You are on page 1of 19

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 293 2541

สายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด


PVC INSULATED ALUMINIUM CABLES

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 29.060.20 ISBN 974-608-216-7
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาอะลูมเิ นียม
หมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด

มอก. 293 2541

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทัว่ ไป เลม 116 ตอนที่ 42ง


วันที่ 27 พฤษภาคม พุทธศักราช 2542
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 78
มาตรฐานสายเคเบิล้ อะลูมเิ นียมเปลือยและหมุ ฉนวน
1. ผแู ทนวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
2. ผแู ทนกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน
3. ผแู ทนคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
4. ผแู ทนคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
5. ผแู ทนการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
6. ผแู ทนการไฟฟานครหลวง
7. ผแู ทนการไฟฟาสวนภูมภิ าค
8. ผแู ทนบริษทั สายไฟฟาไทย-ยาซากิ จำกัด
9. ผแู ทนบริษทั เฟลปส ดอดจไทยแลนด จำกัด
10. ผแู ทนบริษทั จรุงไทยไวรแอนดเคเบิล้ จำกัด
11. ผแู ทนบริษทั สายไฟฟาบางกอกเคเบิล้ จำกัด
12. ผแู ทนบริษทั สยามคอนติเนนตัลเคเบิล้ จำกัด
13. ผแู ทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม เปนกรรมการและเลขานุการ

(2)
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด ไดประกาศใชเปนครัง้ แรก
ตามมาตรฐานเลขที่ มอก.293-2522 ในราชกิจจานุเบกษา เลม 96 ตอนที่ 96 วันที่ 15 มิถนุ ายน พุทธศักราช 2522
และแกไขครัง้ ที่ 1 ตามมาตรฐานเลขที่ มอก.293-2526 ในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เลม 100 ตอนที่ 87 วันที่
27 พฤษภาคม พุทธศักราช 2526 และเพือ่ ใหเหมาะสมและสอดคลองกับภาวะการณปจ จุบนั จึงไดแกไขปรับปรุงโดย
ยกเลิกมาตรฐานเดิม และกำหนดมาตรฐานนีข้ นึ้ ใหม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยใชเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
IEC 228-1978 Conductors of insulated cables
ASTM B 263-94 Standard Test method for determination of cross-sectional area of stranded
conductors
ASTM B 400-92 Standard Test specification for compact round concentric-lay-stranded
aluminium conductors
UL 493-1988 Thermoplastic-insulated underground feeder and branch-circuit cables
UL 1581-1995 Electrical wires, cables, and flexible cords
มอก.11-2531 สายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด
มอก.85-2522 สายไฟฟาอะลูมเิ นียมตีเกลียวเปลือย

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 2460 ( พ.ศ. 2541 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด

โดยทีเ่ ปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมสายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิล


คลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก.293-2526
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 391( พ.ศ. 2522)
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511 เรือ่ งกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม สายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิคลอไรด ลงวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรมฉบับที่ 692 (พ.ศ. 2526) ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.
2511 เรือ่ งแกไขมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมสายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด (แกไขครัง้
ที่ 1) ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2526 และออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาอะลูมเิ นียม
หมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก. 293-2541 ขึน้ ใหม ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้
ทัง้ นี้ ใหมผี ลเมือ่ พนกำหนด 120 วัน นับแตวนั ทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2542


สุวจั น ลิปตพัลลภ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 293–2541

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาอะลูมิเนียม
หมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนด ชนิด ขนาด คุณลักษณะทีต่ อ งการ การบรรจุ เครือ่ งหมายและฉลาก
การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน และการทดสอบสายไฟฟาอะลูมเิ นียมหมุ ดวยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรดทใี่ ชกบั
แรงดันไฟฟากระแสสลับไมเกิน 750 โวลต และตัวนำที่มีอุณหภูมิไมเกิน 70 องศาเซลเซียส ซึ่งตอไปใน
มาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “สายไฟฟา”
1.2 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีค้ รอบคลุมเฉพาะสายไฟฟาแกนเดีย่ วทีใ่ ชภายนอกอาคาร โดยใชรว มกับตมุ
และลูกถวยรับสายไฟฟา

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 โพลิไวนิลคลอไรดหรือพีวีซี (polyvinylchloride) หมายถึง สวนผสมของสารโพลิไวนิลคลอไรดกับสารอื่น
ทีป่ ระกอบขึน้ เพือ่ ใหมสี มบัตติ ามทีต่ อ งการ ซึง่ อาจเปนพลาสโตเมอรโพลิไวนิลคลอไรด หรือมีโคโพลิเมอร
ผสมอยดู ว ย หรือเปนสวนผสมทีป่ ระกอบดวยสารโพลิไวนิลคลอไรด และโพลิเมอรบางตัวของสารโพลิไวนิล
คลอไรด
2.2 แกน หมายถึง ตัวนำรวมทัง้ ฉนวนทีห่ มุ
2.3 ตัวนำ หมายถึง ลวดอะลูมเิ นียมทีม่ พี นื้ ทีห่ นาตัดกลม อาจจะเปนเสนเดียวหรือหลายเสนตีเกลียว
2.4 ตัวนำตีเกลียว หมายถึง ตัวนำทีป่ ระกอบดวยกลมุ ของลวดตีเกลียวรวมศูนยกลางเดียวกัน
2.5 ตัวนำอัดแนน (compact) หมายถึง ตัวนำตีเกลียวทีอ่ ดั ใหแนนโดยใชแรงกดทางกลหรือโดยกรรมวิธอี นื่
2.6 แรงดันไฟฟา หมายถึง แรงดันไฟฟาทีเ่ ปนคารากกำลังสองเฉลีย่
2.7 ความยาวการตีเกลียว หมายถึง ความยาววัดตามแนวแกนของการเวียนแบบเกลียวทรงกระบอก (helix)
ครบหนึง่ รอบของลวดเสนใดเสนหนึง่ ของตัวนำตีเกลียว
2.8 อัตราสวนการตีเกลียว หมายถึง อัตราสวนของความยาวการตีเกลียวตอคาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางภายนอก
ของตัวนำตีเกลียวในชัน้ การตีเกลียวของลวดเสนนัน้
2.9 อุณหภูมสิ งู สุดของตัวนำในขณะใชงาน หมายถึง อุณหภูมสิ งู สุดซึง่ อาจเกิดขึน้ กับตัวนำในขณะใชงานตามปกติ
อุณหภูมดิ งั กลาวนี้ เกิดขึน้ จากอุณหภูมขิ องอากาศโดยรอบสายไฟฟากับอุณหภูมทิ เี่ กิดจากความรอนเนือ่ งจาก
กระแสไฟฟาไหลผานตัวนำ

–1–
มอก. 293–2541

2.10 คามัธยฐาน หมายถึง คาตรงกลาง ถาจำนวนคาทั้งหมดเปนเลขคี่ หรือ หมายถึง คาเฉลี่ยของคาตรงกลาง


2 คา ถาจำนวนคาทัง้ หมดเปนเลขคู เมือ่ คาทีไ่ ดจากผลการทดสอบมีหลายคาและเรียงตามลำดับจากมากไปหา
นอย หรือจากนอยไปหามาก

3. ชนิด
3.1 สายไฟฟาแบงออกได 2 ชนิด ดังนี้
3.1.1 ชนิดตัวนำไมอดั แนน
3.1.2 ชนิดตัวนำอัดแนน

4. ขนาด
4.1 ขนาดและรายละเอียดของสายไฟฟา ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 และตารางที่ 2

–2–
ตารางที่ 1 รายละเอียดของสายไฟฟาชนิดตัวนำไมอดั แนน
(ขอ 4.1, ขอ 5.1.2.1, ขอ 5.2.2, ขอ 5.5 ภาคผนวก ก. และภาคผนวก ข.)

พื้นทีห่ นาตัดระบุ พื้นทีห่ นาตัดจริง


จํานวน เสนผานศูนยกลาง เสนผานศูนยกลาง ความหนาเฉลี่ย ความตานทานสูงสุด แรงดึงของตัวนํา มวลของตัวนํา
จากการคํานวณ
เสนลวดในตัวนํา ของลวด ของตัวนํา ของฉนวน ของตัวนําที่ 20 จากการคํานวณ โดยประมาณ
2)
1) โดยการคํานวณ องศาเซลเซียส 3) กิโลกรัม 4)
ตารางมิลลิเมตร ตารางมิลลิเมตร เสน มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร โอหมตอกิโลเมตร นิวตัน ตอกิโลเมตร
10 9.54 1 3.49 3.49 1.1 3.08 1 562 26
10 9.64 7 1.32 3.96 1.1 3.08 1 769 27
16 15.39 1 4.43 4.43 1.1 1.91 2 445 42
16 15.55 7 1.68 5.04 1.1 1.91 2 781 43
25 24.75 7 2.12 6.36 1.3 1.20 4 241 68
35 34.21 7 2.49 7.47 1.3 0.868 5 703 94
–3–

50 46.32 7 2.90 8.70 1.5 0.641 7 423 128


50 46.32 19 1.76 8.80 1.5 0.641 8 114 128
70 67.03 19 2.12 10.60 1.5 0.443 11 487 185
95 92.79 19 2.49 12.45 1.7 0.320 15 470 256
120 117.37 19 2.80 14.00 1.7 0.253 18 810 324
120 117.37 37 2.01 14.07 1.7 0.253 20 114 324
150 144.15 37 2.23 15.61 1.9 0.206 24 704 398
185 181.06 37 2.50 17.50 2.1 0.164 30 187 500
240 237.55 61 2.23 20.07 2.3 0.125 38 568 655
300 296.94 61 2.49 22.41 2.5 0.100 46 901 819
400 381.67 61 2.82 25.38 2.7 0.0778 57 948 1 053

มอก. 293–2541
500 490.81 61 3.20 28.80 3.1 0.0605 73 194 1 354

หมายเหตุ 1) ดูภาคผนวก ข.
2) ดูภาคผนวก ค.
3) ดูภาคผนวก ง.
4) ดูภาคผนวก จ.
ตารางที่ 2 รายละเอียดของสายไฟฟาชนิดตัวนำอัดแนน

มอก. 293–2541
(ขอ 4.1 ขอ 5.1.3.1, ขอ 5.2.2, ขอ 5.5, ภาคผนวก ก, และภาคผนวก ข)

พื้นที่หนาตัดระบุ พื้นที่หนาตัดจริง จํานวน เสนผานศูนยกลาง ความหนาเฉลี่ย ความตานทานสูงสุด แรงดึงของตัวนํา มวลของตัวนํา


จากการคํานวณ เสนลวดในตัวนํา ของตัวนํา ของฉนวน ของตัวนําที่ 20 จากการคํานวณ โดยประมาณ
1) ต่ําสุด ต่ําสุด สูงสุด องศาเซลเซียส 2) กิโลกรัม 3)
ตารางมิลลิเมตร ตารางมิลลิเมตร เสน มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร โอหมตอกิโลเมตร นิวตัน ตอกิโลเมตร
10 9.64 6 3.5 4.1 1.1 3.08 1 768 27
16 15.55 6 4.6 5.2 1.1 1.91 2 734 43
25 24.75 6 5.6 6.5 1.3 1.20 4 120 68
35 34.21 6 6.6 7.5 1.3 0.868 5 591 94
50 46.32 6 7.7 8.6 1.5 0.641 7 313 128
–4–

70 67.03 12 9.3 10.2 1.5 0.443 10 420 185


95 92.79 15 11.0 12.0 1.7 0.320 14 098 256
120 117.37 15 12.5 13.5 1.7 0.253 18 518 324
150 144.15 15 13.9 15.0 1.9 0.206 22 457 398
185 181.06 30 15.5 16.8 2.1 0.164 28 974 500
240 237.55 30 17.8 19.2 2.3 0.125 37 506 655
300 296.94 30 20.0 21.6 2.5 0.100 45 642 819
400 381.67 53 22.9 24.6 2.7 0.0778 56 992 1 053
500 490.81 53 25.7 27.6 3.1 0.0605 72 195 1 354

หมายเหตุ 1) ดูภาคผนวก ข.
2) ดูภาคผนวก ง.
3) ดูภาคผนวก จ.
มอก. 293–2541

5. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
5.1 ตัวนำ
5.1.1 ตัวนำไมอดั แนนและตัวนำอัดแนน ตองทำดวยลวดอะลูมเิ นียมรีดแข็ง (hard drawn) ซึง่ มีคณ
ุ สมบัตทิ าง
กลและทางไฟฟาตามที่กำหนดไวในมาตรฐานนี้ ลวดตองเรียบและปราศจากขอบกพรองที่เปนผลเสีย
ตอการใชงาน
5.1.2 ตัวนำไมอดั แนน
5.1.2.1 จำนวนเสนลวดใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 1
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ
5.1.2.2 รอยตอในลวดและการตีเกลียว ใหเปนไปตาม มอก.85
5.1.2.3 เกณฑความคลาดเคลือ่ นของเสนผานศูนยกลางของลวดใหเปนไปตามทีก่ ำหนดดังนี้
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.11

เสนผานศูนยกลางของลวด เกณฑความคลาดเคลื่อน
มิลลิเมตร
นอยกวา 2.50 + 0.025 มิลลิเมตร
2.50 ขึ้นไป + รอยละ 1

5.1.3 ตัวนำอัดแนน
5.1.3.1 จำนวนเสนลวดต่ำสุด ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 2
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ
5.1.3.2 รอยตอในลวด ใหเปนไปตาม มอก.85
5.1.3.3 เกลียว
(1) สำหรับตัวนำทีม่ ขี นาดไมเกิน 150 ตารางมิลลิเมตร อัตราสวนการตีเกลียวของแตละชัน้ ตอง
ไมนอ ยกวา 11 แตไมเกิน 17.5
(2) สำหรับตัวนำทีม่ ขี นาดเกิน 150 ตารางมิลลิเมตร อัตราสวนการตีเกลียวของชัน้ นอกสุดตอง
ไมนอ ยกวา 8 แตไมเกิน 16
(3) ชัน้ ของเกลียว ซึง่ อยตู ดิ กันจะมีทศิ ทางของเกลียวทางเดียวกันหรือสวนกันก็ได แตชนั้ นอกสุด
ตองมีทศิ ทางของเกลียวทางขวา ลวดในแตละชัน้ ตองอยชู ดิ กันและเรียบเสมอกันหมด
(4) ในตัวนำซึง่ มีลวดหลายชัน้ อัตราสวนการตีเกลียวของชัน้ นอกตองไมเกินอัตราสวนการตีเกลียว
ของชัน้ ในซึง่ อยถู ดั เขาไป
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ และการทดสอบตาม มอก.11

–5–
มอก. 293–2541

5.1.3.4 อัตราสวนของเสนผานศูนยกลางของลวด ทีม่ คี า ตางกันในตัวนำกอนอัดแนนตองไมเกิน 2


5.2 ฉนวน
5.2.1 การหมุ ฉนวนตองหมุ ใหแนบชิดตัวนำ และตองทำใหปอกฉนวนออกไดงา ยโดยไมทำใหตวั นำชำรุด
5.2.2 ความหนาเฉลีย่ ของฉนวน ตองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 และตารางที่ 2 ความหนาของฉนวน
ทีจ่ ดุ ใดจุดหนึง่ อาจบางกวาทีก่ ำหนดไดแตจะบางกวาไดไมเกิน 0.1 มิลลิเมตรบวก รอยละ 10 ของคา
ทีก่ ำหนด
5.2.3 สีของฉนวนใหเปนสีดำ นอกจากมีการตกลงเปนอยางอืน่ ระหวางผซู อื้ กับผขู าย
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.11
5.3 ความคงทนของเครือ่ งหมาย
เครือ่ งหมายทีส่ ายไฟฟาตองมีความคงทนและไมลบเลือนงาย
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.1
5.4 คุณสมบัตทิ างกลของลวด ตองมีคา ไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดใน ตารางที่ 3
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.85 ในกรณีสายไฟฟาชนิดตัวนำอัดแนนใหชกั ตัวอยางจากเสนลวดกอนตีเกลียว
ตารางที่ 3 คุณสมบัตทิ างกลของลวดอะลูมเิ นียมรีดแข็ง
(ขอ 5.4)

เสนผานศูนยกลาง ความเคนดึงอันติมะต่ําสุด ความยืดต่ําสุด


(minimum ultimate tensile stress) กอนตีเกลียว
นิวตัน (กิโลกรัมแรง) ตอตารางมิลลิเมตร
มิลลิเมตร กอนตีเกลียว หลังตีเกลียว รอยละ
1.25 200.0 (20.4) 190.2 (19.4) 1.2
1.50 193.2 (19.7) 183.4 (18.7) 1.3
1.75 188.3 (19.2) 178.5 (18.2) 1.3
2.00 184.4 (18.8) 175.5 (17.9) 1.4
2.25 180.4 (18.4) 171.6 (17.5) 1.5
2.50 175.5 (18.0) 167.6 (17.1) 1.5
2.75 172.6 (17.6) 163.8 (16.7) 1.6
3.00 168.7 (17.2) 159.8 (16.3) 1.6
3.25 165.7 (16.9) 156.9 (16.0) 1.7
3.50 163.8 (16.7) 156.0 (15.9) 1.7
3.75 161.8 (16.5) 154.0 (15.7) 1.8
4.00 159.8 (16.3) 152.0 (15.5) 1.9
4.25 159.8 (16.3) 152.0 (15.5) 2.0
4.50 158.9 (16.2) 151.0 (15.4) 2.0
4.75 158.9 (16.2) 151.0 (15.4) 2.0
5.00 158.9 (16.2) 151.0 (15.4) 2.0
หมายเหตุ สำหรับเสนลวดที่มีเสนผานศูนยกลางไมตรงกับตัวเลขในตารางใหถือ
เอาคาของเสนผานศูนยกลางใหญกวาซึ่งอยูถัดไปแทน

–6–
มอก. 293–2541

5.5 สภาพตานทานของลวดอะลูมเิ นียม ตองมีคา ไมเกิน 28.264 โอหมตารางมิลลิเมตรตอกิโลเมตร ทีอ่ ณุ หภูมิ


20 องศาเซลเซียส ความตานทานของตัวนำตองมีคา ไมเกิน คาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 และตารางที่ 2
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.85 ในกรณีสายไฟฟาชนิดตัวนำอัดแนนใหชกั ตัวอยางจากเสนลวดกอนตีเกลียว
มาทำการทดสอบ
5.6 ความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา
เมือ่ ทดสอบตามมอก. 11 ฉนวนของสายไฟฟาตองไมเสียสภาพฉับพลันหรือวาบไฟตามผิว
5.7 ความตานแรงดึงและความยืดของฉนวน
5.7.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน
คามัธยฐานของความตานแรงดึงตองไมนอ ยกวา 12.5 เมกะพาสคัล
คามัธยฐานของความยืดตองไมนอ ยกวารอยละ 125
5.7.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน
ความแตกตางระหวางคามัธยฐานภายหลังเรงอายุใชงานกับคามัธยฐานกอนเรงอายุใชงานตองไมเกิน
รอยละ 20 ของคามัธยฐานกอนเรงอายุใชงาน
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามมอก. 11
5.8 การสูญเสียมวลของฉนวน
เมือ่ ทดสอบฉนวนตามมอก. 11 การสูญเสียมวลของฉนวนตองไมเกิน 2.0 มิลลิกรัมตอตารางเซนติเมตร
5.9 ความทนของฉนวนตอการช็อกดวยความรอน
เมือ่ ทดสอบตาม มอก.11 โดยใชอณ ุ หภูมทิ ดสอบ 120 ± 3 องศาเซลเซียส ฉนวนตองไมแตกราน
5.10 การเปลีย่ นรูปของฉนวนขณะมีแรงกดทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู
เมือ่ ทดสอบฉนวนตามมอก.11 คามัธยฐานของความลึกทีร่ อยกดตองไมเกินรอยละ 50 ของความหนาเฉลีย่
ของชิน้ ทดสอบ
5.11 ความทนตอแสงอาทิตย
เมือ่ ทดสอบฉนวนตาม ขอ 9.2.1 หรือ 9.2.2 อัตราสวนระหวางคาเฉลีย่ ของความตานแรงดึง และความยืด
ภายหลังทดสอบความทนตอแสงอาทิตย กับคาเฉลีย่ ของความตานแรงดึงและความยืดกอนทดสอบความทนตอ
แสงอาทิตย ตองไมนอ ยกวารอยละ 85

6. การบรรจุ
6.1 หนวยบรรจุใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผซู อื้ กับผขู ายซึง่ อาจเปน ลอ มวน ขด (ความยาวของสายไฟฟาใน
แตละหนวยบรรจุใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผซู อื้ และผขู าย)
6.2 หนวยบรรจุ ใหมสี งิ่ ปองกันสายไฟฟาไมใหเสียหายเนือ่ งจากการเคลือ่ นยายและขนสง ทัง้ นีใ้ หเปนไปตามขอ
ตกลงระหวางผซู อื้ กับผขู าย

–7–
มอก. 293–2541

7. เครือ่ งหมายและฉลาก
7.1 ทีส่ ายไฟฟาทุกหนวยบรรจุ ทุกระยะหางไมเกิน 500 มิลลิเมตร อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมาย
แจงรายละเอียดตอไปนี้ ใหเห็นไดงา ย ชัดเจน และไมลบเลือน
(1) ขอความ “พีวซี ี 70 0C”
(2) ชนิด
(3) ชือ่ หรือสัญลักษณของสายไฟฟาและหมายเลขตารางที่ 1 หรือตารางที่ 2
(4) ขนาดแรงดันไฟฟา
(5) พืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ
(6) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
7.2 ทีภ่ ายนอกหนวยบรรจุสายไฟฟาอยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแสดงขอความตอไปนี้ ใหเห็นได
งาย ชัดเจน และไมลบเลือน
(1) ขอความ “พีวซี ี 70 0C”
(2) ชนิด
(3) ชือ่ หรือสัญลักษณของสายไฟฟาและหมายเลขตารางที่ 1 หรือตารางที่ 2
(4) ขนาดแรงดันไฟฟา
(5) พืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ
(6) ความยาว เปนเมตร
(7) น้ำหนักสุทธิ เปนกิโลกรัม ในกรณีเปนลอใหระบุน้ำหนักรวมดวย
(8) เดือนปทที่ ำ
(9) ในกรณีทหี่ นวยบรรจุเปนลอ ใหมลี กู ศรแสดงทิศทางการกลิง้ ลอ และตำแหนงปลายสาย
(10) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
7.3 ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน

8. การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
8.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง สายไฟฟาชนิดเดียวกัน พืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ จำนวนและเสนผานศูนยกลางของ
เสนลวดในตัวนำอยางเดียวกัน ทีท่ ำติดตอในคราวเดียว หรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน
8.2 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางทีก่ ำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
8.2.1 การชักตัวอยาง
8.2.1.1 ใหชกั ตัวอยางสายไฟฟาไปทดสอบจากรนุ เดียวกัน 30 เมตร จากหนวยบรรจุในแตละรนุ ตามหมายเลข
ของหนวยบรรจุ นอกจากจะตกลงกันเปนอยางอืน่ ระหวางผซู อื้ กับผขู าย
8.2.1.2 สำหรับสายไฟฟาชนิดตัวนำไมอดั แนน การทดสอบในขอ 5.4 และขอ 5.5 ใหชกั ตัวอยางเสนลวด
โดยเลือกจากตัวอยาง 30 เมตร จากหนวยบรรจุในแตละรนุ ตามหมายเลขของหนวยบรรจุ

–8–
มอก. 293–2541

8.2.1.3 สำหรับสายไฟฟาชนิดตัวนำอัดแนน การทดสอบในขอ 5.4 และขอ 5.5 ใหชกั ตัวอยางเสนลวดกอน


ตีเกลียว โดยเลือกจากตัวอยาง 30 เมตร จากหนวยบรรจุในแตละรนุ ตามหมายเลขของหนวยบรรจุ
8.2.2 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 4. ขอ 5. ขอ 6. และขอ 7. ทุกรายการ จึงจะถือวาสายไฟฟารนุ นัน้ เปนไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

9. การทดสอบ
9.1 ความคงทนของเครือ่ งหมาย
ใชผา ทีช่ มุ น้ำถูเครือ่ งหมายทีส่ ายไฟฟา แลวตรวจพินจิ เครือ่ งหมายตองยังคงติดแนนและเห็นไดชดั เจน
9.2 ความทนตอแสงอาทิตย
9.2.1 การทดสอบแบบคารบอนอารค (carbon-arc test) เปนเวลา 300 ชัว่ โมง
9.2.1.1 เครือ่ งทดสอบ
เครือ่ งทดสอบเปนไปตามทีก่ ำหนดในมาตรฐาน UL 1581
9.2.1.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
(1) ตัดสายไฟฟาตัวอยาง จำนวน 5 ชิน้ สำหรับทดสอบความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุ
ใชงาน แตละชิน้ ยาวพอเหมาะและเพียงพอทีจ่ ะนำไปใชทดสอบความตานแรงดึงและความยืด
ตาม มอก.11
(2) ตัดสายไฟฟาตัวอยางจำนวน 5 ชิน้ โดยเลือกเอาจากบริเวณทีอ่ ยตู ดิ กับตัวอยางในขอ (1) เพือ่
นำมาเรงอายุใชงานตามขอ 9.2.1.3
9.2.1.3 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั ติ าม UL 1581 โดย
(1) ตัง้ เครือ่ งฉีดพนน้ำเปนเวลา 3 นาที อยางตอเนือ่ ง แลวหยุดฉีดพนน้ำเปนเวลา 17 นาที นับเปน
1 วัฏจักร โดยทีม่ คี ารบอนอารคทำงานตลอดวัฏจักรนัน้ ใหทำเชนนีซ้ ้ำอีกจนครบ 300 ชัว่ โมง
(2) น้ำทีใ่ ชตอ งเปนน้ำสะอาดมีคา pH 6.0 ถึง 8.0 อุณหภูมิ 16.0 ± 5.0 องศาเซลเซียส น้ำทีใ่ ชหา ม
นำมาฉีดพนอีก นอกจากปรับสภาพน้ำใหมคี ณ ุ ภาพเหมือนเดิม
(3) นำชิน้ ทดสอบออกจากตทู ดสอบ แลวปลอยทิง้ ไวทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ ง ทีไ่ มใหถกู แสงอาทิตยโดยตรง
เปนเวลาไมนอ ยกวา 16 ชัว่ โมง และไมมากกวา 96 ชัว่ โมง แลวนำไปทดสอบความตานแรงดึง
และความยืดตาม มอก.11
9.2.1.4 การรายงานผล
ใหรายงานผลความตานแรงดึงและความยืดเปนคาเฉลีย่ โดยใชวธิ คี ำนวณความตานแรงดึงและความยืด
ตาม มอก.11
9.2.2 การทดสอบแบบซีนอนอารค (xenon-arc test) เปนเวลา 420 ชัว่ โมง
9.2.2.1 เครือ่ งทดสอบ
ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในมาตรฐาน UL 1581

–9–
มอก. 293–2541

9.2.2.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ


(1) ตัดสายไฟฟาตัวอยาง จำนวน 5 ชิน้ สำหรับทดสอบความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุ
ใชงาน แตละชิน้ ยาวพอเหมาะและเพียงพอทีจ่ ะนำไปใชทดสอบความตานแรงดึงและความยืด
ตามมอก.11
(2) ตัดสายไฟฟาตัวอยางจำนวน 5 ชิน้ โดยเลือกเอาจากบริเวณทีอ่ ยตู ดิ กับตัวอยางในขอ (1) เพือ่
นำมาบมตามขอ 9.2.2.3
9.2.2.3 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั ติ าม UL 1581 โดย
(1) ตัง้ เครือ่ งฉีดพนน้ำเปนเวลา 18 นาที อยางตอเนือ่ ง แลวหยุดฉีดพนน้ำเปนเวลา 102 นาที
นับเปน 1 วัฏจักร โดยทีม่ ซี นี อนอารคทำงานตลอดวัฏจักรนัน้ ใหทำเชนนีซ้ ้ำอีกจนครบ 420
ชัว่ โมง
(2) น้ำทีใ่ ชตอ งเปนน้ำสะอาดมีคา pH 6.0 ถึง 8.0 อุณหภูมิ 16.0 ± 5.0 องศาเซลเซียส น้ำทีใ่ ชหา ม
นำมาฉีดพนอีก นอกจากจะปรับสภาพน้ำใหมคี ณ ุ ภาพเหมือนเดิม
(3) นำชิ้นทดสอบออกจากเครื่องทดสอบ แลวปลอยทิ้งไวที่อุณหภูมิหองไมใหถูกแสงอาทิตย
โดยตรง เปนเวลาไมนอ ยกวา 16 ชัว่ โมง และไมมากกวา 96 ชัว่ โมง แลวนำไปทดสอบความตาน
แรงดึง และความยืดตามมอก. 11
9.2.2.4 การรายงานผล
ใหรายงานผลความตานแรงดึงและความยืดเปนคาเฉลีย่ โดยใชวธิ คี ำนวณความตานแรงดึงและความยืด
ตาม มอก.11

–10–
มอก. 293–2541

ภาคผนวก ก.
การทดสอบการดึงของตัวนำตีเกลียว
(ตารางที่ 1 และตารางที่ 2)

ก.1 การทดสอบการดึงของตัวนำตีเกลียว จะกระทำตอเมือ่ มีการตกลงกันระหวางผทู ำกับผซู อื้ ใชตวั อยางจากตัวนำ


ตีเกลียว ซึง่ เมือ่ ใสเขาไปในเครือ่ งทดสอบแรงดึงแลวตองมีระยะทางระหวางปากจับไมนอ ยกวา 1 เมตร ตัวนำ
ตีเกลียวตองสามารถทนแรงดึงไดอยางนอยรอยละ 95 ของแรงดึงทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 และตารางที่ 2

–11–
มอก. 293–2541

ภาคผนวก ข.
การคำนวณพืน้ ทีห่ นาตัดจริงของตัวนำ
(ตารางที่ 1 และตารางที่ 2)

พืน้ ทีห่ นาตัดจริงคำนวณโดยอาศัยขอมูลจาก IEC 228 และใชสตู รดังนี้


nπd2 = A K1 K2 K3
4 Rdc
เมื่อ nπd2คือ พืน้ ทีห่ นาตัดจริง เปนตารางมิลลิเมตร
4
A คือ สภาพตานทานของอะลูมเิ นียม
มีคา 28.264 โอหมตารางมิลลิเมตรตอกิโลเมตรที่ 20 องศาเซลเซียส
n คือ จำนวนเสนลวดในตัวนำ
d คือ เสนผานศูนยกลางของลวดในตัวนำ เปนมิลลิเมตร
Rdc คือ ความตานทานทีอ่ ณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส เปนโอหมตอกิโลเมตร
K1 คือ ตัวประกอบขึ้นกับเสนผานศูนยกลางของลวดในตัวนำขึ้นกับชนิดของโลหะและเปนลวดเคลือบ
หรือไม
คา K1 มีคา ดังนี้

เสนผานศูนยกลาง K1
ของลวดในตัวนําสูงสุด ตัวนําตัน ตัวนําตีเกลียว
มิลลิเมตร
มากกวา 0.05 ถึง 0.10 – 1.12
มากกวา 0.10 ถึง 0.31 – 1.07
มากกวา 0.31 ถึง 0.91 1.05 1.04
มากกวา 0.91 ถึง 3.60 1.04 1.03
มากกวา3.60 ขึ้นไป 1.04 –

K2 คือ ตัวประกอบขึน้ กับวิธกี ารตีเกลียว


1.02 สำหรับตัวนำตีเกลียว
1.00 สำหรับตัวนำตัน
K3 คือ ตัวประกอบขึน้ กับวิธที แี่ กนพันกัน 1.00 สำหรับสายแกนเดีย่ วและสายออน และสายหลายแกนและ
สายออนทีแ่ กนไมไดพนั กัน

–12–
มอก. 293–2541

ภาคผนวก ค.
การคำนวณเสนผานศูนยกลางของลวดในตัวนำ
(ตารางที่ 1)

เสนผานศูนยกลางของลวดในตัวนำ คำนวณจากสูตร
nπd2 = พืน้ ทีห่ นาตัดจริงของตัวนำ เปนตารางมิลลิเมตร
4
เมื่อ d = เสนผานศูนยกลางโดยการคำนวณ (ผนวก ข.)
n = จำนวนเสนลวด

ภาคผนวก ง.
การคำนวณแรงดึงของตัวนำ
(ตารางที่ 1 และตารางที่ 2)

แรงดึงของตัวนำ = π4 x (เสนผานศูนยกลางของลวด)2 x 0.95 (ไมเกิน 37 เสน) หรือ


x 0.90 (เกิน 37 เสน) หรือ
x ความเคนดึงอันติมะต่ำสุดตาม มอก.85

–13–
มอก. 293–2541

ภาคผนวก จ.
การคำนวณมวลของตัวนำ
(ตารางที่ 1 และตารางที่ 2)

มวลของตัวนำ = D x nπd2 x L x คาการสูญเสียของเลยประสิทธิผล (effective lay loss)


4
เมื่อ D คือ ความหนาแนนของอะลูมเิ นียม
2
มีคา 2.705 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ที่ 20 องศาเซลเซียส
nπd คือ พืน้ ทีห่ นาตัดจริงของตัวนำโดยการคำนวณเปนตารางมิลลิเมตร
4
L คือ ความยาว เปนกิโลเมตร
การสูญเสียของเลยประสิทธิผล หาไดจากสูตร
LLi =√ 1 + π Di2( )
Li
เมื่อ LLi คือ การสูญเสียของเลยของตัวนำชัน้ ที่ i
Di คือ เสนผานศูนยกลางของตัวนำชัน้ ที่ i
Li คือ ความยาวเลยของตัวนำชัน้ ที่ i
LLeff = 1 + Σ niLLi
N
เมื่อ LLeff คือ การสูญเสียเลยประสิทธิผล
ni คือ จำนวนตัวนำชัน้ ที่ i
N คือ จำนวนตัวนำทัง้ หมด

–14–

You might also like