You are on page 1of 17

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 1505 2541

ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบา
แบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ
AUTOCLAVED AERATED LIGHTWEIGHT CONCRETE ELEMENTS

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 91.100.99 ISBN 974-607-866-6
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบา
แบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ

มอก. 1505 2541

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศั พ ท 2023300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เลม 115 ตอนที่ 105ง


วันที่ 31 ธันวาคม พุทธศักราช 2541
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 873
มาตรฐานคอนกรีตมวลเบา
1. ผแู ทนกรมโยธาธิการ
2. ผแู ทนกรมวิทยาศาสตรบริการ
3. ผแู ทนคณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
4. ผแู ทนการเคหะแหงชาติ
5. ผแู ทนสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
6. ผแู ทนสมาคมธุรกิจบานจัดสรร
7. ผแู ทนบริษทั ซุปเปอรบลอก จำกัด
8. ผแู ทนบริษทั ควอลิตค้ี อนสตรัคชัน่ โปรดัคส จำกัด
9. ผแู ทนบริษทั ผลิตภัณฑคอนกรีตซีแพค จำกัด
10. ผแู ทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม กรรมการและเลขานุการ
11. ผแู ทนบริษทั โกลเดน แพลน จำกัด กรรมการและผชู ว ยเลขานุการ

(2)
ปจจุบนั มีการทำชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ สำหรับงานกอสรางภายในประเทศเพือ่ สงเสริม
อุตสาหกรรมประเภทนี้ จึงกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ–
อบไอน้ำ ขึน้
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ กำหนดขึน้ โดยใชเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
DIN 4165–1986 Autoclaved aerated concrete blocks and flat elements
DIN SFS prEN 991-1992 Determination of the dimensions of prefabricated reinforced components
made of autoclaved aerated concrete or lightweight aggregate concrete with
open structure
JIS A 5416-1995 Autoclaved lightweight aerated concrete panels
มอก.15 เลม 1-2532 ปูนซีเมนตปอรตแลนด เลม 1 ขอกำหนดคุณภาพ
มอก.109-2517 วิธชี กั ตัวอยางและการทดสอบวัสดุงานกอซึง่ ทำดวยคอนกรีต
มอก.319-2541 ปูนไลมอตุ สาหกรรม

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2411 ( พ.ศ. 2541 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511


รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม ออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบา
แบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1505-2541 ไว ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2541


สมศักดิ์ เทพสุทนิ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 1505–2541

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบา
แบบมีฟองอากาศ–อบไอน้ำ

1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ กำหนดรายละเอียดของชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอน้ำ
ซึง่ เปนวัสดุกอ ผนังมวลเบา โดยมีฟองอากาศกระจายอยางสม่ำเสมอภายในเนือ้ คอนกรีต และอบดวยไอน้ำ
โดยกำหนดชัน้ คุณภาพและชนิด ขนาดและเกณฑความคลาดเคลือ่ น วัสดุและการทำ คุณลักษณะทีต่ อ งการ
การบรรจุ เครือ่ งหมายและฉลาก การเก็บคอนกรีตมวลเบา การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน และการทดสอบ
1.2 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ ครอบคลุมเฉพาะผลิตภัณฑชิ้นสวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ
กระจายอยางสม่ำเสมอในเนือ้ คอนกรีต และอบในเตาอบไอน้ำ และไมเสริมเหล็ก

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 ชิน้ สวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอน้ำ ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “คอนกรีตมวลเบา”
หมายถึง คอนกรีตทีม่ มี วลเบากวาคอนกรีตทัว่ ไปทีม่ ขี นาดเดียวกัน โดยมีฟองอากาศเล็กๆ แทรกกระจายใน
เนือ้ คอนกรีตอยางสม่ำเสมอ ทำใหแข็งดวยการอบไอน้ำ และไมเสริมเหล็ก เหมาะสำหรับใชกอ ผนังดวยวิธกี อ
บาง ดูรปู ที่ 1
2.2 วิธกี อ บาง หมายถึง วิธกี อ ทีม่ ลี กั ษณะปูนกอบาง มีความหนาไมเกิน 3 มิลลิเมตร และจำเปนตองใชปนู กอ
ทีท่ ำขึน้ ดวยสวนผสมพิเศษ ทีส่ ามารถใหแรงยึดหนวงมากเพียงพอเหมาะสมกับความหนา

–1–
มอก. 1505–2541

2.3 รองปูนกอ หมายถึง รองทีด่ า นขางของคอนกรีตมวลเบาทีจ่ ะประกอบกันใหเปนชอง ใชสำหรับใสปนู กอขณะ


ทำงานกอผนัง
2.4 รอง หมายถึง สวนของคอนกรีตมวลเบาทีอ่ ยตู ่ำกวาพืน้ ผิวดานขาง สำหรับใหลนิ้ ยืน่ เขามาเพือ่ การประสาน
2.5 ลิน้ หมายถึง สวนของคอนกรีตมวลเบาทีย่ นื่ เลยพืน้ ผิวสวนอืน่ สำหรับแทรกไปในรองเพือ่ การประสาน
2.6 ความหนาของคอนกรีตมวลเบา หมายถึง ความหนาของคอนกรีตมวลเบาทีใ่ ชกอ ผนัง
2.7 รองมือจับ หมายถึง รองทีด่ า นขางของคอนกรีตมวลเบาทีอ่ ยตู ่ำจากขอบบน ใชสำหรับจับยกเพือ่ ทำงาน

รูปที่ 1 ตัวอยางคอนกรีตมวลเบา
(ขอ 2.1)

3. ชั้นคุณภาพและชนิด
3.1 คอนกรีตมวลเบาแบงตามความตานแรงอัดออกเปน 4 ชัน้ คุณภาพ และแบงตามความหนาแนนเชิงปริมาตร
ออกเปน 7 ชนิด โดยชัน้ คุณภาพและชนิดของคอนกรีตมวลเบามีความสัมพันธกนั ตามตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ชัน้ คุณภาพและชนิดของคอนกรีตมวลเบา
(ขอ 3.1)

ความตานแรงอัด ความหนาแนนเชิงปริมาตร
ชั้นคุณภาพ นิวตันตอตารางมิลลิเมตร ชนิด เฉลี่ย
คาเฉลี่ย คาต่ําสุด กิโลกรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร
2 2.5 2.0 0.4 0.31 ถึง 0.40
0.5 0.41 ถึง 0.50
0.6 0.51 ถึง 0.60
4 5.0 4.0 0.7 0.61 ถึง 0.70
0.8 0.71 ถึง 0.80
6 7.5 6.0 0.7 0.61 ถึง 0.70
0.8 0.71 ถึง 0.80
0.8 0.71 ถึง 0.80
8 10.0 8.0 0.9 0.81 ถึง 0.90
1.0 0.91 ถึง 1.00

–2–
มอก. 1505–2541

4. ขนาดและเกณฑความคลาดเคลื่อน
4.1 ขนาดและเกณฑความคลาดเคลือ่ น
ขนาดของคอนกรีตมวลเบาทีก่ ำหนดไวตามมาตรฐานนี้ ออกแบบเพือ่ ใหเปนไปตามระบบการประสานทางพิกดั
ในงานกอสรางอาคาร ซึง่ ไดกำหนดหนวยพิกดั มูลฐาน (พ) ใหเทากับ 100 มิลลิเมตร ขนาดของคอนกรีตมวลเบา
เปนไปตามตารางที่ 2 โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ นไดไมเกิน + 2 มิลลิเมตร
ในกรณีมรี อ งและลิน้ ใหเพิม่ ไดอกี มิตลิ ะ 9 มิลลิเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 11.1
ตารางที่ 2 ขนาดคอนกรีตมวลเบา
(ขอ 4.1)
หนวยเปนมิลลิเมตร

ความกวาง ความยาว ความหนา


200 600 75
300 90
400 100
125
150
175
200
250
หมายเหตุ ความกวางและความยาวตามตารางที่ 2 เปนคาทีร่ วมความหนา
ของปูนกอ 3 มิลลิเมตรไวแลว(ดูรปู ที่ 2)

รูปที่ 2 ความหนาของปูนกอตามระบบประสานทางพิกดั

–3–
มอก. 1505–2541

4.2 ความไดฉาก
คอนกรีตมวลเบา ทีร่ ะยะ 300 มิลลิเมตร วัดจากมุมฉากจะคลาดเคลือ่ นจากแนวฉากไดไมเกิน 1 มิลลิเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 11.1
4.3 รองและลิน้ (ถามี) ดูรปู ที่ 3
คอนกรีตมวลเบาอาจทำเปนรองและลิน้ ในตัวได และใหเปนดังนี้
4.3.1 ขนาดของรองและลิ้น ไมควรเล็กกวาเศษหนึ่งสวนเจ็ด และไมควรเกินเศษสองสวนหาของความหนา
ของคอนกรีตมวลเบา โดยในแตละดานอาจมีรอ งและลิน้ ไดหลายแนว
4.3.2 ความกวาง และความลึกของลิน้ ในทุกๆ ดาน ควรเล็กกวาความกวางและความลึกของรองระหวาง 1 ถึง
2 มิลลิเมตร

รูปที่ 3 ตัวอยางรองและลิน้ ของคอนกรีตมวลเบา


(ขอ 4.3)

4.4 รองปูนกอ (ถามี) ดูรปู ที่ 4


รองปูนกอทีด่ า นขางของคอนกรีตมวลเบาและมีขนาดเริม่ จากผิวบนลงมามีระยะ 1/4 ถึง 1/2 ของความกวาง
ของคอนกรีตมวลเบา

รูปที่ 4 ตัวอยางรองปูนกอสำหรับคอนกรีตมวลเบา
(ขอ 4.4)
–4–
มอก. 1505–2541

4.5 รองมือจับ (ถามี) ดูรปู ที่ 5


กรณีทคี่ อนกรีตมวลเบามีขนาดใหญ เพือ่ ความสะดวกในการทำงานอาจมีรอ งสำหรับมือจับดวย

รูปที่ 5 ตัวอยางรองมือจับสำหรับคอนกรีตมวลเบา
(ขอ 4.5)

5. วัสดุและการทำ
5.1 วัสดุ
5.1.1 ปูนซีเมนตตอ งเปนปูนซีเมนตประเภท 1 ตาม มอก. 15 เลม 1
5.1.2 ปูนขาวตองเปนไปตาม มอก. 319
5.1.3 มวลผสมตองเปนวัสดุซิลิกา หรือทรายควอตซ หรือตะกรันจากเตาถลุงแบบพนลม หรือเถาถานหิน
หรือวัสดุอนื่ ใดทีไ่ มมสี าร เชน โคลน ฝนุ สารอินทรีย ในจำนวนทีอ่ าจเปนผลเสีย นำมาบดละเอียดโดย
ใหมขี นาดไมใหญกวา 500 ไมโครเมตร
5.1.4 สารกอฟองและสารผสมเพิม่ (ถามี) ตองเปนวัสดุทำใหเกิดฟองอากาศมีเสถียรภาพ และคุมเวลาแข็งตัว
โดยตองไมกอ ใหเกิดผลเสียใดๆ ตอคุณภาพของคอนกรีตมวลเบา
5.2 การทำ
คอนกรีตมวลเบาตองทำโดยผสมสวนผสมตามทีร่ ะบุในขอ 5.1.1 ถึงขอ 5.1.3 เขาดวยกันอยางสม่ำเสมอ
จากนัน้ เติมน้ำจำนวนทีเ่ หมาะสม สารกอฟอง และสารผสมเพิม่ (ถามี) ใหมฟี องอากาศกระจายอยางสม่ำเสมอ
แลวเทลงในแบบนำไปบมจนแข็งพอทีจ่ ะแกะแบบเพือ่ ทำการตัดตามขนาดทีต่ อ งการ จากนัน้ นำไปอบดวยไอน้ำ
เพือ่ ใหไดคา ความตานแรงอัดตามทีก่ ำหนดทีค่ วามดันไมต่ำกวา 1.0 เมกะพาสคัลและอุณหภูมปิ ระมาณ 180
องศาเซลเซียส
หมายเหตุ ใหตัดคอนกรีตมวลเบาในแนวที่ทำใหดานยาวขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของฟองอากาศ

–5–
มอก. 1505–2541

6. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
6.1 ลักษณะทัว่ ไป
ตองไมแตกราว ไมบดิ เบีย้ ว ไมแอนตัว และไมมตี ำหนิใด ๆ ทีเ่ ปนผลเสียหายตอการใชงาน
6.2 ความหนาแนนเชิงปริมาตร
เมื่อทดสอบตามขอ 11.2 แลว คอนกรีตมวลเบาตองมีความหนาแนนเชิงปริมาตรเฉลี่ยตามตารางที่ 1
โดยคอนกรีตมวลเบาแตละกอนจะมีคา แตกตางจากทีก่ ำหนดไดไมเกิน + 0.05 กิโลกรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร
6.3 อัตราการเปลีย่ นแปลงความยาว
เมือ่ ทดสอบตามขอ 11.3 แลว อัตราการเปลีย่ นแปลงความยาวตองไมเกินรอยละ 0.05
6.4 ความตานแรงอัด
เมือ่ ทดสอบตามขอ 11.4 แลว คอนกรีตมวลเบาตองมีความตานแรงอัดตามตารางที่ 1
6.5 อัตราการดูดกลืนน้ำ
เมือ่ ทดสอบตามขอ 11.5 แลว อัตราการดูดกลืนน้ำตองไมเกิน 500 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

7. การบรรจุ
7.1 เมือ่ จะนำคอนกรีตมวลเบาออกจำหนาย ผทู ำตองจัดเรียงคอนกรีตมวลเบาบนแผงรองรับทีเ่ หมาะสม มีการ
ปองกันขอบไมใหแตกบิน่ เสียหายทีจ่ ะเปนผลเสียตอการใชงานทัง้ ในการเก็บรักษาและขนสง รวมทัง้ ใหมอี ากาศ
ถายเทไดสะดวก

8. เครือ่ งหมายและฉลาก
8.1 ที่คอนกรีตมวลเบา อยางนอยทุกๆ 10 กอน ตองมีเลขอักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้
ใหเห็นไดงา ย ชัดเจน และถาวร
(1) ชัน้ คุณภาพ หรือความตานแรงอัดต่ำสุด
(2) ชนิดของคอนกรีตมวลเบา
(3) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน
8.2 ทีภ่ าชนะบรรจุคอนกรีตมวลเบา อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายและรายละเอียดตอไปนี้
(1) ชัน้ คุณภาพ หรือความตานแรงอัดต่ำสุด
(2) ชนิดของคอนกรีตมวลเบา
(3) ความยาว ความกวาง ความหนา เปนมิลลิเมตร
(4) ป เดือนทีท่ ำ
(5) จำนวนทีบ่ รรจุในหีบหอ
(6) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน

–6–
มอก. 1505–2541

9. การเก็บคอนกรีตมวลเบา
9.1 ตองเก็บคอนกรีตมวลเบาไวทแี่ หงมีอากาศถายเทไดสะดวก และมีการปองกันความชืน้ ไมใหเขาถึงคอนกรีต
มวลเบาไดทกุ ฤดูกาล
9.2 ควรกองเก็บคอนกรีตมวลเบาใหสามารถนำคอนกรีตมวลเบารนุ ทีม่ าถึงกอนไปใชไดกอ น

10. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน
10.1 รุน ในที่นี้ หมายถึง คอนกรีตมวลเบาชั้นคุณภาพเดียวกัน สวนผสมเดียวกัน จำนวนไมเกิน 1 000
ลูกบาศกเมตร ทีท่ ำหรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน
10.2 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางทีก่ ำหนดตอไปนีห้ รืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
10.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบขนาดและลักษณะทัว่ ไป
10.2.1.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน จำนวน 3 กอน
10.2.1.2 ตัวอยางทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ 4 และขอ 6.1 จึงจะถือวาคอนกรีตมวลเบารนุ นัน้ เปนไปตาม
เกณฑทกี่ ำหนด
10.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบความตานแรงอัด
10.2.2.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากคอนกรีตมวลเบาทีเ่ ปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนดขอ 10.2.1 เพือ่ นำมา
ทำเปนชิน้ ทดสอบจำนวน 9 ชิน้
10.2.2.2 ชิ้นทดสอบทุกชิ้นตองเปนไปตามขอ 6.4 จึงจะถือวาคอนกรีตมวลเบารุนนั้นเปนไปตามเกณฑ
ทีก่ ำหนด
10.2.3 การชั ก ตั ว อย า งและการยอมรั บ สำหรั บ การทดสอบความหนาแน น เชิ ง ปริ ม าตรและอั ต ราการ
เปลีย่ นแปลงความยาว
10.2.3.1 ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันจำนวน 3 กอน เพื่อนำมาทำเปนชิ้นทดสอบสำหรับการ
ทดสอบความหนาแนนเชิงปริมาตร 3 ชิน้ และอัตราการเปลีย่ นแปลงความยาว 3 ชิน้
10.2.3.2 ชิน้ ทดสอบทุกชิน้ ตองเปนไปตามขอ 6.2 และ 6.3 ในแตละรายการ จึงจะถือวาคอนกรีตมวลเบา
รนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
10.2.4 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบอัตราการดูดกลืนน้ำ
10.2.4.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันจำนวน 3 กอน เพือ่ นำมาทำเปนชิน้ ทดสอบจำนวน 3 ชิน้
10.2.4.2 ชิ้นทดสอบทุกชิ้นตองเปนไปตามขอ 6.5 จึงจะถือวาคอนกรีตมวลเบารุนนั้นเปนไปตามเกณฑ
ทีก่ ำหนด
10.3 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางคอนกรีตมวลเบาตองเปนไปตามขอ 10.2.1.2 ขอ 10.2.2.2 ขอ 10.2.3.2 และขอ 10.2.4.2
ทุกขอ จึงจะถือวาคอนกรีตมวลเบารนุ นัน้ เปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

–7–
มอก. 1505–2541

11. การทดสอบ
11.1 ขนาด
11.1.1 เครื่องมือ
11.1.1.1 เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
11.1.1.2 เวอรเนียรทวี่ ดั ไดถงึ 200 มิลลิเมตร
11.1.1.3 เหล็กฉากทีม่ คี วามยาวแตละดานไมนอ ยกวา 300 มิลลิเมตร
11.1.2 วิธที ดสอบ
11.1.2.1 ความกวางและความยาว
ใชเครื่องวัดตามขอ 11.1.1.1 วัดความกวางและความยาวของตัวอยาง โดยวัดที่ตำแหนงหาง
จากขอบเปนระยะหนึง่ ในสีข่ องดานนัน้ ๆ ดูรปู ที่ 6

รูปที่ 6 ตำแหนงวัดความกวาง และความยาว


(ขอ 11.1.2.1)

11.1.2.2 ความหนา
ใชเวอรเนียรวัดความหนาของตัวอยางที่ตำแหนงหางจากขอบดานยาวของชิ้นทดสอบเปนระยะ
หนึง่ ในสีข่ องความยาว โดยสอดเวอรเนียรเขาจนสุด ดูรปู ที่ 7

–8–
มอก. 1505–2541

รูปที่ 7 ตำแหนงวัดความหนา
(ขอ 11.1.2.2)

11.1.2.3 ความไดฉาก
ทาบเหล็กฉากที่ดานสั้นของตัวอยาง จากนั้นวัดความเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้นที่ระยะประมาณ 300
มิลลิเมตรจากมุมของเหล็กฉาก ดูรปู ที่ 8

รูปที่ 8 การวัดความไดฉาก
(ขอ 11.1.2.3)

–9–
มอก. 1505–2541

11.1.3 การรายงานผล
ใหรายงาน คาสูงสุด คาต่ำสุด และคาเฉลีย่ ทีว่ ดั ได
11.2 ความหนาแนนเชิงปริมาตร
11.2.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดชิน้ ทดสอบทีก่ งึ่ กลางความยาวของตัวอยางใหมขี นาด 100 มิลลิเมตร x 100 มิลลิเมตร x 100
มิลลิเมตร โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ น + 1 มิลลิเมตร
กรณีชนิ้ ทดสอบมีความหนานอยกวาคาทีก่ ำหนด ใหอนุโลมใชรปู ทรงลูกบาศกทมี่ มี ติ เิ ทากับความหนา
11.2.2 เครื่องมือ
11.2.2.1 เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
11.2.2.2 เครือ่ งชัง่ ทีช่ งั่ ไดละเอียดถึง 1 กรัม
11.2.2.3 ตอู บ ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมทิ ี่ 105 องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส
11.2.3 วิธที ดสอบ
ใหวดั ปริมาตรและมวลของชิน้ ทดสอบหลังอบในตอู บ เปนเวลา 24 ชัว่ โมง
11.2.4 การรายงานผล
ใหรายงานคาความหนาแนนเชิงปริมาตรในสภาพแหงของชิน้ ทดสอบแตละคาและคาเฉลีย่ จากสูตร
มวลของชิน้ ทดสอบหลังอบในตอู บ
คาความหนาแนนเชิงปริมาตรในสภาพแหง =
ปริมาตรของชิน้ ทดสอบ
11.3 อัตราการเปลีย่ นแปลงความยาว
11.3.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดชิน้ ทดสอบทีก่ งึ่ กลางความยาวของตัวอยางใหมขี นาด 40 มิลลิเมตร x 40 มิลลิเมตร x 160 มิลลิเมตร
โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ น + 1 มิลลิเมตร และใหดา นยาวของชิน้ ทดสอบขนานกับดานยาวของตัวอยาง
11.3.2 เครื่องมือ
11.3.2.1 เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 0.005 มิลลิเมตร
11.3.2.2 เครือ่ งชัง่ ทีช่ งั่ ไดละเอียดถึง 1 กรัม
11.3.2.3 อางน้ำทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 25 องศาเซลเซียส + 2 องศาเซลเซียส
11.3.2.4 หองหรือภาชนะปดทีค่ วบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 25 องศาเซลเซียส + 2 องศาเซลเซียส และมีความชืน้
สัมพัทธรอ ยละ 43 + รอยละ 2 ได
11.3.2.5 ตอู บ ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 105 องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส
11.3.3 วิธที ดสอบ
11.3.3.1 นำชิน้ ทดสอบเขาอบในตอู บเปนเวลาไมนอ ยกวา 24 ชัว่ โมง จากนัน้ ทิง้ ใหเย็น ชัง่ มวลและวัดความยาว
ของชิน้ ทดสอบถือเปนมวลในสภาพแหง คำนวณหาคามวลทีป่ ริมาณความชืน้ รอยละ 40
11.3.3.2 นำชิ้นทดสอบไปแชในอางน้ำตามขอ 11.3.2.3 โดยผิวบนของชิ้นทดสอบอยูต่ำกวาผิวน้ำ 3
เซนติเมตรเปนเวลา 3 วัน จากนัน้ ใหเก็บรักษาทีห่ อ งหรือภาชนะปดตามขอ 11.3.2.4 ชัง่ มวลและวัด
ความยาวทุกวันจนมวลของชิน้ ทดสอบมีคา ต่ำกวาคามวลทีป่ ริมาณความชืน้ รอยละ 40 ซึง่ คำนวณได
จากขอ 11.3.3.1

–10–
มอก. 1505–2541

11.3.3.3 วัดความยาวและชัง่ มวลของชิน้ ทดสอบทุก 3 วัน จนความยาวเขาสสู ภาพสมดุล โดยชิน้ ทดสอบมีการ


เปลีย่ นแปลงความยาวนอยกวา รอยละ 0.003 ตอ 3 วัน
หมายเหตุ การรักษาอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในกรณีใชภาชนะปด ใหทำโดยเก็บชิ้นทดสอบ
ไวเหนือสารละลายโพแทสเซียมคารบอเนต ที่ละลายอยูในภาวะสมดุลกับน้ำในภาชนะ
ปดที่ควบคุมอุณหภูมิได และตองมีการกวนเพื่อปองกันไมใหเกิดการกอตัวของเกลือ
โพแทสเซียม หรือฝาทีผ่ วิ
11.3.4 การรายงานผล
ใหรายงานอัตราการเปลีย่ นแปลงความยาวจากสูตร
l1 - l2 x 100
อัตราการเปลีย่ นแปลงความยาวรอยละ (R) =
l1
เมื่อ l1 คือ ความยาวของชิน้ ทดสอบทีป่ ริมาณความชืน้ รอยละ 40 เปนมิลลิเมตร
l2 คือ ความยาวของชิน้ ทดสอบเมือ่ เขาสสู ภาพสมดุล เปนมิลลิเมตร
หมายเหตุ ความยาวของชิน้ ทดสอบทีป่ ริมาณความชืน้ รอยละ 40 หาโดยการประมาณคาจากกราฟแสดง
ความสัมพันธระหวางปริมาณความชื้นกับความยาวที่ไดจากการทดสอบตามขอ 11.3.3.1
กับขอ 11.3.3.2
11.4 ความตานแรงอัด
11.4.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดชิน้ ทดสอบทีต่ ำแหนง ตอนบน ตอนกลาง และตอนลางของคอนกรีตมวลเบาใหมขี นาด 100 มิลลิเมตร
x 100 มิลลิเมตร x 100 มิลลิเมตร โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ น + 1 มิลลิเมตร ทำเครือ่ งหมายแสดง
ดานยาวของตัวอยาง ทำการทดสอบเมือ่ ชิน้ ทดสอบมีปริมาณความชืน้ รอยละ 10 + รอยละ 2
กรณีชิ้นทดสอบมีความชื้นมากกวาที่กำหนด ใหอบชิ้นทดสอบในตูอบที่มีอุณหภูมิไมเกิน 75 องศา
เซลเซียสจนไดความชืน้ ตามทีต่ อ งการ
กรณีชนิ้ ทดสอบมีความหนานอยกวาคาทีก่ ำหนด ใหอนุโลมใชรปู ทรงลูกบาศกทมี่ มี ติ เิ ทากับความหนา
11.4.2 เครื่องมือ
11.4.2.1 เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
11.4.2.2 เครือ่ งกดทีอ่ า นไดละเอียดถึง 100 นิวตัน และสามารถควบคุมอัตราเพิม่ แรงอัดไดระหวาง 0.05
ถึง 0.20 นิวตันตอตารางมิลลิเมตรตอวินาที
11.4.2.3 ตอู บ ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 105 องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส และควบคุมอุณหภูมิ
ไมใหเกิน 75 องศาเซลเซียส สำหรับการอบหาปริมาณความชืน้ อยใู นเกณฑรอ ยละ 10 + รอยละ
2 ได
11.4.3 วิธที ดสอบ
11.4.3.1 ใหกดชิน้ ทดสอบดวยวิธตี ามทีร่ ะบุใน มอก.109 โดยใชอตั ราเพิม่ แรงอัดตามตารางที่ 4 ในแนวตัง้ ฉาก
กับดานยาวของชิน้ ตัวอยางจนไดคา แรงอัดสูงสุดเมือ่ ชิน้ ทดสอบแตกเสียหาย
11.4.3.2 วัดปริมาณความชืน้ ของชิน้ ทดสอบ

–11–
มอก. 1505–2541

ตารางที่ 4 อัตราเพิม่ แรงอัดตัวอยางคอนกรีตมวลเบา


(ขอ 11.4.3.1)

ชั้นคุณภาพ อัตราเพิ่มแรงอัด
นิวตันตอตารางมิลลิเมตรตอวินาที
2 0.05
4 0.10
6 0.15
8 0.20
11.4.4 การรายงานผล
ใหรายงานปริมาณความชืน้ และคาความตานแรงอัดของชิน้ ทดสอบแตละคาและคาเฉลีย่
11.5 อัตราการดูดกลืนน้ำ
11.5.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดชิน้ ทดสอบทีก่ งึ่ กลางความยาวของตัวอยางใหมขี นาด 100 มิลลิเมตร x 100 มิลลิเมตร x 100
มิลลิเมตร โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ น + 1 มิลลิเมตร
กรณีชนิ้ ทดสอบมีความหนานอยกวาคาทีก่ ำหนด ใหอนุโลมใชรปู ทรงลูกบาศกทมี่ มี ติ เิ ทากับความหนา
11.5.2 เครื่องมือ
11.5.2.1 เครือ่ งวัดทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
11.5.2.2 เครือ่ งชัง่ ทีช่ งั่ ไดละเอียดถึง 1 กรัม
11.5.2.3 ตอู บ ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 105 องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส
11.5.3 วิธที ดสอบ
11.5.3.1 อบชิน้ ทดสอบในตอู บใหแหงจนไดน้ำหนักคงที่ เปนเวลาไมนอ ยกวา 24 ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 105
องศาเซลเซียส + 5 องศาเซลเซียส ปลอยใหเย็นทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ งไมนอ ยกวา 4 ชัว่ โมง จากนัน้ วัดมวล
และมิตขิ องแตละกอน
11.5.3.2 แชชนิ้ ทดสอบตามขอ 11.5.3.1 ในน้ำสะอาดใหน้ำทวมเปนเวลา 24 ชัว่ โมงแลวยกออก ใชผา ชมุ น้ำ
เช็ดที่ผิวทีละกอนแลวชั่งใหมใหเสร็จภายใน 3 นาที น้ำหนักที่ชั่งไดนี้ถือเปนน้ำหนักคอนกรีต
มวลเบาทีด่ ดู กลืนน้ำ
กรณีตวั อยางไมผา นการทดสอบ ใหทำการทดสอบซ้ำตัง้ แตขอ 11.5.3.1 โดยใชตวั อยางเดิมกับ
น้ำกลัน่ อีก 1 ครัง้
11.5.4 การรายงานผล
ใหรายงานคาเฉลีย่ การดูดกลืนน้ำของคอนกรีตมวลเบา โดยคำนวณจากสัดสวนน้ำหนักของน้ำทีด่ ดู กลืนตอ
ปริมาตรชิน้ ทดสอบซึง่ คำนวณจากมิติ

–12–

You might also like