You are on page 1of 75

ภาชนะรับความดัน / ภาชนะรับแรงดัน

: Pressure Vessel
นายประเวศ บุญน้อม
- สถานทีทํางาน : การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
เหมืองแม่เมาะ จ.ลําปาง
- วุฒิวศิ วกรเครื องกล วก.1007
- อนุกรรมการ สาขาวิศวกรรมเครื องกล สภาวิศวกร
สมัยปั จจุบนั
- บุคลากรเฉพาะด้านความรับผิดชอบต่อสังคมประจ
โรงงาน ประเภท1 เลขทะเบียน16300364
ภาชนะรัรับความดัน Pressure Vessel

3.4 – 4.1 bar


8 - 17 bar

2 bar 138 bar


กฎกระทรวง
01 การกกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และด เนินการดํานค
วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภพพแวดล้ อมในการทํางาน
เกียวกับเครื องจักร ปันจัน และหม้ อนํา พ.ศ.
พ ๒๕๖๔
กฎกระทรวง
02
หัวข้ อ
กําหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
พ.ศ. 2565 และข้ อบังคับสภาวิศวกร 2567
03 NFPA

04 Pressure Vessel
ระบบก๊ก๊าซทางการแพทย์
ซทาง
05
06 การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปั นจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
“หม้อนํา ” (boiler) หมายความว่า ภานะปิ ดทีผลิตนําร้อนหรื อไอนําทีมีความดันสู งกว่าบรรยากาศโดยใช้ความร้อนจากการสันดาป ข
เชือเพลิงหรื อความร้อนจากพลังงานอืน

“ หม้อต้มทีใช้ของเหลวเป็ นสื อนําความร้อน ” (thermal fluid heater) หมายความว่า ภาชนะทีภายในบรรจุของเหลวทีมีคุณสมบัติในก


รับและถ่ายเทควาร้อนได้ โดยรับควาร้อนจากการสันดาปของเชือเพลิงหรื อแหล่งความร้อนจากพลังงานอืน เพือนําไปถ่ายเทความร้อน
ให้กบั อุปกรณ์ แลกเปลียนความร้อนโดยของเหลวจะไหลเวียนตลอดเวลาเพือรับและถ่ายเทความร้อนได้อย่างต่อเนือง

“ภาชนะรับความดัน ” (pressure vessel) หมายความว่า ภาชนะปิ ดทีมีความดันภายในภาชนะและภายนอกภาชนะแตกต่างกันมากกว่า


๕๐ กิโลปาสคาลขึนไป และให้หมายความรวมถึง ถังปฏิกิริยา (reactor)
reactor) แต่ไม่รวมถึงภาชนะบรรจุก๊าซทนความดัน

“ภาชนะบรรจุก๊าซทนความดัน ” (compressed gas cylinder) หมายความว่า ภาชนะรับความดันทีใช้สาํ หรับบรรจุก๊าซแบบไม่มีตะเข็บ


ั ๐.๕ ลิตร ถึง ๕๐๐ ลิตร แต่ไม่รวมถึงภาชนะบรรจุก๊าซ
ขนาดความจุตงั แต่ ๐.๕ ลิตร ถึง ๑๕๐ ลิตร และแบบมีตะเข็บขนาดควํามจุตแต่
ปิ โตรเลียมเหลว ก๊าซธรรมชาติอดั และก๊าซธรรมชาติเหลว (ไม่
ไม่รวม LPG, CNG, LNG)
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564

สรุป ข้ อ 113 ข้ อ114 และ ข้ อ115


กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงฯ เกียวกับ เครื องจักร ปันจัน และหม้อนํา พ.ศ.
พ 2564
กฎกระทรวงมหาดไทยฯ 2565/ ข้อบังคับสภาวิศวกร 2566
กฎกระทรวงมหาดไทยฯ 2565 / ข้อบังคับสภาวิศวกร 2566
กฎกระทรวงมหาดไทยฯ 2565
ประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมเครื องกล

งานวางโครงการ
ภาชนะรับแรงดัน กรณีใดกรณีหนึง ดังนี
๑) มีมูลค่าตังแต่สามสิ บล้านบาทต่อโครงการขึนไป
๒) ใช้งานในอาคารทีมีพืนทีใช้สอยในอาคารตังแต่ ๒,๐๐๐ ตารางเมตรขึนไป
๓) ใช้งานในอาคารทีสามารถรองรับผูใ้ ช้สอยพืนทีตังแต่สองร้อยคนขึนไป

ระบบของไหลในท่ อรับแรงดันหรื อสุ ญญากาศ


๑) มีมูลค่าตังแต่สามสิ บล้านบาทต่อโครงการขึนไป
๒) มีขนาดกําลังของไหลตังแต่ ๑๐๐ กิโลวัตต์ขึนไป
๓) ใช้งานในอาคารทีมีพืนทีใช้สอยในอาคารตังแต่ ๒,๐๐๐ ตารางเมตรขึนไป
๔) ใช้งานในอาคารทีสามารถรองรับผูใ้ ช้สอยพืนทีตังแต่สองร้อยคนขึนไป
กฎกระทรวงมหาดไทยฯ 2565
ประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมเครื องกล
านออกแบบและคํานวณ
าชนะรับแรงดัน : ทุกขนาด
ะบบของไหลในท่อรับแรงดันหรื อสุ ญญากาศ กรณี ใดกรณี หนึง ดังนี
๑) มีความดันเกจของไหลในท่อตังแต่ ๕๐๐ กิโลปาสกาลขึนไป
๒) มีสุญญากาศเกจตํากว่าลบ ๕๐ กิโลปาสกาล งานพิจารณาตรวจสอบ

งานอํานวยการใช้ : ภาชนะรับแรงดัน กรณี ใดกรณี หน


านควบคุมการสร้างหรื อการผลิต ดังนี
าชนะรับแรงดัน กรณี ใดกรณี หนึง ดังนี ๑) มีความดันเกจตังแต่ ๑,๓๐๐ กิโลปาสกาลขึนไป
๑) มีความดันเกจตังแต่ ๕๐๐ กิโลปาสกาลขึนไป ๒) มีปริ มาตรตังแต่ ๑๐ ลูกบาศก์เมตรต่อหน่วยขึนไป
๒) มีปริ มาตรตังแต่ ๑ ลูกบาศก์เมตรต่อหน่วยขึนไป
ข้อบังคับสภาวิศวกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ
สาขาวิศวกรรมเครื องกล พ.ศ.
พ ๒๕๖๖

กรณี ระดับสามัญวิศวกร
งานอานวยการใช้
- ภาชนะรับแรงดันทีมีความดันเกจไม่เกิน ๕,๐๐๐ กิโลปาส
หรื อมีปริ มาตรไม่เกิน ๕๐ ลูกบาศก์เมตรต่อถัง
- ระบบของไหลในท่อรับแรงดันหรื อสุ ญญากาศทีมีความด
จของไหลในท่อทุกขนาด เว้นแต่ของไหลเป็ นสารมีพิษหร
อันตรายตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมวัตถุอนั ตราย ทังนีม
หมายความรวมถึงสารทาความเย็นทัวไป
ข้อบังคับสภาวิศวกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ
สาขาวิศวกรรมเครื องกล พ.ศ.
พ ๒๕๖๖
ระดับภาคีวศิ วกร
งานอานวยการใช้
- ภาชนะรับแรงดัน
ทีมีความดันเกจไม่เกิน ๒,๐๐๐ กิโลปาสกาลหรื อมีปริ มาตรไม่เกิน ๓๐ ลูกบาศก์เมตรต่อถัง

- ระบบของไหลในท่อรับแรงดันหรื อสุ ญญากาศ ดังนี


๑) ทีมีความดันเกจของไหลในท่อไม่เกิน ๒,๐๐๐ กิโลปาสกาล เว้นแต่ของไหลเป็ นสารมีพิษหรื อวัตถุอนั ตรายตาม
กฎหมายว่าด้วยการควบคุมวัตถุอนั ตราย ทังนี มิให้หมายความรวม ถึงสารทาความเย็นทัวไป
๒) สุ ญญากาศเกจ ไม่ต่ากว่าลบ ๘๐ กิโลปาสกาล เว้นแต่ของไหลเป็ นสารมีพิษหรื อวัตถุอนั ตรายตามกฎหมายว่าด้วย
การควบคุมวัตถุอนั ตราย ทังนี มิให้หมายความรวมถึง
สารทาความเย็นทัวไป
ข้อบังคับสภาวิศวกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ
สาขาวิศวกรรมเครื องกล พ.ศ.
พ ๒๕๖๖
ทฤษฏีและหลักวิชาการทีเกียวข้อง แนวคิดในการออกแบบ ระบบก๊าซทางการแพทย์

ในการออกแบบและค านวณระบบก๊าซทางการแพทย์ออกซิ เจน (Oxygen Pipe line) มีแนวคิดในการ ออกแบบให้สอดคล้องกับข้อ


กฎหมายและมาตรฐานต่างๆ ดังนี

1 การออกแบบต้ องอยู่ภายใต้ กฎหมาย / มอก.ประกอบด้ วย


1.1 กฎกระทรวงกําหนดมาตรการความปลอดภัยเกียวกับหม้อน้า หม้อต้มทีใช้ของเหลวเป็ นสื อ น าความร้อน และภาชนะรับ
แรงดันในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๙
1.2 มอก.87-2521 สี และสัญลักษณ์ส าหรับภาชนะบรรจุก๊าซทีใช้ในการแพทย์
1.3 มอก. 359-2523 ภาชนะบรรจุก๊าซทนความดันแบบไม่มีตะเข็บ
1.4 มอก. 540-2555 ออกซิเจนทีใช้ในทางการแพทย์
1.5 มอก. 358-2531 การใช้และการซ่อมบ ารุ งภาชนะบรรจุก๊าซทนความดัน
1.6 มอก. 1095- 2535 ข้อต่อลินภาชนะบรรจุก๊าซทีใช้ในการแพทย์
1.7 มอก. 255-2521 กลอุปกรณ์นิรภัยแบบระบายของถังก๊าซ
ทฤษฏีและหลักวิชาการทีเกียวข้อง แนวคิดในการออกแบบ ระบบก๊าซทางการแพทย์
การออกแบบต้องอยูภ่ ายใต้มาตรฐาน ประกอบด้วย
1 NFPA 99 Standard for. Health Care Facilities. 2018 Edition.
.2 NFPA 50 Standard for Bulk Oxygen Systems at Consumer Sites.
.3 NFPA 701 Standard Methods of Fire Tests for Flame Propagation of Textiles and Films
2.4 ASTM 136-99 Test Method for Behavior of. Materials in a Vertical Tube Furnace at 750°C
.5 ASTM B88 Standard Specification for Seamless Copper Water Tube.
2.6 ASTM B819 Standard Specification for Seamless Copper Tube for Medical Gas System.
.7 ISO 5359 specifies requirements for low-pressure
pressure hose assemblies intended for use with the following medical gases:
.8 CGA Pamphlet V-5 Diameter Index Safety System (Noninterchangeable
Noninterchangeable Low Pressure Connections for Medical Gas Applications)
.9 คู่มือระบบก๊าซทางการแพทย์ 2545
.10 มาตรฐานการก่อสร้าง กระทรวงสาธารณสุ ข 2553
ทฤษฏีและหลักวิชาการทีเกียวข้อง แนวคิดในการออกแบบ ระบบก๊าซทางการแพทย์

 ระบบจ่ ายก๊ าซออกซิเจน


 ออกแบบตามมาตรฐาน NFPA99
 ถังเก็บออกซิเจนเหลว
 ออกแบบตามมาตรฐาน ASME Section VIII หรื อ DIN EN 13458 CRYOGENIC VESSELS –
STATICS VACUUM INSULATED VESSELS และพิจารณาขนาดบรรจุตามปริ มาณการใช้และระยะเวลา
ในการจัดส่ ง นอกจากนี แรงดันออกแบบทีถังสามารถทนได้ควรจะเป็ นประมาณ 15 - 17 BarG
 Vaporizer
 ออกแบบตามมาตรฐาน ASME Section VIII และดูแรงดันที Vaporizer สามารถทนได้ รวมทังดูอตั ราการไหล
ออกแบบทีเหมาะสมกับปริ มาณการใช้ก๊าซออกซิ เจน
 ท่ อ
 เลือกใช้ท่อทองแดงตามมาตรฐาน ASTM B88 Type “L” ขนาดท่อต้องเลือกทีขนาดเหมาะสมไม่ทาํ ให้เกิด
แรงดันสู ญเสี ยมากกว่า 5 PSIG ต่อ 100 ฟุต
ทฤษฏีและหลักวิชาการทีเกียวข้อง แนวคิดในการออกแบบ ระบบก๊าซทางการแพทย์

 ระบบก๊าซสํ ารอง
 ตามมาตรฐาน NFPA ระบุให้ทาํ การสํารองปริ มาณก๊าซให้ใช้ได้ต่อเนือง 24 ชัวโมง หลังจากระบบจ่ายก๊าซออกซิ เจนมี
ปัญหา
 ชุดวาล์วลดแรงดันควรเป็ นแบบเปลียนระบบซ้าย – ขวา ได้อตั โนมัติดว้ ยการใช้แรงดันทีแตกต่างในการทํางาน
 วาล์ว และวาล์วลดแรงดัน
 วัสดุควรเป็ นทองเหลือง หรื อ Bronze หรื อ ทองเหลืองชุบ และควรเป็ น Ball Valve ส่ วนวาล์วลดแรงดันจะต้องสามารถปรับ
แรงดันขาออกได้ตามทีต้องการ ซึ งต้องสอดคล้องกับอัตราการไหลของก๊าซออกซิ เจนทีใช้งานด้วย

- วาล์ว ตัดตอน (Isolating valve) ทําหน้าทีตัดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากระบบวาล์ว เช่น Gate valve, Butterfly valve, Ball valve, Globe
valve เป็ นต้น
- วาล์ว กันกลับ (Check valve) ทําหน้าที ควบคุมทิศทางการไหล ไม่ให้ของของไหลไหลย้อนกลับได้ เช่น Swing check valve, Disco
check valve, Lift check valve เป็ นต้น
- วาล์ว ควบคุมความดันสู งสุ ด (Maximum
Maximum pressure control valves) หรื อวาล์วนิรภัยต่างๆ ใช้ในการควบคุมความดัน กับของเหลว ,
, ไอนํา เช่น Relief valves , Safety valves เป็ นต้น
NFPA
NFPA เป็ นชือย่อของ National Fire Protection Association ก่อตังขึนเมือปี ค.ศ. 1896 เป็ นองค์กรชัน
นําของโลกทีสนับสนุนกิจกรรมด้านการป้องกันอัคคีภยั สํานักงานใหญ่อยูท่ ีประเทศสหรัฐอเมริ กา ภารกิจหลัก
ของ
NFPA คือ จัดทําและสนับสนุนการกําหนดมาตรฐานทีพัฒนามาจากสถิติและข้อมูลความเสี ยหายจริ งของชีวติ และ
ทรัพย์สิน อันเนื องมาจากอัคคีภยั และอุบตั ิภยั ต่าง ๆ ด้วยวิธีประชามติ การวิจยั การฝึ กอบรม และการให้ความรู ้
โดยมีจุดมุ่งหมายทีจะลดปั ญหาและความสู ญเสี ยทีอาจเกิดขึนจากอัคคีภยั และอุบตั ิภยั ต่าง ๆ เพือคุณภาพชีวิตทีดี
ของประชากรโลก นอกจากนี NFPA ยังเป็ นแหล่งรวมข้อมูลทีสําคัญด้านความปลอดภัยของสาธารณชน มาตรฐาน
ความปลอดภัยของ NFPA กว่า 300 ประเภท
NFPA 99 : 2018
NFPA 99 : Standard for Health Care Facilities
NFPA 99 : Standard for Health Care Facilities
NFPA704 การสื อสารความเป็ นอันตรายทีใช้ ในห้ องปฏิบตั ิการ
ารสื อสารความเป็ นอันตรายทีใช้ในห้องปฏิบตั ิการ จะใช้ตาม
าตรฐาน NFPA 704 เป็ นการเตือนภัยส่ วนบุคคลเพือให้ง่ายและรวดเร็วทีจะได้
ราบว่าเป็ นวัสดุอนั ตรายชนิดใด
วิธีการปฏิบตั ิหรื อต้องการเครื องมือ เฉพาะอย่างไรบ้าง ใช้สัญลักษณ์
หลียมรู ปข้าวหลามตัด (Diamond shape) แบ่งเป็ น 4 ส่ วน สําหรับความ
นอันตรายจากความไวไฟ (สี แดง)
ช้ร่วมกับความเป็ นอันตรายด้านอืน ๆ

อันตรายต่อสุ ขภาพ (สี นาเงิ


ํ น)
การทําปฏิกิริยาทีเป็ นอันตราย
สี เหลือง)
ความเป็ นอันตรายเฉพาะอืนๆ เช่น ห้ามใช้นาในการดั
ํ บเพลิง การกัดกร่ อน กรด
เป็ นต้น (สี ขาว)

ระดับความเป็ นอันตรายทีมี ตัวเลขสู งจะมีความเป็ นอันตรายสู ง


วมถึงสัญลักษณ์ต่างๆ ทีบ่งบอกความ เป็ นอันตรายเฉพาะด้าน
NFPA 704
Pressure Vessel
Pressure Vessel ASME Section VIII
วัสดุ ( Material)
Pressure Vessel ASME Section VIII
วัสดุ ( Material)
GAS :WAGD : AGSS

WAGD

AGSS
ระบบก๊าซทางการแพทย์เบืองต้นทีควรทราบ
•ระบบก๊
ระบบก๊าซทางการแพทย์ (Medical
Medical Gas System)
System เป็ นระบบจ่ายก๊าซเพือใช้ใน
การรักษาพยาบาล ผูป้ ่ วยและใช้ช่วยการทํางานของเครื องมือแพทย์ ส่ วนระบบ
สุ ญญากาศ (Vacuum) ใช้สาํ หรับดูดของเหลวออกจากร่ างกายของผูป้ ่ วย เป็ นต้น

มาตรฐานของการติดตังและมาตรฐานอุปกรณ์ทีใช้ในระบบก๊าซทางการแพทย์
ส่ วนใหญ่อุปกรณ์จะได้มาตรฐาน NFPA 99 เป็ นเกณฑ์มาตรฐาน
ระบบก๊าชทางการแพทย์
NFPA 99 : Standard for Health Care Facilities

60 psig

19”-25” INHG
60 PSIG
0.67 - 0.85 bar

4.41
41 bar
8.3 bar
บบแก๊สทางการแพทย์
OXYGEN O2 (OXYGEN) เขียว 60 PSIG
NITROUS OXIDE N2OO (NITROUS OXIDE) นําเงิน 60 PSIG
MED AIR (Medical AED AIR) เหลือง 45- 60 PSIG
MED AIR (MED AIR) เหลือง 120-150 PSIG
NITROGEN N (NITROGEN) สี เทา 180 PSIG
VACUUM V (VACUUM) สี ขาว 19”-25”” INCH Hg
waste anaesthetic gas disposal : WAGD
Medical Gas System
GAS Central supply System
Source and storage system
สถานทีติดตังถังบรรจุออกซิเจนเหลว
Source and Storage system
ออกซิเจนเหลว
ออกซิเจนเหลว
กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริ หาร จัดการ และ
ดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทํางานเกียวกับเครื องจักร ปั นจัน และ
หม้อนํา พ.ศ.2564 ส่ วนที ๔ ภาชนะรับความดัน
จะต้องมี - การทดสอบตามกฎหมาย
- วัดว่าความเป็ นสุ ญญากาศของถัง
- วัดค่าความเป็ นฉนวน ในระหว่าง ถังเก็บออกซิเจน กับ ถังหุม้ ด้านนอกสุ ด
การติดตังระบบจ่ ายก๊ าซออกซิเจนโดยทัวไป
ระบบสํารอง ถังเก็บออกซิเจนเหลว

รัว

Vaporizer
ชุดลดแรงดันหลัก ชุดลดแรงดันต้นทาง
Piping or distribution system
Monitoring and control equipment
Point of use delivery connection
NFPA 99 : Standard for Health Care Facilities
แหล่งผลิตแก๊ส
ระบบสุ ญญากาศทางการแพทย์
ไม่ พบส่วนของรูปทีมี ID ความสัมพันธ์ rId4 ในแฟ้ มนี

12 – 30 INHG
(0.41-11 Bar)
ระบบสุ ญญากาศทางการแพทย์
MIDICAL AIR
INSTRUMENT AIR

90 – 160 INH
(3 – 5.4 Bar)
Piping
Piping
MIDICAL AIR
การใช้ และบํารุ งรักษา
การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
การบริ หารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัยฯ
ข้อควรระวังทีต้องดําเนินการ
• ห้ ามใช้ เปลวไฟเปิ ดในเขตปลอดภัย
• งานร้ อนจะต้ องกระทําโดยได้ รับอนุญาต เท่ านัน
• ตรวจสอบให้ แน่ ใจว่ าคราบนํามันและจาระบีทงหมดถู
ั กกําจัดออกไป;
ออกไป
Thank You

You might also like