีในระบบฟอก ตองมีการจดบันทึก
การใชสารเคมีในการ ฟอกอากาศประจําวันและมีหลักฐานใน
การจัดหาสารเคมีดังกลาวดวย
ขอ 16 ตรี กําหนดใหตองมีระบบฟอกอากาศตองติดตั้งเครื่องมือ
หรือเครื่องอุปกรณเพื่อรายงานการระบาย อากาศเสียออกจาก
โรงงานเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรของกรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ดวย
(1) ติดตั้งเครื่องวัดอัตราการไหลของอากาศเสียออกจากโรงงาน
โดยเครื่องวัดอัตราการไหล ของอากาศเสียออกจากโรงงานและ
มาตรวัดปริมาณการใชไฟฟาสําหรับระบบฟอกอากาศจะตอง
สามารถใหสัญญาณไฟฟาอยางตอเนื่อง
(2) ติดตั้งระบบปรับเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาจากเครื่องวัดอัตรา
การไหลของ อากาศเสียออกจากโรงงานและมาตรวัดปริมาณ
การใชไฟฟาสําหรับระบบฟอกอากาศเปนสัญญาณที่สามารถ
จัดสงไปไดไกลดวยระบบเครื่องขายคมนาคมประเภทตาง ๆ
(3) จัดใหมีการติดตั้งอุปกรณและการสงสัญญาณของคาวิเคราะห
หรือคาทึ่วัดไดตาม (2) ทางโทรศัทพ หรือวิทยุ หรือสัญญาณ
ดาวเทียมอยางตอเนื่อง ตลอดเวลาหรือเปนครั้งคราว

1
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

กฎกระทรวงอุตสาหกรรม ขอ 2 กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับกับโรงงานลําดับที่ 15 3 มิถุนายน 2539 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


ออกตามพระราชบัญญัติโรงงาน ขอ 3 หามโรงงานระบายอากาศที่มีกลิ่นออกจาก กระทรวงอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2535 โรงงาน เวนแตไดทําการอยางใดอยางหนึ่ง
เรื่อง กําหนดมาตรฐานและวิธีการ หรือหลายอยางจนอากาศที่ระบายออกนั้นมีคา
ตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน ความเขมกลิ่นไมเกินคาที่กําหนดในขอ 4
พ.ศ. 2548 ขอ 4 ตัวอยางกลิ่นจากโรงงาน ตองมีคาความ
เขมกลิ่นไมเกินคาที่กําหนดไว ดังตอไปนี้
ที่ตั้งโรงงาน
เขตอุตสาหกรรม
คาความเขมกลิ่นที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตภายในโรงงาน เทากับ 30
คาความเขมกลิ่นที่ปลองระบายอากาศของโรงงาน เทากับ 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม
คาความเขมกลิ่นที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตภายในโรงงาน เทากับ 15
คาความเขมกลิ่นที่ปลองระบายอากาศของโรงงาน เทากับ 300

2
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ขอ 2 โรงงานประเภทตาง ๆ ตามที่กําหนดในประกาศนี้ตองติดตั้ง 22 มกราคม 2545 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


เรื่อง กําหนดใหโรงงานประเภทตาง ๆ เครือ่ งมือ หรือเครื่องอุปกรณพิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพ กระทรวงอุตสาหกรรม

ตองติดตั้งเครื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ อากาศจากปลองแบบอัตโนมัติ ดังนี้


ลําดับที่ ขนาดของหนวยการผลิต ประเภทโรงงาน คาตาง ๆ ของเครื่องมือหรือเครื่อง หมายเหตุ
พิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจาก ในโรงงาน อุปกรณพิเศษที่ตองตรวจวัด
1 หนวยผลิตพลังงานไฟฟาที่มี โรงงานลําดับที่ 88 ความทึบแสง หรือฝุน 1) หากเชื้อเพลิงไมมี
ปลองแบบอัตโนมัติ พ.ศ. 2544 กําลังการผลิตตอหนวย ตั้งแต 29 ตามกฎกระทรวง ละออง กาซซัลเฟอร กํามะถันไมตองตรวจวัด
เมกกะวัตต (MW) ขึ้นไป (พ.ศ. 2535) หรือโรงงาน ไดออกไซด (SO2) ออกไซด SO2
ลําดับอื่น ๆ ที่มีแหลงกําเนิด ของไนโตรเจน (NOX) 2) หากเชื้อเพลิงเปน
มลพิษในทํานองเดียวกัน กาซออกซิเจน (O2) กาซธรรมชาติไม
ตองตรวจวัด SO2
และความทึบแสง
หรือฝุนละออง

2 หมอน้ําหรือแหลงกําเนิดความ โรงงานทุกลําดับ ความทึบแสง หรือฝุน 1) หากเชื้อเพลิงไมมี


รอนที่มีขนาด 30 ตันไอน้ําตอ ตามกฎกระทรวง ละออง กาซซัลเฟอรได กํามะถันไมตอง
ชั่วโมงหรือ 100 เมกกะมิลเลี่ยน (พ.ศ. 2535) ออกไซด (SO2) ออกไซด ตรวจวัด SO2
บีทียู (MMBTU) ตอชั่วโมงขึ้น ของไนโตรเจน (NOX) 2) หากเชื้อเพลิงเปน
ไป และกาซออกซิเจน (O2) กาซธรรมชาติไม
ตองตรวจวัด SO2
และความทึบแสง
หรือฝุนละออง

3 หนวยผลิตซีเมนต ปูนขาว หรือ โรงงานลําดับที่ 57 ความทึบแสง หรือฝุน


ปูนปลาสเตอร อยางใดอยาง ตามกฎกระทรวง ละออง
หนึ่งหรือหลายอยาง ทุกขนาด (พ.ศ. 2535)
ในสวนของหมอเผา (Kiln) และ
Clinker cooler

4 หนวยผลิตเยื่อหรือกระดาษอยาง โรงงานลําดับที่ 38 ความทึบแสง หรือ


ใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ทุก ตามกฎกระทรวง ฝุนละออง และTotal
ขนาดในสวนของ Recovery (พ.ศ. 2535) Reduced Sulfur (TRS)
furnace Lime kiln
Digestor Brown stock washer
Evaporator และ Condensate
stripper system

5 หนวยกลั่นน้ํามันปโตรเลียม ทุก โรงงานลําดับที่ 49 สําหรับ FCCU : ความทึบ


ขนาด ตามกฎกระทรวง แสง หรือฝุนละออง กาซ
ในสวนของ Fluid Catalytic (พ.ศ. 2535) ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2)
Cracking และกาซคารบอนมอนนอก
Unit (FCCU) Fuel oil ไซด (CO) สําหรับ Fuel oil
combustion unit combustion unit: SO2 และ
Sulfur Recovery Unit (SRU) กาซออกซิเจน (O2) สําหรับ
SRU : SO2 และ O2

3
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ขอ 3 อากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ตองมีคาปริมาณของ 4 ธันวาคม 2549 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


เรื่อง กําหนดคาปริมาณของสารเจือปน สารเจือปนแตละชนิดไมเกินที่กําหนดไว ดังตอไปนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม
ในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน 1. ฝุนละออง มาจากแหลงกําเนิดความรอน
พ.ศ. 2549 ที่ใชเชื้อเพลิงน้ํามันเตา
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิงไมเกิน 240 มก./ลบ.ม.
มาจากแหลงกําเนิดการผลิตทั่วไป
-ไมมีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 400 ppm
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 320 ppm
2. คารบอนมอนอกไซด
-ไมมีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 870 ppm
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 690 ppm
3.ซัลเฟอรไดออกไซด
มาจากแหลงกําเนิดความรอนที่ใชเชื้อเพลิงน้ํามันเตา
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 950 ppm
มาจากแหลงกําเนิดการผลิตทั่วไป
-ไมมีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 500 ppm
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมมี
13. ออกไซดของไนโตรเจน
มาจากแหลงกําเนิดความรอนที่ใชเชื้อเพลิงน้ํามันเตา
- มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ไมเกิน 200 ppm

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ขอ 2 อากาศที่ระบายออกจากปลองหมอน้ําโรงงานจําพวกที่ 3 4 ธันวาคม 2549 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


เรื่อง กําหนดคาปริมาณเขมาควันที่เจือปที่มีขนาดกําลังการผลิตไอน้ําตั้งแต 1 ตันตอชั่วโมงขึ้นไป ตองมี กระทรวงอุตสาหกรรม
ในอากาศที่ระบายออกจากปลอง เขมาควันเจือปนอยูในปริมาณที่ทําใหเกิดคาความทึบแสง
ของหมอน้ําของโรงงาน พ.ศ. 2549 เมื่อตรวจวัดดวยแผนภูมิเขมาควันของริงเกิลมานนไมเกินรอยละ 10
ขอ ๓ การตรวจวัดความทึบแสงใหตรวจวัดในขณะประกอบกิจการ
โรงงาน และหมอน้ํามีการทํางานปกติ
ขอ 5 ประกาศนี้ใหใชบังคับสําหรับประเภทโรงงานใด ๆ ที่ไมได
กําหนดคาปริมาณเขมาควันที่เจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
ปลองของหมอน้ําไวเปนการเฉพาะ

4
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ขอ /2 โรงงานในพื้นที่เขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 17 กุมภาพันธ 2550 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


เรื่อง การสงขอมูลเขาสูระบบตรวจสอบนิคมอุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก กระทรวงอุตสาหกรรม
คุณภาพอากาศจากปลองแบบอัตโนมัติ (มาบตาพุด) (เดิมชื่อนิคมอุตสาหกรรมตะวันออก) นิคม
อยางตอเนื่อง (Continuous Emission อุตสาหกรรมเอเซีย จังหวัดระยอง ใหจัดสงรายงานผลการ
Monitoring Systems : CEMS) ตรวจวัดไปที่ศูนยรับขอมูลสํานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
พ.ศ. 2550 การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ขอ 3 โรงงานที่มีเงื่อนไขการอนุญาต ใหติดตั้งเครื่องมือหรือ
เครื่องอุปกรณพิเศษ เพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปลองแบบ
อัตโนมัติอยางตอเนื่อง ที่ตั้งอยูนอกเขตนิคมอุตสาหกรรมในตําบล
มาบตาพุดและตําบลหวยโปง อําเภอเมือง จังหวัดระยอง ใหจัดสง
รายงานผลการตรวจวัดไปที่ศูนยรับขอมูล สํานักงานนิคม
อุตสาหกรรมมาบตาพุด การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ขอ 4 สําหรับโรงงานที่มีเงื่อนไขการอนุญาต ใหติดตั้งเครื่องมือ
หรือเครื่องอุปกรณ พิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปลอง
แบบอัตโนมัติอยางตอเนื่อง ที่ตั้งในพื้นที่อื่นนอกเหนือจาก ขอ 2
และขอ 3 ใหจัดสงรายงานผลการตรวจวัดไปที่ศูนยรับขอมูล
ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือศูนยรับขอมูลที่กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมเห็นชอบ

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ขอ 4 ใหจัดทํารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออก 10 สิงหาคม 2553 กรมโรงงานอุตสาหกรรม


เรื่อง กําหนดประเภทหรือชนิดของ จากโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
โรงงานที่ตองจัดทํารายงานชนิดและ ขอ 6 การรายงานมลพิษอากาศในแบบ รว. 3 ใหใชผลตรวจวัด
ปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจาก จริงในการรายงานหรือใชคาการคํานวณกรณีเปนการระบาย
โรงงาน พ.ศ. 2553 ในลักษณะฟุงกระจาย
ขอ 8 การรายงานตามแบบรายงาน รว. 1 รว. 2 และ รว. 3
ใหจัดสงผานระบบอิเล็คทรอนิกสที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กําหนด โดยใหรายงานงวดที่ 1 ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม
และรายงานงวดที่ 2 ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปถัดไป

พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา หมวด 4 การควบคุมมลพิษ 29 มีนาคม 2535 กระทรวงวิทยาศาสตร


คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ สวนที่ 4 มลพิษทางอากาศและเสียง เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
พ.ศ. 2535 เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษมีหนาที่ตองติดตั้ง
หรือจัดใหมีระบบบําบัดอากาศเสีย อุปกรณหรือเครื่องมืออื่นใด
สําหรับการควบคุม กําจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมีผลกระทบ
ตอคุณภาพอากาศตามที่เจาพนักงานควบคุมมลพิษกําหนด เวนแต
จะไดมีระบบ อุปกรณหรือเครื่องมือดังกลาว

5
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม - คาเฉลี่ยของกาซซัลเฟอรไดออกไซด ในเวลา 24 ชั่วโมง จะตอง 22 กันยายน 2547 กระทรวงทรัพยากร


แหงชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) ไมเกิน 0.12 สวนในลานสวน หรือไมเกิน 0.30 ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร และคามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic
ในบรรยากาศโดยทั่วไป Mean) ในเวลา 1 ป จะตองไมเกิน 0.04 สวนในลานสวน
หรือไมเกิน 0.10 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
- คาเฉลี่ยของฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน ในเวลา
24 ชั่วโมง จะตองไมเกิน 0.12 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร และ
คามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ในเวลา 1 ป
จะตองไมเกิน 0.05 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
- คาเฉลี่ยของฝุนละอองรวมหรือฝุนละอองขนาดไมเกิน 100
ไมครอน ในเวลา 24 ชั่วโมง จะตองไมเกิน 0.33 มิลลิกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร และคามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic
Mean) ในเวลา 1 ป จะตองไมเกิน 0.10 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร”

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ขอ 2 ใหสถานประกอบกิจการที่ใชหมอไอน้ํา ดังตอไปนี้ เปน 9 ธันวาคม 2548 กระทรวงทรัพยากร


และสิ่งแวดลอม แหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสีย ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดใหสถานประกอบกิจการ ออกสูบรรยากาศ
ที่ใชหมอไอน้ําเปนแหลงกําเนิดมลพิษ (1) โรงงานจําพวกที่ ๓ ทุกประเภทโรงงานตามกฎหมายวาดวย
ที่ตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียโรงงาน เวนแตโรงงานประกอบการสี ฝด หรือขัดขาว และ
ออกสูบรรยากาศ โรงงานผลิตสง หรือจําหนายพลังงานไฟฟา
(2) โรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตามกฎหมาย
วาดวยสถานพยาบาล
(3) โรงแรมตามกฎหมายวาดวยโรงแรม
(4) สถานอาบน้ํา นวดหรืออบตัว ซึ่งมีผูใหบริการแกลูกคาตาม
กฎหมายวาดวยสถานบริการ
(5) สนามบิน ตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ
(6) สถานประกอบกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพตามกฎหมาย
วาดวยการสาธารณสุข
ขอ 3 หามมิใหเจาของหรือผูครอบครองสถานประกอบกิจการที่ใช
หมอไอน้ําตามขอ 2 ปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ เวนแต
จะไดทําการบําบัดอากาศเสียใหเปนไปตามประกาศกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
คาความทึบแสงของเขมาควันจากสถานประกอบกิจการ
ที่ใชหมอไอน้ํา แตทั้งนี้ ตองไมใชวิธีทําใหเจือจาง (dilution)

6
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ขอ 2 อากาศเสียแตละชนิดที่ปลอยทิ้งจตองมีคาไมเกินกวา 18 พฤษภาคม 2549 กระทรวงทรัพยากร


และสิ่งแวดลอม มาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม ทีก่ ําหนดไว ดังนี้
การปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงาน คาปริมาณของอากาศเสียที่ปลอยทิ้งจาก
ชนิดของอากาศเสีย แหลงที่มาของอากาศเสีย กระบวนการผลิตที่ไมมี การเผาไหมเชื้อเพลิง
อุตสาหกรรม การเผาไหมเชื้อเพลิง การเผาไหมเชื้อเพลิง
๑. ฝุนละออง ๑.๑ หมอไอน้ํา หรือแหลงกําเนิด
(Total Suspended ความรอนที่ใชเชื้อเพลิง ดังนี้
Particulate) (๑) น้ํามันเตา - ไมเกิน ๒๔๐
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร) (๒) ถานหิน - ไมเกิน ๓๒๐
(๓) ชีวมวล - ไมเกิน ๓๒๐
(๔) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน ๓๒๐
๑.๒ การถลุง หลอหลอม รีดดึง ไมเกิน ๓๐๐ ไมเกิน ๒๔๐
และ/หรือผลิต อะลูมิเนียม - -
๑.๓ กระบวนการผลิต ไมเกิน ๔๐๐ ไมเกิน ๓๒๐

๒. กาซซัลเฟอรไดออกไซด ๒.๑ หมอไอน้ํา หรือแหลงกําเนิด


(Sulfur dioxide) ความรอนที่ใชเชื้อเพลิง ดังนี้
(สวนในลานสวน) (๑) น้ํามันเตา - ไมเกิน ๙๕๐
(๒) ถานหิน - ไมเกิน ๗๐๐
(๓) ชีวมวล - ไมเกิน ๖๐
(๔) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน ๖๐
๒.๒ กระบวนการผลิต ไมเกิน ๕๐๐ -
๓. กาซออกไซดของ หมอไอน้ํา หรือแหลงกําเนิด
ไนโตรเจนซึ่งคํานวณในรูป ความรอนที่ใชเชื้อเพลิง ดังนี้
ของกาซไนโตรเจน (๑) น้ํามันเตา
ไดออกไซด (Oxides of (๒) ถานหิน - ไมเกิน ๒๐๐
nitrogen as (๓) ชีวมวล - ไมเกิน ๔๐๐
Nitrogen dioxide) (๔) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน ๒๐๐
(สวนในลานสวน) - ไมเกิน ๒๐๐

๔. กาซ กระบวนการผลิต กระบวนการผลิต กระบวนการผลิต


คารบอนมอนอกไซด
(Carbon monoxide)
(สวนในลานสวน)
๕. กาซไฮโดรเจนซัลไฟด กระบวนการผลิต ไมเกิน ๑๐๐ ไมเกิน ๘๐
(Hydrogen sulfide)
(สวนในลานสวน)
๖. กาซไฮโดรเจนคลอไรด ไมเกิน ๒๐๐ ไมเกิน ๑๖๐

ประกาศกระทรวงทรัพยากร ขอ 3 หามมิใหเจาของหรือผูครอบครองโรงงานอุตสาหกรรม 18 พฤษภาคม 2549 กระทรวงทรัพยากร


ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โรงงานอุตสาหกรรมปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรม ออกสูบรรยากาศ เวนแตจะไดทําการบําบัดอากาศเสีย
เปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตอง บําบัดอากาศเสียใหเปนไปตามมาตรฐานควบคุม
ถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสีย การปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานตามที่กําหนดไว
ออกสูบรรยากาศ ในประกาศกระทรวง เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการ
ปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงาน แตตองไมใชวิธีทําใหเจือจาง
(ประเภทชนิดโรงงานอยูตามทายประกาศ)
7
ทะเบียนกฎหมายดานมลพิษทางอากาศ
ชื่อเรื่อง สาระสําคัญของกฎหมายที่เกี่ยวของ วันที่ประกาศ หนวยงานที่บังคับใช

2(1)(5)(9), 9(1), 11(3)(6), 15(1)(2) 22(1)-(4), 34(1), 36(1)(3)(4),


37, 38(1)(2), 42(1)(2), 43(1)(2), 49, 52(1)-(4), 53(7), 57(1)-3),
59, 60, 64(1)(2)(4)(5)(6)(7)(8)(9)(10)(11)(12)(13), 95(1), 101

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ขอ 2 กําหนดมาตรฐานคาความเขมกลิ่นของอากาศเสียที่ปลอยทิ้ง 11 มกราคม 2553 กระทรวงทรัพยากร


และสิ่งแวดลอม จากแหลงกําเนิดมลพิษไวดังตอไปนี้ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดมาตรฐานคาความเขมกลิ่น ที่ตั้งโรงงาน
ของอากาศเสียที่ ปลอยทิ้งจากแหลง เขตอุตสาหกรรม
กําเนิดมลพิษ คาความเขมกลิ่นที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตของแหลงกําเนิดมลพิษ เทากับ 30
คาความเขมกลิ่นที่ปลองระบายอากาศเสียของแหลงกําเนิดมลพิษ
เทากับ 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม
คาความเขมกลิ่นที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตของแหลงกําเนิดมลพิษ เทากับ 15
คาความเขมกลิ่นที่ปลองระบายอากาศเสียของแหลงกําเนิดมลพิษ เทากับ 300

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ขอ 2 ใหโรงงานอุตสาหกรรมตามบัญชีทายประกาศนี้เปน 11 มกราคม 2553 กระทรวงทรัพยากร


และสิ่งแวดลอม ถูกแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองควบคุมคาความเขมกลิ่นของ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เรื่อง กําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรม อากาศเสียที่ปลอยทิ้งออกสูบรรยากาศ
บางประเภทและบางขนาดเปนแหลง ขอ 3 หามมิใหเจาของหรือผูครอบครองโรงงานอุตสาหกรรมตาม
กําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมคา ขอ 2 ปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ เวนแตอากาศเสียจะมี
ความเขมกลิ่นของอากาศเสียที่ปลอยทิ้ง ลักษณะเปนไปตามมาตรฐานคาความเขมกลิ่นที่กําหนดไวใน
ออกสูบรรยากาศ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง
กําหนดมาตรฐานคาความเขมกลิ่นของอากาศเสียที่ปลอยทิ้งจาก
แหลงกําเนิดมลพิษ แตทั้งนี้ ตองไมใชวิธีทําใหเจือจาง (Dilution)

ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม กําหนดมาตรฐานฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน 24 มีนาคม 2553 คณะกรรมการ


แหงชาติฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2553) ในบรรยากาศโดยทั่วไป สิ่งแวดลอมแหงชาติ
เรื่อง กําหนดมาตรฐานฝุนละออง - ในเวลา 24 ชั่วโมง มีคาไมเกิน 0.05 มก. / ลบ.ม.
ขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน ในบรรยากา - ในเวลา 1 ป มีคาไมเกิน 0.025 มก. / ลบ.ม.
โดยทั่วไป

You might also like