You are on page 1of 17

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 2147 – 2546

กอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ


AUTOMATIC FAUCETS FOR SANITARY WARES

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 23.060.99 ISBN 974-687-056-4
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ

มอก. 2147 – 2546

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เลม 121 ตอนที่ 29ง


วันที่ 8 เมษายน พุทธศักราช 2547
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 607
มาตรฐานอุปกรณประกอบเครือ่ งสุขภัณฑ

ประธานกรรมการ
นางศิรทิ พิ ย อนุ อนุโลม ผทู รงคุณวุฒิ
กรรมการ
นายชวลิต ดุรยิ ประณีต ผแู ทนการเคหะแหงชาติ
นายสัทธา ปยะมัยคงเดช ผแู ทนการประปานครหลวง
นายเกียรติชยั ศิรกิ าญจนกูล ผแู ทนบริษทั เครือ่ งสุขภัณฑอเมริกนั สแตนดารด
(ประเทศไทย) จำกัด
นายสมชาย หอวงศรตั นะ ผแู ทนบริษทั สยามซานิทารีแวร จำกัด
นายไพบูลย ทศพรวิชยั ผแู ทนบริษทั ไทยอุตสาหกรรมเครือ่ งปน ดินเผา จำกัด
นายวิรชั พรอมประดิษฐ ผแู ทนบริษทั โคหเลอร จำกัด (มหาชน)
นายบัณฑูรย ปรปกษขาม ผแู ทนบริษทั สยามซานิทารีฟต ติง้ ส จำกัด
นายศุภกร บำเพ็ญศรี ผแู ทนบริษทั กะรัต ฟอเซท จำกัด
นายสิรพิ งศ อรรถอรุณวงศ
นางอรทัย ชวาลภาฤทธิ์ ผแู ทนคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นายไพบูลย สถาวรวงศ ผแู ทนบริษทั พี.เอส.เมทอลเวอกส จำกัด
นายบุญประเสริฐ ธัญลักษณมะระ ผแู ทนบริษทั เอ.อี.บราสแวร จำกัด
นายสมศักดิ์ เพ็ญรงุ เรืองกุล ผแู ทนบริษทั เพ็ญรงุ บาธฟตติง้ ส จำกัด
นายกิตติ ปฐมวิชยั วัฒน ผแู ทนบริษทั โกรเฮสยาม จำกัด
นายไพโรจน กูลมงคลรัตน ผทู รงคุณวุฒิ
นายวิชยั ทิชาชล ผทู รงคุณวุฒิ
นายศักรินทร สวัสดิผล ผทู รงคุณวุฒิ
นางสายพิณ สืบสันติกลุ ผทู รงคุณวุฒิ
กรรมการและเลขานุการ
นายสุธน นิคมเขต ผแู ทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

(2)
ปจจุบนั มีการทำกอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ ขึน้ ภายในประเทศโดยมีคณ ุ ภาพแตกตางกันเพือ่ ประโยชน
ของผใู ช และเพือ่ สงเสริมการทำผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมประเภทนี้ จึงกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมกอกน้ำ
อัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ ขึน้
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยใชขอ มูลจากผทู ำภายในประเทศ และเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
ASTM B 571-91 Test Methods for Adhesion of Metallic Coatings
JIS B 0203–1982 Taper Pipe Threads
JIS H 8617-1991 Electroplated coatings of nickel and chromium
มอก.1083-2535 การวัดความหนาของผิวชุบเคลือบโดยวิธกี ารใชกลองจุลทรรศน
มอก.1277-2542 กอกน้ำสำหรับอางลางชาม
มอก.1278-2542 กอกน้ำสำหรับอางลางหนา-ลางมือ
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีร้ บั มาตรฐานระหวางประเทศดังตอไปนีม้ าใชโดยการอางอิง
(1) ISO 7-1 : 1994 Pipe threads where pressure-tight joints are made on the threads-
Part 1 : Dimensions, tolerances and designation ในเรือ่ งเกลียว
(2) ISO 2409 : 1992 Paints and varnishes - Cross-cut test ในเรือ่ งการติดแนนของผิวเคลือบ
ภาคผนวก ก. แผนการชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหไวเปนเพียงขอแนะนำ

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3206 ( พ.ศ. 2547 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.2511


รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กอกน้ำอัตโนมัติ
สำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2147–2546 ไว ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2547


พินจิ จารุสมบัติ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 2147–2546

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ ครอบคลุมกอกน้ำอัตโนมัติสำหรับเครื่องสุขภัณฑที่ใหปริมาตรน้ำใน
1 นาที ไมมากกวา 6 ลูกบาศกเดซิเมตร ทีค่ วามดัน 0.10 เมกะพาสคัล โซลินอยดวาลวมีความดันใชงาน
ต่ำสุด 0.10 เมกะพาสคัล และสูงสุด 0.75 เมกะพาสคัล

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 กอกน้ำอัตโนมัตสิ ำหรับเครือ่ งสุขภัณฑ ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “กอกน้ำ” หมายถึง อุปกรณสำหรับ
เปดปดน้ำทีใ่ ชกบั อางลางหนา-ลางมือ หรืออางลางชาม หรืออางทีใ่ ชในทางการแพทย หรืออางทีใ่ ชในหอง
ปฏิบัติการทดสอบ สามารถเปดน้ำและปดน้ำไดเองโดยอัตโนมัติดวยสัญญาณที่ตัวรับรูจับได แลวสงไปยัง
แผงวงจรควบคุม ทำใหกลไกของโซลินอยดวาลวเปดปดเองโดยอัตโนมัติ และในกรณีทกี่ อ กน้ำอยใู นสภาวะ
เปดคางตองสามารถปดไดเองโดยอัตโนมัติ
2.2 กอกน้ำประเภทใชกบั อางลางหนา-ลางมือ หมายถึง อุปกรณสำหรับเปดปดน้ำทีใ่ ชกบั อางลางหนา-ลางมือ
2.3 กอกน้ำประเภทใชกบั อางลางชาม หมายถึง อุปกรณสำหรับเปดปดน้ำทีใ่ ชกบั อางลางชาม มีหวั กอกยาวและ
หันได
2.4 กอกน้ำแบบใชกบั น้ำเย็น หมายถึง กอกน้ำทีม่ ที างน้ำเขาทางเดียว และมีโซลินอยดวาลวตัวเดียว
2.5 กอกน้ำแบบใชกบั น้ำอนุ หมายถึง กอกน้ำทีม่ ที างน้ำเขาสองทาง คือ ทางน้ำเย็นและทางน้ำรอน มีโซลินอยดวาลว
ตัวเดียวหรือสองตัวก็ได
2.6 สภาวะเปดคาง หมายถึง สภาวะที่มีวัตถุหรือสิ่งของเขามากีดขวางอยูในระยะที่ตรวจจับไดของตัวรับรู
ทำใหกอ กน้ำเปดน้ำในชวงระยะเวลาหนึง่ โดยไมไดนำวัตถุหรือสิง่ ของนัน้ ออกไปจากระยะทีต่ รวจจับไดของ
ตัวรับรู

3. ประเภท และแบบ
3.1 กอกน้ำ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
3.1.1 ประเภทใชกบั อางลางหนา-ลางมือ
3.1.2 ประเภทใชกบั อางลางชาม
3.2 กอกน้ำแตละประเภทแบงออกเปน 2 แบบ คือ
3.2.1 แบบใชกบั น้ำเย็น ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 1
3.2.2 แบบใชกบั น้ำอนุ ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 2

–1–
มอก. 2147–2546

รูปที่ 1 ตัวอยาง ขนาดของกอกน้ำประเภทใชกบั อางลางหนา-ลางมือ แบบใชกบั น้ำเย็น


(ขอ 3.1.1 ขอ 3.2.1 และขอ 5.)

–2–
มอก. 2147–2546

รูปที่ 2 ตัวอยาง ขนาดของกอกน้ำประเภทใชกบั อางลางหนา-ลางมือ แบบใชกบั น้ำอนุ


(ขอ 3.1.1 ขอ 3.2.2 และขอ 5.)

–3–
มอก. 2147–2546

4. สวนประกอบ
4.1 กอกน้ำ มีสว นประกอบทีส่ ำคัญ 3 สวน คือ
4.1.1 ชุดกอกน้ำ ประกอบดวย
4.1.1.1 ตัวเรือน
4.1.1.2 หัวกอก
4.1.2 ชุดควบคุม ประกอบดวย
4.1.2.1 แผงวงจรควบคุม
4.1.2.2 ตัวรับรู
4.1.2.3 โซลินอยดวาลว
4.1.2.4 แหลงจายกำลังไฟฟา (ในกรณีทเี่ ปนไฟฟากระแสตรง)
4.1.3 ชุดอุปกรณประกอบ ประกอบดวย
4.1.3.1 ทอน้ำเย็น (ถามี)
4.1.3.2 ทอน้ำรอน (ถามี)
4.1.3.3 วาลวกันกลับ (ถามี)
4.1.3.4 ตัวปรับอุณหภูมผิ สมของน้ำ (ถามี)

5. ขนาด
5.1 ขนาดระบุเกลียว
5.1.1 มิตเิ กลียว
ตัวเรือนของกอกน้ำทีต่ อ กับทอน้ำประปา ตองมีขนาดระบุเกลียว R1/2 หรือมีขนาดระบุเกลียว Rp1/2
หรือ Rc1/2 แลวแตกรณี
การทดสอบมิติเกลียว ใหทำโดยการวัดดวยเครื่องตรวจสอบมิติเกลียว R1/2 หรือ Rp1/2 หรือ
Rc1/2 โดยอนุโลมใหใชเครือ่ งตรวจสอบมิตเิ กลียว PT1/2 หรือ PS1/2 ได
หมายเหตุ 1. R1/2 หรือ Rp1/2 หรือ Rc1/2 หมายถึง ขนาดระบุเกลียว ตาม ISO 7-1
2. PT1/2 หรือ PS1/2 หมายถึง ขนาดระบุเกลียว ตาม JIS B 0203
5.1.2 ความยาวเกลียว
5.1.2.1 ตองมีความยาวของเกลียว R1/2 ไมนอ ยกวา 10 มิลลิเมตร
5.1.2.2 ตองมีความยาวของเกลียว Rp1/2 หรือ Rc1/2 ไมนอ ยกวา 10 มิลลิเมตร (ถาทำดวยพลาสติก)
หรือไมนอ ยกวา 7.5 มิลลิเมตร (ถาทำดวยโลหะ)
การทดสอบใหใชเครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 0.05 มิลลิเมตร
5.2 ระยะติดตัง้ (L)
ตองมีความยาวเกลียวไมนอ ยกวา 45 มิลลิเมตร
การทดสอบใหใชเครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 0.05 มิลลิเมตร

–4–
มอก. 2147–2546

6. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
6.1 ลักษณะทัว่ ไป
6.1.1 ผิวภายนอกตองเรียบและไมมขี อบคม
6.1.2 โลหะทีใ่ ชทำสวนประกอบตางๆ ของชุดกอกน้ำ ตองเปนโลหะทีไ่ มเปนสนิม เชน ทองแดงเจือ (ทองบรอนซ
หรือทองเหลือง) สังกะสีเจือหรือเหล็กกลาไรสนิม
6.1.3 ผิวภายนอกที่เคลือบโครเมียม หรือทองคำ ตองมันเงาหรือมันดาน ปราศจากตำหนิ ไมราว ไมลอก
ไมพอง และไมมวั
6.1.4 ผิวภายนอกเคลือบสี ตองไมบมุ ไมพอง ไมเปนคลืน่ ไมรา ว ไมแตก ไมนนู ไมดา ง ไมมสี งิ่ สกปรกทีเ่ ปน
ตำหนิหรือรูเข็ม
6.1.5 ชุดควบคุม ตองควบคุมใหกอ กน้ำปดน้ำไดทนั ทีเมือ่ ไมใชงานแลว (ภายใน 1 วินาที)
6.1.6 ชุดควบคุม ตองควบคุมใหกอ กน้ำปดไดทนั ที เมือ่ แหลงจายกำลังไฟฟาหยุดจายกระแสไฟฟาใหชดุ ควบคุม
(เฉพาะแหลงจายกำลังไฟฟาแบบกระแสสลับ)
6.1.7 กลองหอหมุ แผงวงจรควบคุมตองเปนวัสดุทไี่ มเปนสนิมและสามารถปองกันน้ำได
6.1.8 กอกน้ำแบบใชกบั น้ำอนุ ในกรณีทมี่ ที ปี่ รับอุณหภูมผิ สมของน้ำ ทีป่ รับอุณหภูมผิ สมของน้ำตองสามารถ
ปรับไดขณะใชงาน
6.1.9 กอกน้ำแบบใชกับน้ำอุน ในกรณีที่ไมมีที่ปรับอุณหภูมิผสมของน้ำ ตองมีเสนผานศูนยกลางของทอทาง
น้ำเย็นเทากับเสนผานศูนยกลางของทอทางน้ำรอน
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ
6.2 ชุดควบคุม
6.2.1 แผงวงจรควบคุม
กระแสไฟฟาทีจ่ า ยเขาแผงวงจรควบคุม ตองมีแรงดันไฟฟาไมเกิน 24 โวลต
การทดสอบใหใชเครือ่ งวัดกระแสและแรงดันไฟฟาโดยทัว่ ไป
6.2.2 ระยะทีต่ รวจจับไดของตัวรับรู
6.2.2.1 กอกน้ำประเภทอางลางหนา-ลางมือ
นอกขอบเขตระยะ 600 +20 0 มิลลิเมตร ในแนวตัง้ ฉากกับตัวรับรู กอกน้ำตองไมเปดน้ำ
6.2.2.2 กอกน้ำประเภทอางลางชาม
นอกขอบเขต 35 +10 +20
0 องศา โดยมีตวั รับรเู ปนศูนยกลาง และมีรศั มี 600 0 มิลลิเมตร กอกน้ำตอง
ไมเปดน้ำ
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.3.1
6.2.3 ระยะเวลาหยุดไหลของน้ำในสภาวะเปดคาง
กอกน้ำตองปดน้ำ (น้ำหยุดไหล) ไดภายในระยะเวลาไมเกิน 45 วินาที
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.3.2
6.3 ความทนความดัน
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.4 ตองไมรวั่ ซึมหรือเสียหาย

–5–
มอก. 2147–2546

6.4 ปริมาตรน้ำ
ตองใหปริมาณน้ำใน 1 นาที ไมมากกวา 6 ลูกบาศกเดซิเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.5
6.5 การติดแนนของผิวเคลือบ
6.5.1 โลหะ
6.5.1.1 สวนประกอบของกอกน้ำทีท่ ำดวยโลหะเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ หรือทองแดง
-นิกเกิล-โครเมียม
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.6.1.1 แลว ผิวเคลือบตองไมลอก
6.5.1.2 สวนประกอบของกอกน้ำทีท่ ำดวยโลหะเคลือบสี
เมื่อทดสอบตามขอ 9.6.1.2 แลว รอยกรีดตองเรียบ และผิวเคลือบตองไมหลุดลอน โดยมีการ
ติดแนนระดับ 0 ตาม ISO 2409
6.5.2 พลาสติก
6.5.2.1 สวนประกอบของกอกน้ำทีท่ ำดวยพลาสติกเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.6.2.1 แลวผิวเคลือบตองไมพอง ลอกหรือหลุดลอน
6.5.2.2 สวนประกอบของกอกน้ำทีท่ ำดวยพลาสติกเคลือบสี
เมื่อทดสอบตามขอ 9.6.2.2 แลว รอยกรีดตองเรียบ และผิวเคลือบตองไมหลุดลอน โดยมีการ
ติดแนนระดับ 0 ตาม ISO 2409
6.6 ความหนาของผิวเคลือบ
6.6.1 กอกน้ำเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ
ตองมีความหนาของนิกเกิลไมนอยกวา 5 ไมโครเมตร และโครเมียมหรือทองคำ ไมนอยกวา 0.1
ไมโครเมตร
6.6.2 กอกน้ำเคลือบทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
ตองมีความหนารวมของทองแดงและนิกเกิล ไมนอ ยกวา 5 ไมโครเมตร และโครเมียมไมนอ ยกวา 0.1
ไมโครเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.1083 หรือวิธอี นื่ ทีเ่ ทียบเทา
ในกรณีทมี่ ปี ญ  หาใหใชวธิ ที กี่ ำหนดใน มอก.1083
6.7 ความทนการกัดกรอนของผิวเคลือบ
6.7.1 กอกน้ำเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
เมือ่ ทดสอบตาม JIS H 8617 CASS test (copper-accelerated acetic acid salt spray test) เปนเวลา
8 ชัว่ โมงแลว ผิวเคลือบตองอยใู นเกณฑเลขระดับ (Rating Number) 9 หรือสูงกวา
6.7.2 กอกน้ำเคลือบสี
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.7 ผิวเคลือบตองไมพอง ออนตัวหรือหลุดลอน
6.8 ความคงทนตอการใชงาน
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.8 แลว
6.8.1 ชุดควบคุมตองไมเสียหายและใชงานไดตามปกติตามขอ 6.2.2 และขอ 6.2.3
6.8.2 ตองใหปริมาตรน้ำใน 1 นาที ไมมากกวา 6 ลูกบาศกเดซิเมตร
–6–
มอก. 2147–2546

7. การบรรจุ
7.1 ใหบรรจุกอกน้ำในกลอง หีบหอหรือภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เพื่อปองกันความเสียหายอันจะเกิดขึ้นใน
ระหวางการขนสงกับการเก็บรักษา

8. เครือ่ งหมายและฉลาก
8.1 ทีก่ อ กน้ำทุกหนวย (ชุดกอกน้ำและชุดควบคุม) อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจงรายละเอียด
ตอไปนีใ้ หเห็นไดงา ย ชัดเจน และถาวร
(1) สัญลักษณแสดงบนทีป่ รับอัตราการไหลวาเปนทางน้ำเย็นหรือทางน้ำรอน (ถาแสดงดวยสี ทางน้ำเย็น
ใหใชกลุมสีน้ำเงินอยูทางขวามือ และทางน้ำรอนใหใชกลุมสีแดงอยูทางซายมือ เมื่อหันหนาเขาหา
ตัวกอกน้ำ)
(2) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
8.2 ทีภ่ าชนะบรรจุกอ กน้ำทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจงรายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็น
ไดงา ย ชัดเจน
(1) ชือ่ ผลิตภัณฑตามมาตรฐานนี้ หรือชือ่ อืน่ ทีส่ อื่ ความหมายวาเปนผลิตภัณฑตามมาตรฐานนี้
(2) ประเภทและแบบ
(3) แบบรนุ
(4) เดือน ปทที่ ำ หรือรหัสรนุ ทีท่ ำ
(5) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน

9. การทดสอบ
9.1 การทดสอบเฉพาะแบบ
เปนการทดสอบเพือ่ ตัดสินวาผลิตภัณฑเปนไปตามมาตรฐานหรือไม ประกอบดวยรายการทดสอบตอไปนี้
(1) ลักษณะทัว่ ไป
(2) ขนาด
(3) ชุดควบคุม
(4) ความทนความดัน
(5) ปริมาตรน้ำ
(6) การติดแนนของผิวเคลือบ
(7) ความหนาของผิวเคลือบ
(8) ความทนการกัดกรอนของผิวเคลือบ
(9) ความคงทนตอการใชงาน

–7–
มอก. 2147–2546

9.2 การทดสอบรับรอง
เปนการทดสอบเพื่อตัดสินวาผลิตภัณฑมีคุณภาพตามที่กำหนดไว และยังคงเปนไปตามมาตรฐานหรือไม
ประกอบดวยรายการทดสอบตามขอ 9.1 ยกเวนความคงทนตอการใชงาน
9.3 ชุดควบคุม
9.3.1 ระยะทีต่ รวจจับไดของตัวรับรู
9.3.1.1 เครือ่ งมือและอุปกรณ
(1) เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
(2) อุปกรณทดสอบการตรวจจับทีม่ พี นื้ ผิวสีขาว ทำหนาทีส่ ง สัญญาณใหตวั รับรู เพือ่ ทำใหกอ กน้ำ
เปดน้ำ
(3) อางลางหนา-ลางมือ หรืออางลางชาม มีสขี าวและมีมติ ติ ามทีผ่ ทู ำกำหนด
9.3.1.2 วิธที ดสอบ
ติดตัง้ กอกน้ำเขากับอางลางหนา-ลางมือ หรืออางลางชาม ตามคำแนะนำของผทู ำ แลวเลือ่ นอุปกรณ
ทดสอบการตรวจจับเขาหาตัวรับรอู ยางชาๆ จนกระทัง่ ไดระยะ 600 มิลลิเมตร หางจากตัวรับรใู น
แนวตั้งฉากหรือแนวรัศมีในขอบเขตไมมากกวา 135 องศา แลวแตกรณี สังเกตการเปดน้ำของ
กอกน้ำขณะทำการทดสอบ
9.3.2 ระยะเวลาหยุดไหลของน้ำในสภาวะเปดคาง
9.3.2.1 เครือ่ งมือและอุปกรณ
(1) นาฬิกาจับเวลา
(2) อุปกรณทดสอบการตรวจจับตามขอ 9.3.1.1 (2)
9.3.2.2 วิธที ดสอบ
(1) วางอุปกรณทดสอบการตรวจจับลงในระยะทีต่ รวจจับไดของตัวรับรแู ลวคงทีไ่ ว เพือ่ ใหกอ กน้ำ
เปดน้ำ
(2) จับเวลาตัง้ แตน้ำเริม่ ไหลจนกระทัง่ หยุดไหล แลวบันทึกคาไว
(3) ใหปฏิบตั ซิ ้ำอีก 2 ครัง้
9.3.2.3 การรายงานผล
ใหรายงานคาระยะเวลาหยุดไหลของน้ำในสภาวะเปดคาง ทัง้ 3 คา เปนวินาที
9.4 ความทนความดัน
9.4.1 เครื่องมือ
เครือ่ งทดสอบทีส่ ามารถอัดน้ำใหมคี วามดันไมนอ ยกวา 1 เมกะพาสคัล และเครือ่ งวัดความดัน
9.4.2 วิธที ดสอบ
ประกอบกอกน้ำเขากับเครื่องมือและอุปกรณตามขอ 9.4.1 ปดปากกอกน้ำใหสนิท แลวจายน้ำให
กอกน้ำ โดยเพิม่ ความดันอยางสม่ำเสมอจนกระทัง่ ไดความดัน 1.0 เมกะพาสคัล แลวคงคาความดันนี้
ไวเปนเวลาอยางนอย 30 วินาที ตรวจพินจิ กอกน้ำขณะทำการทดสอบ

–8–
มอก. 2147–2546

9.5 ปริมาตรน้ำ
9.5.1 เครือ่ งมือและอุปกรณ
9.5.1.1 เครือ่ งทดสอบตามขอ 9.4.1 และสามารถรักษาระดับความดันไมใหแตกตางจากคาทีต่ อ งการเกิน
0.01 เมกะพาสคัล
9.5.1.2 ภาชนะตวง
9.5.1.3 นาฬิกาจับเวลา
9.5.2 วิธที ดสอบ
9.5.2.1 ประกอบกอกน้ำเขากับเครือ่ งมือและอุปกรณตามขอ 9.5.1.1
9.5.2.2 จายน้ำเขากอกน้ำ พรอมทำใหกอ กน้ำเปด เพิม่ ความดันอยางสม่ำเสมอจนกระทัง่ ไดความดัน 0.10
เมกะพาสคัล แลงคงคาความดันนีไ้ ว
9.5.2.3 ใชภาชนะตวงรับน้ำ เปนเวลา 1 นาที
9.5.2.4 บันทึกปริมาตรน้ำในภาชนะตวง แลวทดสอบหาปริมาตรน้ำซ้ำอีก 2 ครัง้
9.5.3 การรายงานผล
ใหรายงานคาทุกครัง้ เปนลูกบาศกเดซิเมตร และทุกคาตองแตกตางกันไมเกิน ± 0.5 ลูกบาศกเดซิเมตร
หากมีคา ใดแตกตางกันเกินกวาคาทีก่ ำหนด ใหทดสอบซ้ำใหมทกุ คา
หมายเหตุ การทำใหกอกน้ำเปดน้ำอยางตอเนื่อง ใหใชชุดควบคุมอื่นที่ตั้งเวลาเปดน้ำ 1 นาที มาใชแทน
ชุดควบคุมตัวอยางได
9.6 การติดแนนของผิวเคลือบ
9.6.1 โลหะ
9.6.1.1 โลหะเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
(1) ทองแดงเจือเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
อบสวนประกอบของกอกน้ำทีอ่ ณ ุ หภูมิ 250 องศาเซลเซียส ± 10 องศาเซลเซียส เปนเวลา
1 ชัว่ โมง แลวนำไปจมุ ลงในน้ำทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ งเปนเวลาไมนอ ยกวา 1 นาที ทำใหแหง แลว
ตรวจพินจิ
(2) สังกะสีเจือเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือนิกเกิล-ทองคำ หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
ปฏิบตั ติ ามขอ 9.6.1.1 แตใชอณุ หภูมิ 150 องศาเซลเซียส ± 5 องศาเซลเซียส
9.6.1.2 โลหะเคลือบสี
(1) ปฏิบัติตาม ISO 2409 โดยสวนประกอบของกอกน้ำที่ใชทดสอบตองกรีดเปนเสน ขนาน
6 เสน ระยะระหวางเสนเทากับ 2 มิลลิเมตร
(2) ใชแถบกาวเซลโลเฟนทีม่ กี ารติดแนนตาม มอก.228 กวางประมาณ 25 มิลลิเมตร ปดลงบน
บริเวณที่กรีดเสนไว รีดใหเรียบ แลวลอกแถบกาวเซลโลเฟนออกทันทีใหทำมุม 90 องศา
กับชิน้ ทดสอบ และตรวจพินจิ แถบกาวเซลโลเฟน
หมายเหตุ ผงสีที่เกิดจากการกรีดเสนบนชิ้นทดสอบ ไมถือวาเปนชิ้นผิวเคลือบ

–9–
มอก. 2147–2546

9.6.2 พลาสติก
9.6.2.1 พลาสติกเคลือบนิกเกิล-โครเมียม หรือทองแดง-นิกเกิล-โครเมียม
ใหปฏิบตั ติ าม ASTM B 571 Burnishing test
9.6.2.2 พลาสติกเคลือบสี
ปฏิบตั ติ ามขอ 9.6.1.2
9.7 ความทนการกัดกรอนของผิวเคลือบ
9.7.1 สารละลาย
สารละลายโซเดียมคลอไรด 50 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร ± 1 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร
9.7.2 วิธที ดสอบ
ปฏิบัติตาม มอก.285 เลม 42 หรือใชเครื่องทดสอบความทนละอองน้ำเกลืออื่นที่เทียบเทาโดยพน
ละอองน้ำเกลือทีอ่ ณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส ± 3 องศาเซลเซียส เปนเวลา 500 ชัว่ โมง
9.8 ความคงทนตอการใชงาน
9.8.1 เครื่องมือ
9.8.1.1 อุปกรณทดสอบการตรวจจับตามขอ 9.3.1.1(2)
9.8.1.2 เครือ่ งทดสอบตามขอ 9.4.1 หรือขอ 9.5.1.1
9.8.1.3 เครื่องมือที่สามารถเปดปดกอกน้ำไดอยางตอเนื่อง โดยแตละรอบของการเปดปดตองคงอยูใน
สภาวะการปดไดประมาณ 2 วินาที
9.8.2. วิธที ดสอบ
9.8.2.1 ประกอบกอกน้ำตามคำแนะนำของผทู ำเขากับเครือ่ งมือตามขอ 9.8.1.1
9.8.2.1 จายน้ำเขากอกน้ำทีค่ วามดัน 0.10 เมกะพาสคัล เปดปดเปนจำนวน 100 000 รอบ โดยแตละรอบ
ทีท่ ดสอบน้ำทีไ่ หลออกจากกอกน้ำ ตองหยุดไหล
9.8.2.3 จากนั้นใหเพิ่มความดันจนกระทั่งไดความดัน 0.75 เมกะพาสคัล แลวใชอุปกรณทดสอบการ
ตรวจจับทำใหกอ กน้ำเปด 1 ครัง้ แลวคงคาความดันนีน้ าน 30 วินาที ตรวจพินจิ กอกน้ำตองไมปรากฏ
การรัว่ ซึม
9.8.2.4 นำกอกน้ำไปทดสอบ
(1) ระยะทีต่ รวจจับไดของตัวรับรตู ามขอ 9.3.1
(3) ระยะเวลาหยุดไหลของน้ำในสภาวะเปดคางตามขอ 9.3.2
(3) ปริมาตรน้ำตามขอ 9.5
หมายเหตุ ใหทดสอบตอเนือ่ งจนครบ 100 000 รอบ โดยระหวางการทดสอบหามมิใหแกไขหรือเปลีย่ นแปลง
อุปกรณประกอบของกอกน้ำ

–10–
มอก. 2147–2546

ภาคผนวก ก.
การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน

ก.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง กอกน้ำทีม่ ปี ระเภทและแบบ และแบบรนุ เดียวกัน ทำจากวัสดุอยางเดียวกัน โดยกรรมวิธี
เดียวกัน ทีท่ ำหรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน
ก.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
ก.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบขนาด ลักษณะทัว่ ไป และเครือ่ งหมายและฉลาก
ก.2.1.1 ชักตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันตามจำนวนทีก่ ำหนดในตารางที่ ก.1
ก.2.1.2 จำนวนตัวอยางทีไ่ มเปนไปตามขอ 5. ขอ 6.1 และขอ 8. ในแตละรายการ ตองไมเกินเลขจำนวนที่
ยอมรับทีก่ ำหนดในตารางที่ ก.1 จึงจะถือวากอกน้ำรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ตารางที่ ก.1 แผนการชักตัวอยางสำหรับการทดสอบขนาด ลักษณะทัว่ ไป และเครือ่ งหมายและฉลาก
(ขอ ก.2.1)

ขนาดรุน ขนาดตัวอยาง เลขจํานวน


หนวย หนวย ที่ยอมรับ
ไมเกิน 3 200 2 0
3 201 ถึง 10 000 8 1
เกิน 10 001 13 2

ก.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบชุดควบคุม ความทนความดัน ปริมาตรน้ำ การติดแนน


ของผิวเคลือบ และความหนาของผิวเคลือบ
ก.2.2.1 ชักตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน หรือจากตัวอยางทีผ่ า นการทดสอบตามขอ ก.2.1 แลว จำนวน
2 หนวย แลวนำไปทดสอบชุดควบคุม ความทนความดัน ปริมาตรน้ำ การติดแนนของผิวเคลือบ
และความหนาของผิวเคลือบ ตามลำดับ
ก.2.2.2 ตัวอยางทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ 6.2 ขอ 6.3 ขอ 6.4 ขอ 6.5 และขอ 6.6 ทุกรายการ
จึงจะถือวากอกน้ำรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.2.3 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบความทนการกัดกรอนของผิวเคลือบ
ก.2.3.1 ชักตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน หรือจากตัวอยางทีผ่ า นการทดสอบตามขอ ก.2.1 แลว จำนวน
2 หนวย
ก.2.3.2 ตัวอยางทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ 6.7 จึงจะถือวากอกน้ำรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด

–11–
มอก. 2147–2546

ก.2.4 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบความคงทนตอการใชงาน
ก.2.4.1 ชักตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน หรือจากตัวอยางทีผ่ า นการทดสอบตามขอ ก.2.1 แลว จำนวน
2 หนวย
ก.2.4.2 ตัวอยางทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ 6.8 จึงจะถือวากอกน้ำรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.3 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางกอกน้ำตองเปนไปตามขอ ก.2.1.2 ขอ ก.2.2.2 ขอ ก.2.3.2 และขอ ก.2.4.2 จึงจะถือวากอกน้ำ
รนุ นัน้ เปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

–12–

You might also like