You are on page 1of 51

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 96 2549

แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
เลม 1 ทัว่ ไป
PRIMARY BATTERIES –
PART 1 : GENERAL

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 29.220.10 ISBN 978-974-292-310-5
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
เลม 1 ทัว่ ไป

มอก. 96 2549

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไป เลม 124 ตอนพิเศษ 43ง


วันที่ 9 เมษายน พุทธศักราช 2550
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 142
มาตรฐานแบตเตอรีแ่ หง
ประธานกรรมการ
รองศาสตราจารย พิชติ ลำยอง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง
กรรมการ
นาวาอากาศเอก นันทพัทธ ปรีวรรณ กรมการสือ่ สารทหารอากาศ
พันเอก อธิชน แสงแกว กรมการทหารสือ่ สาร
นายประพิศ ยอดสุวรรณ สำนักงานคณะกรรมการคมุ ครองผบู ริโภค
นางสาวสุภาพร จาตุรนั ตเรืองศรี กรมวิทยาศาสตรบริการ
นายรังสรรค ปน ทอง กรมควบคุมมลพิษ
นายฤทธิชยั ตันจตุรงค การไฟฟานครหลวง
นายวิชยั ดีเจริญกุล บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
นายสมโภชน ทรัพยสนิ บริษทั เรยแลมแบตเตอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด
นายธานินทร มีเพียร บริษทั มัทสุชติ ะแบตเตอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด
นายแสงชัย กิจสัมฤทธิโ์ รจน บริษทั สปาสือ่ สาร จำกัด
นายโกเมศ วิชติ ธนาฤกษ บริษทั โกศลอุตสาหกรรม จำกัด
นายพงศพฒ ั น วรรัตนธรรม บริษทั โนเกีย (ประเทศไทย) จำกัด
นายชวลิต มโนวิลาศ บริษทั บราโว อีเลคทรอนิคส จำกัด
นายประวิทย พุทธาวิรตั กิ ลุ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
กรรมการและเลขานุการ
นายปยะพงศ นิระ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

(2)
แบตเตอรีป่ ฐมภูมเิ ปนผลิตภัณฑทมี่ ใี ชในอุปกรณเครือ่ งใชไฟฟาทัว่ ไป ดังนัน้ เพือ่ ใหผลิตภัณฑดงั กลาวมีคณ
ุ ภาพทีด่ ี
มีความปลอดภัย เหมาะสมกับการใชงาน และไมเปนสาเหตุใหเครือ่ งใชไฟฟาชำรุดเสียหายไดงา ย จึงไดมมี าตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมแบตเตอรี่แหง (แบบเลอคลังเช) เลขที่ มอก.96-2517 ประกาศใชเปนครั้งแรกใน
ราชกิจจานุเบกษา เลม 91 ตอนที่ 201 วันที่ 28 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2517 และมีการแกไขมาตรฐานครัง้ ที่ 1
เปลีย่ นเปนเลขที่ มอก.96-2528 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เลม 102 ตอนที่ 35 วันที่ 22 มีนาคม
พุทธศักราช 2528 ตอมาไดพจิ ารณาเห็นสมควรแกไขปรับปรุงมาตรฐานฉบับนีใ้ หมใหทนั สมัยครอบคลุมกับการใชงาน
จริง และสอดคลองตามมาตรฐานสากล จึงไดยกเลิกมาตรฐานฉบับเดิมและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 1 ทัว่ ไป ขึน้ ใหม
มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้เปนเลมหนึ่งในอนุกรมมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเซลลและแบตเตอรี่
อันประกอบไปดวย
1. มอก.2217-2548 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมเซลลและแบตเตอรีท่ ตุ ยิ ภูมทิ มี่ อี เิ ล็กโทรไลตแอลคาไลนหรือ
อิเล็กโทรไลตอนื่ ทีไ่ มใชกรด สำหรับการใชงานแบบพกพา เฉพาะดานความปลอดภัย
2. มอก.2218-2548 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมเซลลและแบตเตอรีท่ ตุ ยิ ภูมทิ มี่ อี เิ ล็กโทรไลตแอลคาไลนหรือ
อิเล็กโทรไลตอนื่ ทีไ่ มใชกรด-เซลลและแบตเตอรีท่ ตุ ยิ ภูมริ ะบบลิเทียม สำหรับการใชงานแบบพกพา
3. มอก.2219-2548 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 2 ขอกำหนดคุณลักษณะทางรูปราง
และทางไฟฟา
4. มอก.2266-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 5 แบตเตอรีท่ มี่ อี เิ ล็กโทรไลตเหลว
เฉพาะดานความปลอดภัย
5. มอก.2304-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 3 แบตเตอรีน่ าฬิกา
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยรับ IEC 60086-1 : 2000 Primary batteries-Part 1 : General
มาใชในระดับดัดแปลง (modified) โดยมีรายละเอียดการดัดแปลงทีส่ ำคัญดังตอไปนี้
- การทำเครือ่ งหมายบนแบตเตอรีเ่ กีย่ วกับการกำจัด ในขอที่ 4.1.6.3 กำหนดใหเปนไปตามกฎหมายดานสิง่ แวดลอม
ทีเ่ กีย่ วของ และมาตรฐาน IEC 61429
- ความปลอดภัย ในขอที่ 4.2.6 กำหนดใหแบตเตอรีป่ ฐมภูมติ อ งมีความปลอดภัย เปนไปตามทีก่ ำหนดไวใน IEC
60086-4 และ มอก.2266

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
สารบัญ
หนา
1. ขอบขาย 1
2. เอกสารอางอิง 1
3. บทนิยาม 1
4. คุณลักษณะทีต่ อ งการ 4
4.1 ทัว่ ไป 4
4.2 สมรรถนะ 10
5. สมรรถนะ-การทดสอบ 11
5.1 ทัว่ ไป 11
5.2 การทดสอบการปลอยประจุ 11
5.3 การตรวจสอบความถูกตองตามเกณฑ (conformance check) กับชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุดทีร่ ะบุ 12
5.4 วิธกี ารคำนวณคาทีก่ ำหนดไวของชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด 13
5.5 การทดสอบแรงดันไฟฟาวงจรเปด (open circuit voltage, OCV) 13
5.6 มิตขิ องแบตเตอรี่ 13
5.7 การรัว่ และการเสียรูป 13
6. สมรรถนะ-ภาวะการทดสอบ 13
6.1 ภาวะกอนการปลอยประจุ 13
6.2 การเริม่ การทดสอบการปลอยประจุหลังการจัดเก็บ 14
6.3 ภาวะทดสอบการปลอยประจุ 14
6.4 ความตานทานโหลด 14
6.5 คาบเวลา (time period) 15
6.6 การกระตนุ (activation) ของแบตเตอรีร่ ะบบ P 15
6.7 เครื่องวัด 15
7. การชักตัวอยางและการประกันคุณภาพ 15
7.1 การชักตัวอยาง 15
7.2 ดัชนีคณ ุ ภาพของผลิตภัณฑ 16
8. การบรรจุหบี หอแบตเตอรี่ 17
ภาคผนวก ก.ระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) 18
ภาคผนวก ข. หลักปฏิบตั สิ ำหรับการบรรจุหบี หอ การขนสง การจัดเก็บ การใชงาน และการกำจัด 33
ของแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
ภาคผนวก ค.การออกแบบบริภณ ั ฑ 36
ภาคผนวก ง. วิธกี ารคำนวณคาทีก่ ำหนดของชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด 38
ภาคผนวก จ. แนวทางสำหรับการกำหนดมาตรฐานของแบตเตอรี่ 39
ภาคผนวก ฉ.มิตนิ ยิ มสำหรับแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ 40
ภาคผนวก ช. นิยามแรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน และวิธหี าคา 42
(4)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3602 ( พ.ศ. 2549 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีแหง (แบบเลอคลังเช)
แกไขมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีแหง (แบบเลอคลังเช) (แกไขครัง้ ที่ 1)
และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 1 ทัว่ ไป

โดยทีเ่ ปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม แบตเตอรีแหง (แบบเลอคลังเช) มาตรฐาน


เลขที่ มอก.96-2517 และมาตรฐานเลขที่ มอก.96-2528 (แกไขครัง้ ที่ 1)
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 109 (พ.ศ. 2517)
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511 เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม แบตเตอรีแหง (แบบเลอคลังเช) ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 และเรือ่ ง แกไขมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แบตเตอรีแหง (แบบเลอคลังเช) (แกไขครั้งที่ 1) ลงวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2528
และออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 1 ทัว่ ไป มาตรฐานเลขที่ มอก.96-
2549 ขึน้ ใหม ดังมีรายละเอียดตอทายประกาศนี้
ทัง้ นี้ ใหมผี ลตัง้ แตวนั ทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549


โฆสิต ปน เปย มรัษฎ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 96–2549

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
เลม 1 ทัว่ ไป

1. ขอบขาย
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดมาตรฐานแบตเตอรีป่ ฐมภูมโิ ดยระบบเคมีไฟฟา มิติ การระบุชอื่ รูปลักษณ
ของขัว้ การทำเครือ่ งหมาย วิธที ดสอบ สมรรถนะ ความปลอดภัย และการกำจัด

2. เอกสารอางอิง
เอกสารอางอิงที่ระบุนี้ ประกอบดวยขอกำหนดที่นำมาอางอิงในการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้
สำหรับเอกสารอางอิงฉบับทีร่ ะบุปท พี่ มิ พจะไมนำเอกสารอางอิงฉบับทีแ่ กไขเพิม่ เติมหรือแกไขปรับปรุงในภายหลัง
มาใชในการอางอิง สวนเอกสารอางอิงฉบับทีไ่ มไดระบุปท พี่ มิ พนนั้ ใหใชฉบับลาสุด
มอก.465 แผนและวิธกี ารชักตัวอยางเพือ่ การตรวจสอบแบบแอตทริบวิ ส
มอก.2219 แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 2 ขอกำหนดคุณลักษณะทางรูปราง และทางไฟฟา
มอก.2266 แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 5 แบตเตอรีท่ มี่ อี เิ ล็กโทรไลตเหลว เฉพาะดานความปลอดภัย
มอก.2304 แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ เลม 3 แบตเตอรีน่ าฬิกา
IEC 60086-4 Primary batteries-Part 4: Safety of lithium batteries
IEC 60410: 1973 Sampling plans and procedures for inspection by attributes
IEC 61429: 1995 Marking of secondary cells and batteries with the international recycling symbol
ISO 7000-1135
ISO 3951: 1989 Sampling procedures and charts for inspection by variables for percent
nonconforming
ISO/IEC Directives-Part 2: 1992

3. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีม้ ดี งั ตอไปนี้
3.1 การทดสอบใชงาน (application test)
การทดสอบที่จำลองการใชงานจริงของแบตเตอรี่ในสภาพการใชงานเฉพาะ ตัวอยางเชน การทดสอบ
ไฟฉายพกพา เครือ่ งบันทึกเสียง เครือ่ งรับวิทยุ

–1–
มอก. 96–2549

3.2 การปลอยประจุของแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ (discharge (of a primary battery))


การทำงานในระหวางทีแ่ บตเตอรีจ่ า ยกระแสไฟฟาใหกบั วงจรภายนอก
3.3 แบตเตอรี่ (ปฐมภูม)ิ แหง (dry (primary) battery)
แบตเตอรีป่ ฐมภูมทิ มี่ อี เิ ล็กโทรไลตเหลวไมเคลือ่ นที่
3.4 ความตานทานภายในยังผล - วิธไี ฟฟากระแสตรง (effective internal resistance - DC method)
ความตานทานของสวนประกอบทางไฟฟาทีห่ าไดจากการคำนวณอัตราสวนระหวางแรงดันไฟฟาตกครอม ∆U
ของสวนประกอบกับพิสยั ของกระแสไฟฟา ∆i ทีไ่ หลผานสวนประกอบนี้ และทำใหเกิดแรงดันไฟฟาตกครอม
R=∆U/∆i
หมายเหตุ เพือ่ เปนการเปรียบเทียบ ความตานทานไฟฟากระแสตรงภายใน Ri ของเซลลเคมีไฟฟาใดๆ กำหนด
ไดจากความสัมพันธดังตอไปนี้
∆U(V)
Ri (Ω) = (1)
∆i(A)
ความตานทานไฟฟากระแสตรงภายในแสดงใหเห็นไดดวยแผนภาพภาวะชั่วครูของแรงดันไฟฟา (voltage
transient)

รูปที่ 1 แผนภาพภาวะชัว่ ครขู องแรงดันไฟฟา


(ขอ 3.4)

ตามแผนภาพในรูปที่ 1 แรงดันไฟฟาตกครอม ∆U ของสวนประกอบทัง้ สองมีความแตกตางกันโดยธรรมชาติ


ตามทีแ่ สดง ในความสัมพันธดงั นี้
∆U = ∆UΩ + ∆U(t) (2)

–2–
มอก. 96–2549

สวนประกอบแรก ∆UΩ สำหรับ ( t = t1 ) จะไมขนึ้ กับเวลา และเปนผลจากการเพิม่ ขึน้ ของกระแสไฟฟา ∆i


ตามความสัมพันธ
∆UΩ = ∆i × RΩ (3)
ตามความสัมพันธนี้ RΩ เปนความตานทานบริสุทธิ์ (pure ohmic resistance) สวนประกอบที่ 2 ∆U(t)
จะขึน้ กับเวลาและเปนตนกำเนิดเคมีไฟฟา
3.5 แรงดันไฟฟาจุดสุดทาย (end-point voltage)
แรงดันไฟฟาขณะวงจรปดทีก่ ำหนดไว ณ จุดซึง่ สิน้ สุดการทดสอบการใชงาน
3.6 การรัว่ (leakage)
การรัว่ ของอิเล็กโทรไลต กาซ หรือวัสดุอนื่ จากแบตเตอรีโ่ ดยไมไดออกแบบไว
3.7 ชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด (minimum average duration, MAD)
เวลาเฉลีย่ ต่ำสุดในการปลอยประจุทชี่ ดุ ของแบตเตอรีท่ ำได
หมายเหตุ การทดสอบการปลอยประจุทำไดตามวิธที ดสอบหรือมาตรฐานทีก่ ำหนดไว และออกแบบเพือ่ แสดงถึง
ความสอดคลองกับมาตรฐานที่ใชกับแบตเตอรี่ชนิดนั้นๆ
3.8 แรงดันไฟฟาระบุของแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ (nominal voltage of a primary battery)
คาโดยประมาณทีเ่ หมาะสมของแรงดันไฟฟาทีใ่ ชในการระบุแรงดันไฟฟาของแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
3.9 แรงดันไฟฟามีโหลด (on-load voltage)
แรงดันไฟฟาวงจรปด (closed circuit voltage, CCV)
แรงดันไฟฟาครอมขัว้ ของแบตเตอรีเ่ มือ่ มีการปลอยประจุ
3.10 แรงดันไฟฟาวงจรเปด (open-circuit voltage, OCV)
แรงดันไฟฟาไมมโี หลด
แรงดันไฟฟาครอมขัว้ ของแบตเตอรีเ่ มือ่ ไมมกี ระแสไฟฟาไหลออกภายนอก
3.11 แบตเตอรีป่ ฐมภูมิ (primary battery)
เซลลปฐมภูมหิ นึง่ เซลลหรือมากกวา รวมทัง้ เปลือกหมุ ขัว้ และเครือ่ งหมาย
3.12 เซลลปฐมภูมิ (primary cell)
แหลงกำเนิดของพลังงานไฟฟาที่ไดจากการแปลงเปลี่ยนโดยตรงของพลังงานเคมีที่ไมไดออกแบบให
ประจุไฟดวยแหลงกำเนิดไฟฟาอืน่
3.13 ผลของการใชงาน (ของแบตเตอรีป่ ฐมภูม)ิ (service output (of a primary battery))
อายุการใชงาน หรือความจุ หรือพลังงานดานออกของแบตเตอรีใ่ นภาวะทีก่ ำหนดของการปลอยประจุ

–3–
มอก. 96–2549

3.14 การทดสอบผลของการใชงาน (service output test)


การทดสอบทีอ่ อกแบบเพือ่ วัดผลการใชงานของแบตเตอรี่
หมายเหตุ การทดสอบผลการใชงานอาจกำหนดขึน้ ตัวอยาง เชน
ก) การทดสอบมีความซับชอนเกินไปที่จะจำลองขึ้นมาใช
ข) ชวงเวลาของการทดสอบไมเหมาะสมในทางปฏิบัติที่จะทำเพื่อจุดมุงหมายในการทดสอบประจำ
3.15 อายุการเก็บ (storage life)
ชวงเวลาในสภาวะทีร่ ะบุ ซึง่ สุดทายแบตเตอรีย่ งั คงความสามารถทำงานไดตามผลการใชงานทีร่ ะบุ
3.16 ขัว้ (terminal) (ของแบตเตอรีป่ ฐมภูม)ิ
ชิน้ สวนตัวนำไฟฟาทีม่ ไี วเพือ่ การตอแบตเตอรีเ่ ขากับตัวนำภายนอก

4. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
4.1 ทัว่ ไป
4.1.1 การออกแบบ
แบตเตอรีป่ ฐมภูมทิ ขี่ ายในตลาดผบู ริโภคเปนสวนใหญ ในหลายปทผี่ า นมาแบตเตอรีป่ ฐมภูมมิ คี วามสลับ
ซับซอนมากขึน้ ทัง้ ทางเคมีและโครงสราง ตัวอยางเชน ทัง้ ปริมาณความจุและความสามารถทีก่ ำหนดได
เพิม่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความตองการทีเ่ ติบโตขึน้ ของเทคโนโลยีบริภณ
ั ฑใหมทตี่ อ งการใชกำลังของแบตเตอรี่
เมือ่ ออกแบบแบตเตอรีป่ ฐมภูมจิ ะตองมีการพิจารณาในสิง่ ทีก่ ลาวถึงมาแลว โดยเฉพาะอยางยิง่ มิตติ อ ง
สอดคลองกันและมีเสถียรภาพ สมรรถนะทางฟสกิ สและทางไฟฟา การทำงานทีป่ ลอดภัยในการใชงานปกติ
และจะตองแนใจไดในภาวะการใชงานผิดทีค่ าดหมายไว
4.1.2 มิตขิ องแบตเตอรี่
มิตขิ องแบตเตอรีแ่ ตละแบบกำหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304
4.1.3 ขัว้
ขัว้ ตองเปนไปตาม มอก.2219 ขอ 7.
ตองออกแบบรูปรางใหมนั่ ใจไดวา แบตเตอรีม่ กี ารสัมผัสทางไฟฟาทีด่ ี และคงสภาพเชนนัน้ ไวไดตลอดเวลา
ขัว้ ตองทำดวยวัสดุทมี่ สี ภาพนำไฟฟาเพียงพอและมีการปองกันการสึกกรอน
4.1.3.1 ความทนตอแรงกดสวนสัมผัส (contact pressure resistance)
เมือ่ มีการกำหนดไวในตารางขอกำหนดของแบตเตอรีห่ รือในแผนขอกำหนด (specification sheet)
เฉพาะสวนใน มอก.2219 ตองปฏิบตั ดิ งั ตอไปนี้

–4–
มอก. 96–2549

- เมื่อใชแรง 10 นิวตัน กดผานลูกกลมเหล็กกลาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 มิลลิเมตร ที่จุด


ศูนยกลางของแตละพืน้ ทีส่ มั ผัสเปนเวลา 10 วินาที ตองไมปรากฏการเสียรูปซึง่ อาจทำใหการทำงาน
ของแบตเตอรีไ่ มเปนทีน่ า พอใจ
หมายเหตุ ดูขอ ยกเวน มอก.2304 ประกอบ
4.1.3.2 ฝาครอบและฐาน (cap and base)
ขัว้ แบบนีใ้ ชกบั แบตเตอรีท่ มี่ มี ติ ติ ามทีก่ ำหนดใน มอก.2219 รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 หรือรูปที่ 4
และเปนแบตเตอรีท่ เี่ ปนรูปทรงกระบอกมีฉนวนกัน้ ระหวางฝาครอบและฐาน
4.1.3.3 ฝาครอบและเปลือกหมุ (cap and case)
ขั้วแบบนี้ใชกับแบตเตอรี่ที่มีมิติตามที่กำหนดใน มอก.2219 รูปที่ 2 รูปที่ 3 หรือรูปที่ 4
แตเปนแบตเตอรีท่ เี่ ปนรูปทรงกระบอกเปนสวนหนึง่ ของขัว้ บวก
4.1.3.4 ขัว้ หมุดเกลียว (screw terminal)
ขัว้ สัมผัสนีป้ ระกอบดวยแทงเกลียวทีร่ วมอยกู บั แปนเกลียวทีเ่ ปนโลหะหรือโลหะหมุ ฉนวน
4.1.3.5 ขัว้ สัมผัสแบน (flat contact)
ขั้วสัมผัสแบบนี้สวนใหญมีพื้นผิวโลหะแบนที่ปรับตัวใหเกิดการสัมผัสทางไฟฟาดวยกลไกสัมผัสที่
เหมาะสมทีร่ องรับการสัมผัสตัวเอง
4.1.3.6 สปริงแบนหรือสปริงขด (flat or spiral spring)
ขัว้ สัมผัสแบบนีป้ ระกอบดวยโลหะแผนแถบแบนหรือเปนลวดขดเปนวงอยใู นรูปแบบทีใ่ หการสัมผัส
ดวยแรงกด
4.1.3.7 เบารับแบบเสียบ (plug-in socket)
ขัว้ สัมผัสแบบนีป้ ระกอบขึน้ จากสวนสัมผัสโลหะทีเ่ หมาะสม ติดตัง้ อยใู นตัวเรือนฉนวนหรืออุปกรณยดึ
และประสานกันเพือ่ ใหรบั ขาของเตาเสียบทีเ่ ปนคกู นั
4.1.3.8 ตัวจับยึดแบบกด (snap - fastener)
ขัว้ สัมผัสแบบนีป้ ระกอบดวยการรวมกันของหมุด (ไมหยนุ ตัว) เปนขัว้ บวก และเบารับ (หยนุ ตัว)
เปนขัว้ ลบ
ขัว้ สัมผัสตองทำดวยโลหะทีเ่ หมาะสมเพือ่ ใหเกิดการสัมผัสทางไฟฟาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เมือ่ ตอเขากับสวน
ทีส่ มนัยกันของวงจรภายนอก
4.1.3.8.1 ระยะหางของขัว้ (spacing of contact)
ระยะหางระหวางหมุดกับเบารับใหเปนไปตามตารางที่ 1 และวัดจากจุดศูนยกลางถึงจุดศูนยกลาง
หมุดของแบตเตอรีต่ อ งเปนขัว้ บวก และเบารับของแบตเตอรีต่ อ งเปนขัว้ ลบเสมอ

–5–
มอก. 96–2549

ตารางที่ 1 ระยะหางของขัว้
(ขอ 4.1.3.8.1)

แรงดันไฟฟาระบุ ขนาดมาตรฐาน ขนาดเล็ก


V mm mm
9 35 ± 0.4 12.7 ± 0.25
4.1.3.8.2 หมุดตัวจับยึดแบบกดไมหยนุ ตัว (non-resilient snap-fastener connector (stud))
มิตเิ ปนมิลลิเมตร
มิตอิ นื่ ทีไ่ มไดกำหนดไวจะเปนเทาไร รูปรางของหมุดตองเลือกใหเปนไปตามมิตทิ กี่ ำหนดไว

รูปที่ 2 หมุดมาตรฐาน
(ขอ 4.1.3.8.2)

รูปที่ 3 หมุดขนาดเล็ก
(ขอ 4.1.3.8.2)

–6–
มอก. 96–2549

ตารางที่ 2 หมุดตัวจับยึดแบบกด
(ขอ 4.1.3.8.2)

ขนาดมาตรฐาน ขนาดเล็ก
mm mm
a 7.16 ± 0.05 5.72 ± 0.05
b 6.65 +−0.05
0.07 5.38 ± 0.05
c 3.20 ± 0.1 3.00 ± 0.1
d 2.67 ± 0.05 2.54± 0.05
r1 0.61 +−0.08
0.05 0.9 +−0.30.1
r2 0.4 +0 0.3 0.3 +0 0.2
4.1.3.8.3 เบารับตัวจับยึดแบบกดหยนุ ตัว (resilient snap-fastener connecter (socket))
มิตแิ ละคุณลักษณะทีต่ อ งการ
มิตเิ บารับไมกำหนดไว ตองมีสมบัตดิ งั นี้
ก) ความสามารถในการหยุนตัวตองทำใหมั่นใจไดวาหมุดที่ไดมาตรฐานสามารถเขาไดอยาง
เหมาะสม
ข) มีการคงสภาพการสัมผัสทางไฟฟาทีด่ ี
4.1.3.9 สายไฟฟา (wire)
สายไฟฟาตองเปนทองแดงเคลือบดีบกุ สายเดีย่ วหรือตีเกลียวหลายเสน หมุ ฉนวนออน ฉนวนอาจเปน
ฝายถักหรือพลาสติกทีเ่ หมาะสม เปลือกสายของขัว้ บวกตองเปนสีแดง และสีดำสำหรับขัว้ ลบ
4.1.3.10 ขัว้ หนีบแบบสปริง (spring clip)
ขัว้ หนีบแบบสปริงทีใ่ ชทวั่ ไปกับแบตเตอรีไ่ มไดจดั หาไวสำหรับผบู ริโภคซ้ำยังไมทราบอยางชัดเจนวา
ชิ้นสวนที่สมนัยกับวงจรภายนอกเปนอะไร ขั้วหนีบแบบสปริงตองมีตัวสปริงเปนทองเหลืองหรือ
วัสดุอนื่ ทีม่ สี มบัตคิ ลายกัน
4.1.4 การจำแนก (ระบบเคมีไฟฟา) (classification (electrochemical system))
แบตเตอรีป่ ฐมภูมจิ ำแนกตามระบบเคมีไฟฟา
ต ล ะระบบได มี ก ารกำหนดตั ว อั ก ษรภาษาอั ง กฤษแสดงระบบจำแนกไว โ ดยเฉพาะ (ยกเว น ระบบ
ซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด และระบบซิงก คลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด)
ระบบเคมีไฟฟาทีก่ ำหนดมาตรฐานไวจนถึงปจจุบนั แสดงไวในตารางที่ 3

–7–
มอก. 96–2549

ตารางที่ 3 ระบบเคมีไฟฟาทีก่ ำหนดมาตรฐานไว


(ขอ 4.1.4)

ตัวอักษร อิเล็กโทรด อิเล็กโทรไลต อิเล็กโทรด แรงดันไฟฟาระบุ แรงดันไฟฟาวงจรเปดสูงสุด


ลบ บวก V V
- ซิงก แอมโมเนียมคลอไรด หรือ ซิงกคลอไรด แมงกานีสไดออกไซด 1.5 1.725
A ซิงก แอมโมเนียมคลอไรด หรือ ซิงกคลอไรด ออกซิเจน 1.4 1.55
B ลิเทียม ออแกนิกอิเล็กโทรไลต คารบอนโมโนฟลูออไรด 3 3.7
C ลิเทียม ออแกนิกอิเล็กโทรไลต แมงกานีสไดออกไซด 3 3.7
E ลิเทียม อินออแกนิกที่ไมละลายน้ํา ไทโอนีลคลอไรด 3.6 3.9
(SOCl2)
F ลิเทียม ออแกนิกอิเล็กโทรไลต ไอออนไดซัลไฟด (FeS2) 1.5 1.83
G ลิเทียม ออแกนิกอิเล็กโทรไลต คอปเปอร(ll) ออกไซด (CuO) 1.5 2.3
L ซิงก แอลคาไลนเมทัล แมงกานีสไดออกไซด 1.5 1.65
ไฮดรอกไซด
P ซิงก แอลคาไลนเมทัล ออกซิเจน 1.4 1.68
ไฮดรอกไซด
S ซิงก แอลคาไลนเมทัล ซิลเวอรออกไซด (Ag2O) 1.55 1.63
ไฮดรอกไซด
หมายเหตุ 1. คาของแรงดันไฟฟาระบุไมสามารถทวนสอบได ดังนั้นตัวเลขที่กําหนดไวเปนเพียงคาอางอิง
2. แรงดันไฟฟาวงจรเปดสูงสุดวัดไดตามที่กําหนดในขอ 5.4 และขอ 6.7.1
3. เมื่ออางถึงระบบเคมีไฟฟา โดยทั่วไปตามปกติที่ใช คือ ใหเขียนอิเล็กโทรดลบกอนแลวตามดวยอิเล็กโทรดบวก
เชน ลิเทียม-ไอออน ไดซัลไฟด

4.1.5 การระบุชอื่ (designation)


การระบุชื่อแบตเตอรี่ปฐมภูมิขึ้นกับตัวแปรเสริมทางรูปรางและมิติ ระบบเคมีไฟฟา และตัวดัดแปร
(modifier) ถาตองการ
คำอธิบายทีค่ รอบคลุมเนือ้ หาของระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) เปนไปตามภาคผนวก ก.
4.1.6 การทำเครือ่ งหมาย
4.1.6.1 ทัว่ ไป
ใหทำเครือ่ งหมายแบตเตอรีแ่ ตละตัวยกเวนแบตเตอรีท่ รี่ ะบุวา เปนขนาดเล็กดวยขอมูลดังตอไปนี้
ก) การระบุชอื่
ข) ปและเดือนหรือสัปดาหทที่ ำซึง่ อาจเปนรหัสหรือการหมดอายุของชวงรับประกันอยางชัดเจน
ค) ชนิดของขัว้ (ถามี)

–8–
มอก. 96–2549

ง) แรงดันไฟฟาระบุ
จ) ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูทำหรือผูสงมอบ
4.1.6.2 แบตเตอรีข่ นาดเล็ก
ก) เมือ่ กลาวถึงแบตเตอรีข่ นาดเล็กใน มอก.2219 ใหทำเครือ่ งหมายตามขอ 4.1.6.1 ก) และขอ
4.1.6.1 ค) บนแบตเตอรี่ และยอมใหทำเครือ่ งหมายตามมาตรฐานนีข้ อ 4.1.6.1 ข) 4.1.6.1
ง) และ 4.1.6.1 จ) ลงบนหีบหอแทนทีจ่ ะทำบนแบตเตอรี่
ข) สำหรับแบตเตอรีร่ ะบบ P ใหใชการระบุชอื่ ขอตามขอ 4.1.6.1 ก) ทำเครือ่ งหมายลงบนแบตเตอรี่
แถบผนึก (sealing tab) หรือบนหีบหอ สวนขอ 4.1.6.1 ค) ใหทำเครือ่ งหมายบนแถบผนึก
ของแบตเตอรี่ และ/หรือ บนแบตเตอรี่ และยอมใหทำเครือ่ งหมายตามมาตรฐานนีข้ อ 4.1.6.1
ข) 4.1.6.1 ง) และ 4.1.6.1 จ) ลงบนหีบหอแทนทีจ่ ะทำบนแบตเตอรี่
ค) ใหมคี ำเตือนเรือ่ งการกลืนแบตเตอรีข่ นาดเล็กดูรายละเอียดอางอิงในมาตรฐาน IEC 60086-
4 และ มอก.2266
4.1.6.3 การทำเครือ่ งหมายบนแบตเตอรีเ่ กีย่ วกับวิธกี ารกำจัด
การทำเครื่องหมายของแบตเตอรี่เกี่ยวกับวิธีการกำจัดใหเปนไปตามกฎหมายดานสิ่งแวดลอมที่
เกีย่ วของและเปนไปตาม IEC 61429
4.1.7 ความสามารถในการสับเปลีย่ นทดแทน: แรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ (interchangeability : battery voltage)
ปจจุบันแบตเตอรี่ปฐมภูมิกำหนดในมาตรฐาน IEC 60086 สามารถจำแนกไดตามแรงดันไฟฟา
ปลอยประจุมาตรฐาน Us3) สำหรับระบบใหมของแบตเตอรี่ใหประเมินความสามารถในการสับเปลี่ยน
ทดแทน ดวยแรงดันไฟฟาจากสูตรดังตอไปนี้
n × (Ur - 15%) ≤ m × Us ≤ n × (Ur + 15%)
เมื่อ
n คือ จำนวนเซลลทตี่ อ อนุกรม ใชกบั แรงดันไฟฟาอางอิง Ur
m คือ จำนวนเซลลทตี่ อ อนุกรม ใชกบั แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน US
หมายเหตุ 3) แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us นำเขามาใชเพื่อใหเปนไปตามหลักการของความ
สามารถในการทวนสอบไดทางการทดลอง แรงดันไฟฟาระบุหรือแรงดันไฟฟาไมมีโหลด
สูงสุดไมถือวาเปนไปตามคุณลักษณะที่ตองการนี้
ปจจุบนั ไดมกี ารกำหนดพิสยั แรงดันไฟฟาทัง้ สองทีเ่ ปนไปตามสูตรขางบนไวแลว พิสยั แรงดันไฟฟาทัง้ สอง
กำหนดดวยแรงดันไฟฟาอางอิง Ur ซึง่ เปนจุดกลางของพิสยั แรงดันไฟฟาทีส่ มั พันธกนั
พิสยั แรงดันไฟฟา 1 Ur = 1.4 (V) : แบตเตอรีม่ แี รงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน m × Us
เทากับหรืออยใู นพิสยั ของ n × 1.19 (V) ถึง n × 1.61 (V)

–9–
มอก. 96–2549

พิสยั แรงดันไฟฟา 2 Ur = 3.2 (V) : แบตเตอรีม่ แี รงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน m × Us


เทากับหรืออยใู นพิสยั ของ n × 2.72 (V) ถึง n × 3.68 (V)
แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน (standard discharge voltage) และปริมาณสัมพันธ (related quantity)
รวมทัง้ วิธกี ารหาคา (method of their determination) กำหนดไวในภาคผนวก ช.
หมายเหตุ สำหรับแบตเตอรี่เซลลเดียว และสำหรับแบตเตอรี่หลายเซลลที่ประกอบขึ้นดวยเซลลที่มีพิสัย
แรงดันไฟฟาเดียวกัน m และ n จะเทากัน m และ n จะแตกตางกันสำหรับแบตเตอรีห่ ลายเซลล
หาก ประกอบขึน้ ดวยเซลลทมี่ พี สิ ยั แรงดันไฟฟาตางกัน แทนทีจ่ ะเปนแบตเตอรีท่ ไี่ ดมาตรฐานแลว
พิสยั แรงดันไฟฟา 1 ครอบคลุมแบตเตอรีป่ จ จุบนั ทัง้ หมดทีไ่ ดมาตรฐานแลว ทีม่ แี รงดันไฟฟาระบุประมาณ
1.5 (V) เชน ระบบ “ไมมตี วั อักษร” ระบบ A F G L P และ S
พิสยั แรงดันไฟฟา 2 ครอบคลุมแบตเตอรีป่ จ จุบนั ทีไ่ ดมาตรฐานแลวทีม่ แี รงดันไฟฟาระบุประมาณ 3 (V)
เชน ระบบ B C และ E
เพราะวาแบตเตอรีท่ มี่ พี สิ ยั แรงดันไฟฟา 1 และพิสยั แรงดันไฟฟา 2 แสดงคาแรงดันไฟฟาปลอยประจุที่
แตกตางกันอยางมีนยั สำคัญ จึงตองออกแบบใหไมสามารถสับเปลีย่ นทดแทนทางรูปราง กอนทีจ่ ะทำตาม
มาตรฐานระบบใหมของเคมีไฟฟาจะตองพิจารณากำหนดแรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐานตามขัน้ ตอน
การปฏิบตั ใิ นภาคผนวก ช. กอนเพือ่ ตกลงใจเกีย่ วกับความสามารถในการสับเปลีย่ นทดแทนดวยแรงดัน
ไฟฟา
คำเตือน
ความบกพรองทีเ่ กิดขึน้ จากการทีไ่ มเปนไปตามขอกำหนดนีจ้ ะทำใหเกิดอันตรายดานความปลอดภัยแก
ผใู ช เชน เกิดไฟ ระเบิด การรัว่ และ/หรือความเสียหายของอุปกรณ
คุณลักษณะทีต่ อ งการทีก่ ลาวมาแลวนีเ้ ปนสิง่ จำเปนสำหรับความปลอดภัย และเหตุผลการใชงาน
4.2 สมรรถนะ
4.2.1 สมรรถนะการปลอยประจุ
สมรรถนะการปลอยประจุของแบตเตอรีป่ ฐมภูมกิ ำหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304
4.2.2 เสถียรภาพของมิติ
มิติของแบตเตอรี่ตองเปนไปตามมิติที่กำหนดไวที่เกี่ยวเนื่องกัน ตามที่กำหนดใน มอก.2219 และ
มอก.2304 ตลอดเวลาในระหวางการทดสอบตามภาวะมาตรฐานทีก่ ำหนดไวในมาตรฐานนี้
หมายเหตุ 1. การเพิ่มความสูงของแบตเตอรี่ขึ้นอีก 0.25 มิลลิเมตร อาจเกิดขึ้นไดกับเซลลแบบกระดุม
(button cell) B C G L และ P หากมีการปลอยประจุต่ำกวาแรงดันไฟฟาจุดสุดทาย
(end-point voltage)
2. เซลลแบบกระดุมบางชนิด (เซลลแบบเหรียญ (coin cell)) ระบบ C และระบบ B ความสูง
ของแบตเตอรี่อาจลดลงไดขณะปลอยประจุ

–10–
มอก. 96–2549

4.2.3 การรัว่
แบตเตอรีข่ ณะเก็บและขณะปลอยประจุในภาวะมาตรฐานทีก่ ำหนดนีต้ อ งไมเกิดการรัว่
4.2.4 ขีดจำกัดแรงดันไฟฟาวงจรเปด
แรงดันไฟฟาวงจรเปดสูงสุดของแบตเตอรีต่ อ งไมเกินคาทีก่ ำหนดในขอ 4.1.4
4.2.5 ผลของการใชงาน
ชวงเวลาการปลอยประจุ ในตอนเริ่มตนและขณะหนวงเวลา ของแบตเตอรี่ตองเปนไปตามคุณลักษณะ
ทีต่ อ งการทีก่ ำหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304
4.2.6 ความปลอดภัย
แบตเตอรีป่ ฐมภูมติ อ งมีความปลอดภัย เปนไปตามทีก่ ำหนดไวใน IEC 60086-4 และ มอก.2266

5. สมรรถนะ-การทดสอบ
5.1 ทัว่ ไป
การจัดเตรียมวิธกี ารมาตรฐานในการวัดสมรรถนะ (standard method of measuring performance ,SMMP)
ของสินคาบริโภคใหเปนไปตามภาคผนวก ซ.
5.2 การทดสอบการปลอยประจุ
การทดสอบการปลอยประจุตามมาตรฐานนีแ้ บงเปน 2 ประเภท คือ
- การทดสอบใชงาน
- การทดสอบผลของการใชงาน
การทดสอบทัง้ สองประเภทใหใชโหลดปลอยประจุตามทีก่ ำหนดในขอ 6.4
วิธกี ารกำหนดโหลดและภาวะการทดสอบมีดงั ตอไปนี้
5.2.1 การทดสอบใชงาน
ก) ความตานทานสมมูล (equivalent resistance) คำนวณไดจากกระแสไฟฟาเฉลีย่ และแรงดันไฟฟา
ทำงานเฉลีย่ ของบริภณ
ั ฑทตี่ อ โหลดอยู
ข) การทำงานตามหนาที่ของแรงดันไฟฟาจุดสุดทาย (functional end-point voltage) และคาความ
ตานทานสมมูลหาไดจากขอมูลของบริภณ
ั ฑทกุ ตัวทีว่ ดั
ค) คามัธยฐานเปนตัวกำหนดคาความตานทาน และแรงดันไฟฟาจุดสุดทายที่ใชสำหรับการทดสอบ
การปลอยประจุ
ง) หากขอมูลรวมตัวกันอยูเปนกลุมโดยแยกจากกันออกเปนสองกลุม หรือมากกวาอาจตองทำการ
ทดสอบมากกวาหนึง่ ครัง้

–11–
มอก. 96–2549

จ) ในการเลือกคาบเวลาปลอยประจุประจำวัน ใหพจิ ารณาจากเวลาในการใชงานประจำสัปดาหรวมของ


บริภณ
ั ฑ
โดยคาบเวลาประจำวันจะมีคา ใกลเคียงกับคานิยม (preferred value) ทีส่ ดุ (ดูขอ 6.5) ทีเ่ ปนหนึง่ ในเจ็ดของ
คาการใชงานประจำสัปดาหรวม
หมายเหตุ การเลือกทดสอบความตานทานคงที่บางรายการนั้นเลือกมาเพื่อทำใหการออกแบบงายขึ้น และ
ทำใหมั่นใจไดถึงความนาเชื่อถือของบริภัณฑทดสอบแมวาในทางปฏิบัติจริงอาจใชการทดสอบ
กระแสไฟฟาคงที่หรือกำลังไฟฟาทดสอบคงที่ซึ่งอาจใหผลที่ดีกวา
ในอนาคต อาจไมสามารถหลีกเลีย่ งภาวะโหลดทางเลือกอืน่ (alternative load conditions) และไมอาจ
หลีกเลี่ยงลักษณะเฉพาะของโหลดของบริภัณฑเฉพาะประเภทที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาพัฒนาการของ
เทคโนโลยี
แรงดันไฟฟาจุดสุดทายตามหนาทีข่ องบริภณ
ั ฑไมสามารถหาไดอยางถูกตองเสมอไป ภาวะการปลอยประจุ
จึงเปนทางเลือกทีย่ อมใหใชแทนสำหรับประเภทบริภณ ั ฑทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะทีแ่ ตกตางกันมาก
อยางไรก็ตาม แมจะมีขอ จำกัดเหลานี้ การทดสอบทีไ่ ดจากการใชงานเปนแนวทางทีด่ ที สี่ ดุ ในการประเมินขีด
ความสามารถของแบตเตอรีส่ ำหรับบริภณ ั ฑเฉพาะประเภท
หมายเหตุ เพือ่ ลดวิธกี ารทดสอบใชงาน การทดสอบทีก่ ำหนดไวควรทดสอบใหไดรอ ยละ 80 ตามขนาดของ
แบตเตอรี่ที่มีอยูในทองตลาด
5.2.2 การทดสอบผลของการใชงาน
ในการทดสอบผลของการใชงานควรเลือกคาของตัวตานทานโหลด เพือ่ ใหไดผลของการใชงานประมาณ 30
วัน
เมือ่ ไมอาจทำใหไดความจุไฟฟาเต็ม (full capacity) ภายในชวงเวลาทีต่ อ งการ อาจขยายผลของการใชงาน
ไปเปนชวงเวลาเหมาะสมทีส่ นั้ ทีส่ ดุ โดยการเลือกโหลดปลอยประจุทมี่ คี า โอหมสูงขึน้ ตามทีก่ ำหนดในขอ 6.4
5.3 การตรวจสอบความถูกตองตามเกณฑ (conformance check) กับชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุดทีร่ ะบุ
เพือ่ ตรวจสอบความถูกตองตามเกณฑกบั ขอกำหนดของแบตเตอรี่ ใหเลือกการทดสอบใชงานหรือการทดสอบ
ผลของการใชงานตามทีก่ ำหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304
ใหทดสอบ ดังตอไปนี้
ก) ใหทดสอบกับแบตเตอรี่ 9 กอน
ข) คำนวณคาเฉลีย่ จากการรวมผลตางๆทุกคา
ค) หากคาเฉลีย่ เทากับหรือมากกวาเกณฑทกี่ ำหนดไว และมีแบตเตอรีไ่ มเกิน 1 กอนทีม่ ผี ลของการใชงาน
นอยกวารอยละ 80 ของตัวเลขทีก่ ำหนดไว ใหถอื วาแบตเตอรีเ่ ปนไปตามผลของการใชงานทีก่ ำหนด
ง) หากคาเฉลี่ยนอยกวารอยละ 80 ของเกณฑที่กำหนดไว และ/หรือ มีแบตเตอรี่มากกวาหนึ่งกอนมีผล
ของการใชงานนอยกวารอยละ 80 ของคาทีก่ ำหนดไว ใหทดสอบซ้ำกับตัวอยางอีก 9 กอน และคำนวณ
คาเฉลีย่ เชนเดียวกับทีก่ ำหนดไวกอ นหนานี้

–12–
มอก. 96–2549

จ) หากคาเฉลีย่ ของการทดสอบครัง้ ทีส่ องเทากับหรือมากกวาตัวเลขทีก่ ำหนดไวและมีแบตเตอรีไ่ มเกิน 1 กอน


มีผลของการใชงานนอยกวารอยละ 80 ของคาทีก่ ำหนดไว ใหถอื วาแบตเตอรีเ่ ปนไปตามผลของการใชงาน
ทีก่ ำหนด
ฉ) หากคาเฉลีย่ ของการทดสอบครัง้ ทีส่ องนอยกวาตัวเลขทีก่ ำหนดไว และ/หรือ มีแบตเตอรีม่ ากกวา 1 กอน
มีผลของการใชงานนอยกวารอยละ 80 ของคาทีก่ ำหนดไว ถือวาแบตเตอรีไ่ มเปนไปตามผลของการใชงาน
ทีก่ ำหนด และไมตอ งทดสอบตอไป
หมายเหตุ สมรรถนะการปลอยประจุของแบตเตอรี่ปฐมภูมิกำหนดไวใน มอก.2219
5.4 วิธคี ำนวณคาทีก่ ำหนดไวของชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด
วิธคี ำนวณกำหนดไวในภาคผนวก ง.
5.5 การทดสอบแรงดันไฟฟาวงจรเปด (OCV testing)
ใหวดั แรงดันไฟฟาวงจรเปดดวยเครือ่ งวัดแรงดันไฟฟาตามทีก่ ำหนดในขอ 6.7.1
5.6 มิตขิ องแบตเตอรี่
ใหวดั มิตดิ ว ยเครือ่ งวัดตามทีก่ ำหนดในขอ 6.7.2
5.7 การรัว่ และการเสียรูป
หลังจากทีไ่ ดคา ผลของการใชงานในภาวะแวดลอมทีก่ ำหนดไวแลว ใหปลอยประจุดว ยวิธเี ดียวกันจนกระทัง่
คาแรงดันไฟฟาวงจรปดตกมาเปนครัง้ แรกต่ำกวารอยละ 40 ของแรงดันไฟฟาระบุของแบตเตอรี่ คุณลักษณะ
ทีต่ อ งการตองเปนไปตามขอ 4.1.3 ขอ 4.2.2 และขอ 4.2.3
หมายเหตุ สำหรับแบตเตอรี่ที่ใชกับนาฬิกาการตรวจพินิจสำหรับการรั่วใหปฏิบัติตาม มอก.2304

6. สมรรถนะ - ภาวะการทดสอบ
6.1 ภาวะกอนการปลอยประจุ
การจัดเก็บแบตเตอรี่กอนการทดสอบการปลอยประจุ และการทดสอบการปลอยประจุจริง ใหทำในภาวะ
ที่ไดกำหนดไวเปนอยางดี หากไมไดกำหนดไวเปนอยางอื่นใหใชภาวะตามที่กำหนดในตารางที่ 4 ภาวะ
การปลอยประจุทแี่ สดงไวใหเปนภาวะมาตรฐานสำหรับใชอา งถึงในครัง้ ตอไป

–13–
มอก. 96–2549

ตารางที่ 4 ภาวะสำหรับการจัดเก็บกอนและระหวางการทดสอบการปลอยประจุ
(ขอ 6.1)

ชนิดของการทดสอบ ภาวะการจัดเก็บ ความชื้นสัมพัทธ ชวงเวลา ภาวะการปลอย ความชื้นสัมพัทธ


o % ประจุ %
C
การทดสอบการปลอยประจุเริ่มตน 20 ± 2ก 60 ± 15 สูงสุด 60 วันหลังจาก 20 ± 2 60 ± 15
วันที่ทํา
การทดสอบการปลอยประจุหนวงเวลา 20 ± 2ก 60 ± 15 12 เดือน 20 ± 2 60 ± 15
การทดสอบการปลอยประจุหนวงเวลา 45 ± 2ค 50 ± 15 13 สัปดาห 20 ± 2 60 ± 15

(อุณหภูมิสูง)

ระหวางคาบเวลาสั้น ๆ เทานั้น อุณหภูมิของการจัดเก็บอาจเปลี่ยนแปลงไปจากขีดจํากัดเหลานี้โดยไมเกิน 20oC ± 5oC

การทดสอบนี้ใหทําเมื่อตองการทดสอบการจัดเก็บที่อุณหภูมิสูง คุณลักษณะที่ตองการดานสมรรถนะเปนขอตกลงระหวางผูทํากับผูซื้อ

แบตเตอรี่ที่จัดเก็บใหนําออกจากหีบหอ

6.2 การเริม่ การทดสอบการปลอยประจุหลังการจัดเก็บ


คาบเวลาระหวางสิน้ สุดการจัดเก็บกับการเริม่ ตนของการทดสอบปลอยประจุหนวงเวลาตองไมเกิน 14 วัน
ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส ± 2 องศาเซลเซียส และความชืน้ สัมพัทธ
ระหวางชวงเวลานีใ้ หเก็บแบตเตอรีไ่ วทอี่ ณ
รอยละ 60 ± รอยละ 15
กอนเริ่มการทดสอบการปลอยประจุหลังการจัดเก็บที่อุณหภูมิสูง ตองปลอยทิ้งไวใหปรับตัวเขาสูภาวะปกติ
ในภาวะนีเ้ ปนเวลาอยางนอยหนึง่ วัน
6.3 ภาวะทดสอบการปลอยประจุ
การทดสอบแบตเตอรีต่ อ งปลอยประจุตามทีร่ ะบุใน มอก.2219 เสียกอน จนกระทัง่ แรงดันไฟฟามีโหลดลดลง
เปนครั้งแรกต่ำกวาจุดสุดทายที่กำหนดไว อาจแสดงคาผลของการใชงาน (service output) หนวยเปน
แอมแปร-ชัว่ โมง หรือวัตต-ชัว่ โมง
หาก มอก.2219 กำหนดผลของการใชงานสำหรับการทดสอบการปลอยประจุไวมากกวาหนึ่งการทดสอบ
แบตเตอรีต่ อ งเปนไปตามคุณลักษณะทีต่ อ งการเหลานีท้ งั้ หมด เพือ่ ทีใ่ หเปนไปตามมาตรฐานนี้
6.4 ความตานทานโหลด
คาความตานทานโหลด (ซึ่งรวมถึงสวนตางๆทั้งหมดของวงจรภายนอก) ตองเปนไปตามที่ระบุไวในแผน
ขอกำหนดทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง และตองมีความแมน รอยละ ± 0.5
เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงการทดสอบ โหลดทีต่ า นทานแสดงเปนโอหมตองมีคา เทาทีเ่ ปนไปได ดังตอไปนี้

–14–
มอก. 96–2549

1.00 1.10 1.20 1.30 1.50 1.60 1.80 2.00


2.20 2.40 2.70 3.00 3.30 3.60 3.90 4.30
4.70 5.10 5.60 6.20 6.80 7.50 8.20 9.10
ในรูปพหุคณ
ู ฐานสิบ หรือพหุคณ
ู ยอยฐานสิบ
6.5 คาบเวลา (time period)
คาบเวลาของการปลอยประจุ และไมปลอยประจุตอ งเปนไปตามทีก่ ำหนดใน มอก.2219
เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงการทดสอบควรนำคาคาบเวลารายวันดังตอไปนีม้ าใช
1 นาที 5 นาที 10 นาที 30 นาที
1 ชัว่ โมง 2 ชัว่ โมง 4 ชัว่ โมง 24 ชัว่ โมง (ตอเนือ่ ง)
กรณีอนื่ ๆกำหนดไวใน มอก.2219 หากจำเปน
6.6 การกระตนุ (activation) ของแบตเตอรีร่ ะบบ P
ใหเริม่ ตนการวัดทางไฟฟา หลังจากผานการกระตนุ ไปแลวอยางนอย 10 นาที
6.7 เครื่องวัด
6.7.1 การวัดแรงดันไฟฟา
ความแมนของเครื่องวัดตองนอยกวาหรือเทากับรอยละ 0.25 และความเที่ยงตองนอยกวาหรือเทากับ
รอยละ 50 ของคาของตัวเลขทีม่ นี ยั สำคัญตัวสุดทาย ความตานทานภายในของเครือ่ งวัดตองมากกวาหรือ
เทากับ 1 เมกะโอหม
6.7.2 การวัดทางกล
ความแมนของเครือ่ งวัดตองนอยกวาหรือเทากับรอยละ 0.025 และความเทีย่ งตองนอยกวาหรือเทากับ
รอยละ 50 ของคาของตัวเลขทีม่ นี ยั สำคัญตัวสุดทาย

7. การชักตัวอยางและการประกันคุณภาพ
การใชแผนการชักตัวอยางหรือดัชนีคณ
ุ ภาพผลิตภัณฑอาจขึน้ กับขอตกลงระหวางผทู ำกับผซู อื้
ในกรณีทไี่ มมขี อ ตกลงแนะนำใหใชตามทีก่ ำหนดในขอ 7.1 และ/หรือ 7.2
7.1 การชักตัวอยาง
7.1.1 การทดสอบแบบแอตทริบวิ ส (testing by attributes)
เมือ่ ตองการใหทดสอบแบบแอตทริบวิ ส แผนการชักตัวอยางทีเ่ ลือกตองเปนไปตามทีก่ ำหนดใน มอก.465
หรือ IEC 60410 ตองกำหนดตัวแปรเสริมแตละตัวทีจ่ ะทดสอบ และขีดจำกัดคุณภาพทีย่ อมรับ (acceptable
quality level ,AQL) ไว (อยางนอยตองทดสอบแบตเตอรี่ 3 กอน ทีเ่ ปนชนิดเดียวกัน)

–15–
มอก. 96–2549

7.1.2 การทดสอบแบบแวริเอเบิลส (testing by variables)


เมือ่ มีความตองการใหทดสอบแบบแวริเอเบิลส แผนการชักตัวอยางทีเ่ ลือกตองเปนไปตามทีก่ ำหนดใน ISO
3951 จะตองกำหนดคาตัวแปรเสริมแตละตัวทีจ่ ะทดสอบ ขนาดตัวอยาง และขีดจำกัดคุณภาพทีย่ อมรับ
(AQL) ไว
7.2 ดัชนีคณ
ุ ภาพของผลิตภัณฑ
เพือ่ ความมัน่ ใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ ใหพจิ ารณาเลือกใชดชั นีสำหรับประเมินเพียงหนึง่ คา ดังตอไปนี้
7.2.1 ดัชนีขดี ความสามารถ (capability index, Cp)
Cp เปนดัชนีทแี่ สดงขีดความสามารถของกระบวนการผลิต ดัชนีนจี้ ะอธิบายวาพิสยั เกณฑความคลาดเคลือ่ น
ทีย่ อมรับไดควรจะเปนเทาไรในความผันแปรของกระบวนการของตัวอยาง σ′ และมีคา เปน Cp = (USL-
LSL) / ชวงกวางของกระบวนการผลิต ทีช่ ว งกวางของกระบวนการผลิตมีคา เทากับ 6 R/d2 หาก
อัตราสวนมีคา ≥ 1 และอยตู รงกลาง แสดงวากระบวนการมีขดี ความสามารถทีจ่ ะทำผลิตภัณฑเปนไปตาม
ขอกำหนด หาก Cp =1 จำนวน 2 700 ชิน้ ในลานชิน้ จะอยนู อกเกณฑทกี่ ำหนดโดยอัตโนมัติ
หมายเหตุ USL = ขีดจำกัดบนของขอกำหนด LSL = ขีดจำกัดลางของขอกำหนด
7.2.2 ดัชนีขดี ความสามารถ (capability index, Cpk)
Cpk เปนดัชนีขดี ความสามารถของกระบวนการผลิตอีกตัวหนึง่ ทีบ่ อกวากระบวนการผลิตมีขดี ความสามารถ
ทีจ่ ะอยใู นพิสยั เกณฑความคลาดเคลือ่ น และกระบวนการอยตู รงกลางของคาเปาหมายหรือไม
เชนเดียวกับ Cp ซึง่ ตองเปนไปตามสมมุตฐิ านวาตัวอยางทีไ่ ดมาจากกระบวนการผลิตทีเ่ สถียร (stable)
และตัวแปร (variable) เปนตัวแปรสมุ (random variable) โดยคาทีว่ ดั ไดอยภู ายในความแปรผันของตัวอยาง
R/d2 จากแผนภูมคิ วบคุม (control chart) เมือ่ σ′ = R/d2
Cpk เปนคาต่ำสุดของ
USL - X X - LSL
หรือ
3σ′ 3σ′
7.2.3 ดัชนีสมรรถนะ (performance index, Pp)
Pp เปนดัชนีสมรรถนะของกระบวนการผลิต (process performance index) ที่บอกวาคาพิสัยเกณฑ
ความคลาดเคลือ่ นจะเปนเทาไรในชวงความแปรผันโดยรวมของระบบ เปนการวัดวาระบบมีสมรรถนะจริง
เปนเทาไร เพราะแหลงกำเนิดทัง้ หมดของความแปรผันจะไปรวมอยใู นคา σ′T คา σ′T นีค้ ำนวณไดจาก
การสังเกตกลมุ ตัวอยางขนาดใหญทงั้ หมดหนึง่ ชุด Pp มีคา เทากับ (USL-LSL)/6σ′T
7.2.4 ดัชนีสมรรถนะ (performance index, Ppk)
Ppk เปนดัชนีสมรรถนะของกระบวนการผลิตอีกตัวหนึง่ ทีใ่ ชวดั สมรรถนะของกระบวนการผลิตทีแ่ ทจริง
เชนเดียวกับ Pp แตกเ็ หมือนกับ Cpk ทีย่ งั สามารถบอกวากระบวนการผลิตอยตู รงกลางของคาเปาหมาย
ไดดแี คไหน

–16–
มอก. 96–2549

Ppk เปนคาต่ำสุดของ
USL - X X - LSL
หรือ
3σ′T 3σ ′ T
โดยที่ σ′T รวมความแปรผันทัง้ หมดของระบบ

8. การบรรจุหบี หอแบตเตอรี่
หลักปฏิบัติสำหรับการบรรจุหีบหอแบตเตอรี่ การจัดสง การจัดเก็บ การใชงาน และการกำจัด กำหนดไวใน
ภาคผนวก ข.

–17–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ก.
(ขอกำหนด)
ระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ )
ในการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) แบตเตอรีต่ อ งแสดง มิติ รูปราง ระบบเคมีไฟฟา แรงดันไฟฟาอยางชัดเจนเทาทีจ่ ะทำได
และถาจำเปน ใหระบุชนิดของขัว้ ขีดความสามารถทีก่ ำหนด และลักษณะเฉพาะพิเศษ
ภาคผนวกนีแ้ บงเปน 2 ขอ คือ
ก.1 กำหนดระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) ทีม่ ใี ชจนกระทัง่ ถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ.2533
ก.2 กำหนดระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) ทีม่ ใี ชตงั้ แตเดือน ตุลาคม พ.ศ.2533 จนถึงปจจุบนั และในอนาคต
ก.1 ระบบการระบุชอื่ ทีม่ ใี ชจนกระทัง่ ถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ.2533
ขอนีใ้ หนำไปใชกบั แบตเตอรีท่ กุ กอนทีไ่ ดรบั การทำใหเปนมาตรฐานจนถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ.2533 และยังคง
ใชไดกบั แบตเตอรีด่ งั กลาวตอไปหลังจากนัน้
ก.1.1 เซลล
เซลลใหระบุชอื่ ดวยตัวอักษรตัวใหญ ตามดวยตัวเลข ตัวอักษร R F และ S บงบอกเซลลแบบกลม แบบแบน
(โครงสรางเปนชัน้ ) และแบบสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ตามลำดับ ตัวอักษรตามดวยตัวเลข 4) กำหนดดวยกลมุ ของ
มิตทิ รี่ ะบุ
เมือ่ ตองการกำหนดแบตเตอรีเ่ ซลลเดียว มิตสิ งู สุดของแบตเตอรีแ่ ทนมิตทิ รี่ ะบุของเซลลตามทีก่ ำหนดไวใน
ตารางที่ ก.1 ตารางที่ ก.2 และตารางที่ ก.3 มีขอ สังเกตวาตารางเหลานีไ้ มรวมเคมีไฟฟา ยกเวนระบบ
ไมมตี วั อักษร หรือ ตัวดัดแปรอืน่ ๆ สวนอืน่ ๆ ของระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) เปนไปตามขอ ก.1.2
ขอ ก.1.3 และขอ ก.1.4 ตารางเหลานีแ้ สดงไวแตการระบุชอื่ สำหรับเซลลเดียว หรือแบตเตอรีเ่ ดียว

หมายเหตุ 4) ในขณะทีน่ ำระบบนีม้ าใช ตัวเลขไดกำหนดเรียงลำดับไวแลว การเวนลำดับการเรียงกันเกิดขึน้ เพราะมีการ


ลบทิ้ง หรือการเรียงลำดับดวยแนวทางอื่นที่นำมาใชกอนระบบการเรียงลำดับนี้

–18–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.1 การระบุชอื่ ทางรูปราง และมิตแิ บบกลมของเซลลและแบตเตอรี่ 1)


(ขอ ก.1.1)

การระบุชื่อทางรูปราง มิติของเซลลที่ระบุ มิติของแบตเตอรี่สูงสุด


mm mm
เสนผานศูนยกลาง ความสูง เสนผานศูนยกลาง ความสูง
R06 10 22 - -
R03 - - 10.5 44.5
R01 - - 12.0 14.7
R0 11 19 - -
R1 - - 12.0 30.2
R3 13.5 25 - -
R4 13.5 38 - -
R6 - - 14.5 50.5
R9 - - 16.0 6.2
R10 - - 21.8 37.3
R12 - - 21.5 60.0
R14 - - 26.2 50.0
R15 24 70 - -
R17 25.5 17 - -
R18 25.5 83 - -
R19 32 17 - -
R20 - - 34.2 61.5
R22 32 75 - -
R25 32 91 - -
R26 32 105 - -
R27 32 150 - -
R40 - - 67.0 172.0
R41 - - 7.9 3.6
R42 - - 11.6 3.6
R43 - - 11.6 4.2
R44 - - 11.6 5.4
R45 9.5 3.6 - -
R48 - - 7.9 5.4
R50 - - 16.4 16.8
R51 16.5 50.0 - -
R52 - - 16.4 11.4
R53 - - 23.2 6.1
R54 - - 11.6 3.05
R55 - - 11.6 2.1
R56 - - 11.6 2.6
R57 - - 9.5 2.7
R58 - - 7.9 2.1
R59 - - 7.9 2.6
R60 - - 6.8 2.15
R61 7.8 39 - -
R62 - - 5.8 1.65
R63 - - 5.8 2.15
R64 - - 5.8 2.70
R65 - - 6.8 1.65
R66 - - 6.8 2.60
R67 - - 7.9 1.65
R68 - - 9.5 1.65
R69 - - 9.5 2.10
R70 - - 5.8 3.6
1)
มิติที่สมบูรณของแบตเตอรี่กําหนดไวใน มอก.2219 และ มอก. 2304

–19–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.2 การระบุชอื่ ทางรูปราง และมิตริ วมทีร่ ะบุของเซลลแบบแบน 1)


(ขอ ก.1.1)

การระบุชื่อทางรูปราง มิติ mm
เสนผานศูนยกลาง ความยาว ความกวาง ความหนา
F15 - 14.5 14.5 3.0
F16 - 14.5 14.5 4.5
F20 - 24 13.5 2.8
F22 - 24 13.5 6.0
F24 23 - - 6.0
F25 - 23 23 6.0
F30 - 32 21 3.3
F40 - 32 21 5.3
F50 - 32 32 3.6
F70 - 43 43 5.6
F80 - 43 43 6.4
F90 - 43 43 7.9
F92 - 54 37 5.5
F95 - 54 38 7.9
F100 - 60 45 10.4
1)
มิติที่สมบูรณของแบตเตอรี่กําหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304

–20–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.3 การระบุชอื่ ทางรูปราง และมิตแิ บบสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ของเซลลและแบตเตอรี1)่


(ขอ ก.1.1 และขอ ก.1.2)

การระบุชื่อทางรูปราง มิติของเซลลที่ระบุ มิติของแบตเตอรี่สูงสุด


mm mm
ความยาว ความกวาง ความสูง ความยาว ความกวาง ความสูง
S4 - - - 57.0 57.0 125.0
S6 57 57 150 - - -
S8 - - - 85.0 85.0 200.0
S10 95 95 180 - - -
1)
มิติที่สมบูรณของแบตเตอรี่กําหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304
ในบางกรณีขนาดของเซลลทไี่ มไดระบุใน มอก.2219 แตยงั คงกำหนดไวในมาตรฐานนี้ เพราะยังมีการใชงาน
อยตู ามมาตรฐานแหงชาติ
ก.1.2 ระบบเคมีไฟฟา
ยกเวนระบบซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด และระบบซิงก-ซิงกคลอไรด-แมงกานีส
ไดออกไซด ใหนำหนาตัวอักษร R F และ S ดวยตัวอักษรเพิม่ เติมทีใ่ ชแสดงระบบเคมีไฟฟาตัวอักษร
เหลานีแ้ สดงไวในตารางที่ 3
ก.1.3 แบตเตอรี่
หากแบตเตอรีม่ เี พียงเซลลเดียวใหใชระบบการระบุชอื่ เซลล
หากแบตเตอรีม่ หี ลายเซลลตอ อนุกรมกัน ใหแสดงตัวเลขจำนวนของเซลลนำหนาในการระบุชอื่ เซลล
หากเซลลตอกันแบบขนานใหแสดงตัวเลขที่บอกจำนวนกลุมที่ตอขนานตามหลังการระบุชื่อเซลลและ
เชือ่ มตอดวยเครือ่ งหมาย “-”
หากแบตเตอรีม่ มี ากกวาหนึง่ สวน ใหระบุชอื่ แตละสวนแยกจากกัน โดยคัน่ ดวยเครือ่ งหมาย “/”
ก.1.4 ตัวดัดแปร
เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการระบุชื่อใหแยกแยะสิ่งที่แตกตางออกไปจากประเภทที่เปนพื้นฐานโดย
การเพิม่ ตัวอักษร X หรือ Y เพือ่ แสดงรูปแบบหรือขัว้ ทีแ่ ตกตางออกไป และใชตวั อักษร C P และ S
บงบอกลักษณะของสมรรถนะทีแ่ ตกตาง

–21–
มอก. 96–2549

ก.1.5 ตัวอยาง
R20 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยเซลลเดีย่ วขนาด R20 ระบบซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด-แมงกานีส
ไดออกไซด และระบบซิงก-ซิงกคลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด
LR20 แบตเตอรี่ที่ประกอบดวยเซลลเดี่ยวขนาด R20 ระบบซิงก-แอลคาไลนเมทัลไฮดรอก
ไซด-แมงกานีสไดออกไซด (zinc -alkali metal hydroxide-manganese dioxide system)
3R12 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยสามเซลลขนาด R12 ระบบซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด-แมงกานีส
ไดออกไซด และระบบซิงก-ซิงกคลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด ตอกันอยางอนุกรม
4R25X แบตเตอรี่ที่ประกอบดวยสี่เซลลขนาด R25 ระบบซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด-แมงกานีส
ไดออกไซด และระบบซิงก-ซิงกคลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด ตอกันอยางอนุกรม และขัว้
สัมผัสเปนสปริงขด
ก.2 ระบบการระบุชอื่ ทีม่ ใี ชหลังเดือนตุลาคม พ.ศ.2533
ขอกำหนดนีใ้ ชกบั แบตเตอรีท่ งั้ หมดทีท่ ำใหเปนมาตรฐานหลังเดือนตุลาคม พ.ศ.2533
พื้นฐานของระบบการระบุชื่อ (การตั้งชื่อ) ก็เพื่อใหรูชนิดของแบตเตอรี่โดยระบบการระบุชื่อ ซึ่งทำไดโดย
การใชเสนผานศูนยกลางของเสนรอบรูปทรงกระบอก และหลักการดานความสูงทีส่ มั พันธกนั ของแบตเตอรี่
ทุกประเภทไมวา จะเปนแบบกลม (R) หรือไมกลม (P)
ขอกำหนดนี้ยังสามารถใชไดกับแบตเตอรี่เซลลเดียว และแบตเตอรี่หลายเซลลที่ตอกันแบบอนุกรม และ/
หรือแบบขนาน
ตัวอยางเชน แบตเตอรีข่ นาดเสนผานศูนยกลางสูงสุด 11.6 มิลลิเมตร และความสูงสูงสุด 5.4 มิลลิเมตร จะมี
การระบุชอื่ เปน R1154 ตามดวยรหัสระบบเคมีไฟฟาตามทีอ่ ธิบายไวในขอนี้

–22–
มอก. 96–2549

ก.2.1 แบตเตอรีแ่ บบกลม


ก.2.1.1 แบตเตอรีแ่ บบกลมทีม่ เี สนผานศูนยกลาง และความสูงนอยกวา 100 มิลลิเมตร
การระบุชื่อของแบตเตอรี่แบบกลมดวยเสนผานศูนยกลางและความสูงนอยกวา 100 มิลลิเมตร
ทำไดดงั นี้

ตัวดัดแปร
(ดูหมายเหตุ 2)

รหัสแสดงความสูงใน
0.01 mm หากตองการ
(ดูตารางที่ ก.6 และ
จํา นวนของเซลลหรือ ขอ ก.2.1.1.2)
แถววางขนานตอกัน
แบบอนุกรม รหัสแสดงความสูงสุดใน 0.1 mm
(ดูหมายเหตุ 1) (ดูตารางที่ขอ ก.2.1.1.2)

ตัวอักษรแสดงระบบ รหัสแสดง 0.1 mm ของเสนผา น


เคมีไฟฟา ศูนยกลางสูงสุด (ดูตาราง
(ดูตารางที่ 3) ที่ ก.5 และ ขอ ก.2.1.1.1)

รหัสแสดงรูปรา ง รหัสแสดงเสนผา นศูนยกลางสูงสุด


(R=กลม) (ดูตารางที่ ก.4 และขอ ก.2.1.1.1)

หมายเหตุ 1. จำนวนเซลลหรือแถววางขนานตอกันแบบอนุกรมไมมีการกำหนดไว
2. ตัวดัดแปรนำเขาไปรวมดวยเพือ่ การระบุตวั อยาง เชน ขัว้ จำเพาะ ขีดความสามารถของโหลด และลักษณะ
เฉพาะพิเศษที่จะมีตอไป
ก.2.1.1.1 วิธกี ารกำหนดรหัสเสนผานศูนยกลาง
รหัสเสนผานศูนยกลางดัดแปลงมาจากเสนผานศูนยกลางสูงสุด
ตัวเลขรหัสเสนผานศูนยกลางเปนดังนี้
ก) กำหนดตามตารางที่ ก.4 ในกรณีของเสนผานศูนยกลางทีแ่ นะนำ
ข) กำหนดตามตารางที่ ก.5 ในกรณีของเสนผานศูนยกลางทีไ่ มแนะนำ

–23–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.4 รหัสเสนผานศูนยกลางสำหรับเสนผานศูนยกลางทีแ่ นะนำ


(ขอ ก.2.1.2.1 ก))

รหัส เสนผานศูนยกลางที่ รหัส เสนผานศูนยกลางที่แนะนําสูงสุด


แนะนําสูงสุด
4 4.8 20 20.0
5 5.8 21 21.0
6 6.8 22 22.0
7 7.9 23 23.0
8 8.5 24 24.5
9 9.5 25 25.0
10 10.0 26 26.2
11 11.6 28 28.0
12 12.5 30 30.0
13 13.0 32 32.0
14 14.5 34 34.2
15 15.0 36 36.0
16 16.0 38 38.0
17 17.0 40 40.0
18 18.0 41 41.0
19 19.0 67 67.0

–24–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.5 รหัสเสนผานศูนยกลางสำหรับเสนผานศูนยกลางทีไ่ มแนะนำ


(ขอ ก.2.1.2.1 ข))

XX C

สวนทศนิยมเสน รหัส “C”


ผานศูนยกลางสูงสุด
0.0 A
0.1 B
0.2 C
0.3 D
เสนผานศูนยกลางสูงสุด (mm) 0.4 E
(สวนเลขจำนวนเต็ม) 0.5 G
0.6 H
0.7 J
0.8 K
0.9 L

ก.2.1.1.2 วิธกี ารกำหนดรหัสความสูง


รหัสความสูงเปนตัวเลข แสดงดวยเลขจำนวนเต็มของความสูงสูงสุดของแบตเตอรี่ ระบุเปน
จำนวนเต็มของเลขทศนิยม 1 ตำแหนง เปนมิลลิเมตร (ตัวอยางเชน ความสูงสูงสุด 3.2 มิลลิเมตร
แสดงดวย 32)
คาความสูงสูงสุดกำหนดดังนี้
ก) สำหรับขัว้ แบบแบน ความสูงสูงสุดเปนความสูงทัง้ หมดรวมกับขัว้
ข) สำหรับขัว้ แบบอืน่ ๆทัง้ หมด ความสูงสูงสุด คือ ความสูงทัง้ หมดสูงสุด ไมรวมขัว้
(ตัวอยางเชน บาตอบา)
หากจำเปนตองกำหนดความสูงเปนทศนิยม 2 ตำแหนงเปนมิลลิเมตร คาทศนิยมตำแหนงที่ 2
อาจแสดงดวยรหัสตามตารางที่ ก.6

–25–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.6 รหัสความสูงของทศนิยมตำแหนงที่ 2 เปนมิลลิเมตร

สวนของทศนิยมของความสูง รหัส “C”


mm
0.00 A
0.01 B
0.02 C
0.03 D
ความสูงสูงสุด 0.04 E
0.05 G
(เลขจำนวนเต็มรวมทศนิยม 1 0.06 H
ตำแหนงเปนมิลลิเมตร) 0.07 J
0.08 K
0.09 L

หมายเหตุ รหัสทศนิยมตำแหนงที่ 2 จะนำมาใชเมือ่ ตองการเทานัน้


ตัวอยางที่ 1
LR1154 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยเซลลแบบกลม หรือแถวทีต่ อ ขนานกัน ทีม่ เี สนผานศูนยกลางสูงสุด
11.6 มิลลิเมตร (ตารางที่ ก.4) และความสูงสูงสุด 5.4 มิลลิเมตร ระบบซิงก-แอลคาไล
เมทัล ไฮดรอกไซด-แมงกานีสไดออกไซด
ตัวอยางที่ 2
LR27A116 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยเซลลแบบกลม หรือแถวทีต่ อ ขนานกัน ทีม่ เี สนผานศูนยกลางสูงสุด
27 มิลลิเมตร (ตารางที่ ก.5) และความสูงสูงสุด 11.6 มิลลิเมตร ระบบซิงก-แอลคาไล
เมทัลไฮดรอกไซด-แมงกานีสไดออกไซด
ตัวอยางที่ 3
LR2616J แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยเซลลแบบกลม หรือแถวทีต่ อ ขนานกัน ทีม่ เี สนผานศูนยกลางสูงสุด
26.2 มิลลิเมตร (ตารางที่ ก.4) และความสูงสูงสุด 1.67 มิลลิเมตร (ตารางที่ ก.6)
ระบบซิงก-แอลคาไลเมทัล ไฮดรอกไซด- แมงกานีสไดออกไซด

–26–
มอก. 96–2549

ก.2.1.2 แบตเตอรีแ่ บบกลมทีม่ เี สนผานศูนยกลาง และ/หรือ ความสูงมากกวาหรือเทากับ 100 มิลลิเมตร


การระบุชอื่ สำหรับแบตเตอรีแ่ บบกลมทีม่ เี สนผานศูนยกลาง และ/หรือ ความสูงมากกวาหรือเทากับ
100 มิลลิเมตรใหเปนไปดังตอไปนี้
R

ตัวปรุงแตง
(ดูหมายเหตุ 2)
จำนวนของเซลลหรือ
แถววางขนานตอกัน
เลขจำนวนเต็มแสดงความสูงสูงสุด
แบบอนุกรม
เปน mm
(ดูหมายเหตุ 1)

ตัวอักษรแสดงระบบ “/” แยกรหัสเสนผานศูนยกลาง


ไฟฟาเคมี และความสูง
(ดูหมายเหตุ 3)

รหัสแสดงรูปราง เลขจำนวนเต็มแสดงเสนผานศูนยกลาง
(R = กลม) สูงสุดเปน mm

หมายเหตุ 1. จำนวนเซลลหรือแถววางขนานตอกันแบบอนุกรมไมมีการกำหนดไว
2. ตัวดัดแปรนำเขาไปรวมดวยเพื่อการระบุชื่อตัวอยาง เชน ขั้วจำเพาะ ขีดความสามารถของโหลด และ
ลักษณะเฉพาะพิเศษที่จะมีตอไป
ก.2.1.2.1 วิธกี ารกำหนดรหัสเสนผานศูนยกลาง
รหัสเสนผานศูนยกลางดัดแปลงมาจากเสนผานศูนยกลางสูงสุด
ตัวเลขรหัสเสนผานศูนยกลางเปนเลขจำนวนเต็มของเสนผานศูนยกลางสูงสุดของแบตเตอรี่
เปนมิลลิเมตร
ก.2.1.2.2 วิธกี ารกำหนดรหัสความสูง
รหัสความสูงเปนตัวเลข แสดงดวยเลขจำนวนเต็มของความสูงสูงสุดของแบตเตอรี่ ระบุเปน
มิลลิเมตร
คาความสูงสูงสุดกำหนด ดังนี้
ก) สำหรับขัว้ สัมผัสแบบแบน (ตัวอยางเชน แบตเตอรีต่ ามรูปที่ 1-4 ของ มอก.2219) ความสูง
สูงสุดเปนความสูงทัง้ หมดรวมกับขัว้
ข) สำหรับขัว้ แบบอืน่ ๆทัง้ หมด ความสูงสูงสุด คือ ความสูงโดยรวมสูงสุด ไมรวมขัว้
(ตัวอยางเชน บาตอบา)

–27–
มอก. 96–2549

ตัวอยาง
5R184/177 แบตเตอรีก่ ลมทีป่ ระกอบดวย 5 เซลลหรือแถวทีว่ างไวขนานกันของระบบ
ซิงก-แอมโมเนียมคลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด และระบบซิงก-ซิงก
คลอไรด-แมงกานีสไดออกไซด ตอกันแบบอนุกรม มีเสนผานศูนยกลาง 184.0
มิลลิเมตร และความสูงสูงสุดของบาตอบา 177.0 มิลลิเมตร
ก.2.2 แบตเตอรีแ่ บบไมกลม
ระบบการระบุชอื่ สำหรับแบตเตอรีแ่ บบไมกลมมีดงั ตอไปนี้
ใหวาดเสนรอบรูปทรงกระบอกจินตนาการลอมรอบพืน้ ผิวจากทีม่ ขี วั้ โผลขนึ้ มาจากเปลือกหมุ แบตเตอรี่
คำนวณเสนทแยงมุมโดยใชมติ คิ วามยาวสูงสุด (l) และความกวาง (w) ซึง่ จะเปนเสนผานศูนยกลางของ
ทรงกระบอกจินตนาการ
ในการระบุชอื่ ใหใชเลขจำนวนเต็มของเสนผานศูนยกลางทรงกระบอกเปนมิลลิเมตร และเลขจำนวนเต็ม
ของความสูงสูงสุดของแบตเตอรีเ่ ปนมิลลิเมตร
คาความสูงสูงสุดกำหนดดังนี้
ก) สำหรับขัว้ สัมผัสแบบแบน ความสูงสูงสุดเปนความสูงทัง้ หมดรวมกับขัว้
ข) สำหรับขัว้ แบบอืน่ ๆ ทัง้ หมด ความสูงสูงสุดคือความสูงทัง้ หมดสูงสุด ไมรวมขัว้ (ตัวอยางเชน บาตอบา)
หมายเหตุ ในกรณีทมี่ ขี วั้ ตัง้ แต 2 หรือมากกวาโผลออกมาจากพืน้ ผิวทีต่ า งกันใหใชขวั้ ทีม่ แี รงดันไฟฟาสูงสุด

–28–
มอก. 96–2549

ก.2.2.1 แบตเตอรีแ่ บบไมกลมทีม่ มี ติ นิ อ ยกวา 100 มิลลิเมตร


การระบุชอื่ สำหรับแบตเตอรีแ่ บบไมกลมทีม่ มี ติ นิ อ ยกวา 100 มิลลิเมตร ใหเปนไปดังตอไปนี้
P

จํา นวนของเซลลหรือ ตัวดัดแปร


แถววางขนานตอกันแบบ (ดูหมายเหตุ 2)
อนุกรม
(ดูหมายเหตุ 1)

ตัวอักษรแสดงระบบ เลขจํานวนเต็มแสดงความสูงสูงสุดของ
แบตเตอรี่เ ปน mm
เคมีไฟฟา
(ดูในตารางที่ 3)

รหัสแสดงรูปรา ง เลขจํา นวนเต็มแสดงเสนผา นศูนยกลางเปน mm (ดูหมายเหตุ 3)


ของเสนรอบรูปทรงกระบอกลอมรอบ l และ w สูงสุดของพื้นผิวที่ขั้วตอ
(P=ไมกลม)
เริ่มโผลออกมา

หมายเหตุ 1. จำนวนเซลลหรือแถววางขนานตอกันแบบอนุกรมไมมีการกำหนดไว
2. ตัวดัดแปรนำเขาไปรวมดวยเพือ่ การระบุชอื่ ตัวอยาง เชน ขัว้ จำเพาะ โหลด และลักษณะพิเศษทีจ่ ะมีตอ ไป
3. ในกรณีที่ตองการกำหนดความสูงเปนหนึ่งในสิบสวนของมิลลิเมตรใหใชรหัสอักษรตามที่แสดงใน
ตารางที่ ก.7
ตัวอยาง
6LP3146 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยหกเซลล หรือแถวทีต่ อ ขนานกัน ระบบซิงก-แอลคาไลน เมทัลไฮดรอก
ไซด-แมงกานีสไดออกไซด ตอกันอยางอนุกรม ความยาวสูงสุด 26.5 มิลลิเมตร ความกวาง
สูงสุด 17.5 มิลลิเมตร และ ความสูงสูงสุด 46.4 มิลลิเมตร
เลขจำนวนเต็มของเสนผานศูนยกลางของพืน้ ผิวนี้ (l และ w) คำนวณไดจาก
√ l2 + w2= 31.8 มิลลิเมตร ; เลขจำนวนเต็ม = 31

–29–
มอก. 96–2549

ก.2.2.2 แบตเตอรีแ่ บบไมกลมทีม่ เี สนผานศูนยกลางเทากับหรือมากกวา 100 มิลลิเมตร


การระบุชื่อของแบตเตอรี่แบบไมกลมที่มีเสนผานศูนยกลางเทากับหรือมากกวา 100 มิลลิเมตร
ใหเปนไปดังตอไปนี้
P /

ตัวดัดแปร
จํา นวนของเซลลหรือ (ดูหมายเหตุ 2)
แถววางขนานตอกัน
แบบอนุกรม เลขจํา นวนเต็มแสดงความสูงสูงสุด
(ดูหมายเหตุ 1) ของแบตเตอรี่เ ปน mm (ดูหมายเหตุ 3)

ตัวอักษรแสดงระบบ
เคมีไฟฟา สัญ ลักษณ แยกรหัสความ
ยาว/ความกวา ง กับความสูง
(ดูในตารางที่ 3)

เลขจํา นวนเต็มแสดงเสนผา นศูนยกลางเปน mm


รหัสแสดงรูปรา ง
(ดูหมายเหตุ 3) ของเสนรอบรูปทรงกระบอกลอมรอบ
(P=ไมกลม)
มิติ l และ w สูงสุดของพื้นผิวที่ขั้วตอเริ่มโผลออกมา

หมายเหตุ 1. จำนวนเซลลหรือแถววางขนานตอกันแบบอนุกรมไมมีการกำหนดไว
2. ตัวดัดแปรนำเขาไปรวมดวยเพือ่ การระบุชอื่ ตัวอยาง เชน ขัว้ จำเพาะ โหลด และลักษณะพิเศษทีจ่ ะมีตอ ไป
3. ในกรณีที่ตองการกำหนดความสูงเปนหนึ่งในสิบสวนของมิลลิเมตรใหใชรหัสอักษรตามที่แสดงใน
ตารางที่ ก.7
ตารางที่ ก.7
(ขอ ก.2.2.2)

สวนทศนิยมความสูง รหัส
mm
0.0 A
0.1 B
0.2 C
0.3 D
ความสูงสูงสุดเปนมิลลิเมตร 0.4 E
0.5 G
(สวนเลขจำนวนเต็ม) 0.6 H
0.7 J
0.8 K
0.9 L
หมายเหตุ รหัสที่เปนหนี่งในสิบสวนของมิลลิเมตรจะนำมาใชเมื่อจำเปนเทานั้น
–30–
มอก. 96–2549

ตัวอยาง
6P222/162 แบตเตอรีท่ ปี่ ระกอบดวยหกเซลล หรือแถวทีต่ อ ขนานกันของ ซิงก-แอมโมเนียม คลอไรด
และระบบซิงก คลอไรด-แมงกานีส ไดออกไซด ตอกันอยางอนุกรม มีความยาวสูงสุด 192
มิลลิเมตร ความกวางสูงสุด 113 มิลลิเมตร และความสูงสูงสุด 162 มิลลิเมตร
ก.2.3 ความไมชดั เจน
ในกรณีทไี่ มนา เกิดขึน้ ทีแ่ บตเตอรีต่ งั้ แต 2 กอนขึน้ ไปมีขนาดเสนผานศูนยกลางของเสนรอบทรงกระบอก
เดียวกัน และมีความสูงเทากัน จะตองระบุชอื่ แบตเตอรีต่ วั ที่ 2 ดวยการระบุชอื่ เดียวกัน และเพิม่ เติมดวย
“-1”
ตารางที่ ก.8 การระบุชอื่ ทางรูปราง และมิตแิ บบกลมของเซลล และแบตเตอรี1)่
ตามทีก่ ำหนดในขอ ก.2 ของระบบการระบุชอื่
(ขอ ก.2.3)
การระบุชื่อทางรูปราง มิติของเซลลที่กําหนด มิติของแบตเตอรี่สูงสุด
(ระบบใหม) mm mm
เสนผานศูนยกลาง ความสูง เสนผานศูนยกลาง ความสูง
R772 - - 7.9 7.2
R1025 - - 10.0 2.5
R1216 - - 12.5 1.6
R1220 - - 12.5 2.0
R1225 - - 12.5 2.5
R1616 - - 16.0 1.6
R1620 - - 16.0 2.0
R2012 - - 20.0 1.2
R2016 - - 20.0 1.6
R2020 - - 20.0 2.0
R2025 - - 20.0 2.5
R2032 - - 20.0 3.2
R2320 - - 23.0 2.0
R2325 - - 23.0 2.5
R2330 - - 23.0 3.0
R2354 - - 23.0 5.4
R2420 - - 24.5 2.0
R2425 - - 24.5 2.5
R2430 - - 24.5 3.0
R2450 - - 24.5 5.0
R3032 - - 30.0 3.2
R11108 - - 11.6 10.8
2R13252 - - 13.0 25.2
R12A604 - - 12.0 60.4
R14250 - - 14.5 25.0
R17335 - - 17.0 33.5
R17450 - - 17.0 45.0
1)
มิติที่สมบูรณของแบตเตอรี่กําหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304

–31–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ก.9 การระบุชอื่ ทางรูปราง และมิตขิ องแบตเตอรีแ่ บบไมกลมตามทีก่ ำหนดในขอ ก.2


ของระบบการระบุชอื่ (การตัง้ ชือ่ ) 1)
(ขอ ก.2.3)

การระบุชื่อทางรูปราง การระบุชื่อ มิติของแบตเตอรี่สูงสุด


(ระบบใหม) (ระบบเกา) mm
ความยาว ความกวาง ความสูง
2P3845 2R5 34.0 17.0 45.0
2P4036 R-P2 35.0 19.5 36.0
หมายเหตุ การระบุชื่อที่ใชอยูที่แทจริงของแบตเตอรี่เหลานี้คือ 2R5 และ R-P2 เพราะแบตเตอรี่เหลานี้ไดเปนที่รูจัก
ดวยตัวเลขเหลานี้อยูกอนแลวกอนที่จะทําใหเปนมาตรฐาน
1)
มิติที่สมบูรณของแบตเตอรี่กําหนดไวใน มอก.2219 และ มอก.2304

–32–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ข.
(ขอกำหนด)
หลักปฏิบตั สิ ำหรับการบรรจุหบี หอ การขนสง การจัดเก็บ การใชงาน และการกำจัดของแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
ความพึงพอใจอยางสูงสุดของผใู ชแบตเตอรีป่ ฐมภูมเิ ปนผลกับการปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นระหวางการทำ การจัดจำหนาย และ
การใชงาน
จุดมุงหมายของหลักเกณฑน้ีก็เพื่ออธิบายแนวทางปฏิบัติที่ดีในกรณีทั่วๆไป และโดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการเตือน
ใหระมัดระวังวิธีการตางๆที่ทราบจากประสบการณวากอใหเกิดอันตรายได ภาคผนวกนี้เปนขอแนะนำแกผูทำ
ผจู ดั จำหนาย และผใู ชแบตเตอรี่
ข.1 การบรรจุหบี หอ
การบรรจุหีบหอตองมีความระมัดระวังอยางเพียงพอที่จะไมกอใหเกิดความเสียหายทางกลในขณะขนสง
การเคลือ่ นยาย และการจัดวางซอนกัน วัสดุและการออกแบบหีบหอตองปองกันการเกิดการนำไฟฟาทีไ่ มตงั้ ใจ
การสึกกรอนของขัว้ และความชืน้ ซึมเขา
ข.2 การขนสง และการเคลือ่ นยาย
ใหมกี ารกระแทกและความสัน่ สะเทือนนอยทีส่ ดุ ตัวอยางเชน ตองไมโยนกลองลงจากรถบรรทุก ทำใหเกิด
การกระแทกที่ตำแหนงตางๆ หรือวางซอนกันสูงจนกระทั่งภาชนะบรรจุแบตเตอรี่ดานลางตองรับแรงกด
มากเกินไป ตองจัดใหมกี ารปองกันภาวะอากาศทีไ่ มเอือ้ อำนวยดวย
ข.3 การจัดเก็บและการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง
พืน้ ทีจ่ ดั เก็บตองสะอาด เย็น แหง ระบายอากาศไดดี และปองกันตอสภาพอากาศได
สำหรับการจัดเก็บตามปกติ อุณหภูมคิ วรอยรู ะหวาง 10 องศาเซลเซียส ถึง 25 องศาเซลเซียส และตองไมเกิน
30 องศาเซลเซียส ควรหลีกเลีย่ งความชืน้ ทีผ่ ดิ ปกติ(ความชืน้ สัมพัทธเกิน รอยละ 95 และต่ำกวา รอยละ
40) เปนเวลาตอเนือ่ ง เพราะจะทำความเสียหายใหทงั้ แบตเตอรีแ่ ละภาชนะบรรจุ ไมควรจัดเก็บแบตเตอรีไ่ วใกล
ตัวกระจายความรอน หรือภาชนะตมน้ำ (boiler) หรือแสงแดดโดยตรง
แมวา อายุการเก็บแบตเตอรีท่ อี่ ณ ุ หภูมหิ อ งจะดีอยแู ลว แตสามารถทำใหดขี นึ้ ได โดยมีการจัดเก็บทีอ่ ณ
ุ หภูมติ ่ำกวา
(ตัวอยางเชนในหองเย็น ที่ -10 องศาเซลเซียส ถึง +10 องศาเซลเซียส หรือในภาวะแชแข็งต่ำกวา -10
องศาเซลเซียส) ทีม่ กี ารเตรียมการระมัดระวังเปนพิเศษ โดยหมุ หอแบตเตอรีไ่ วดว ยหีบหอปองกันเปนพิเศษ
(เชน ถุงหรือภาชนะพลาสติกทีป่ ด ผนึก) ซึง่ จะปองกันแบตเตอรีจ่ ากการควบแนน ในชวงเวลาทีแ่ บตเตอรีม่ ี
อุณหภูมเิ พิม่ ขึน้ ถึงอุณหภูมลิ อ มรอบ การเพิม่ อุณหภูมแิ บบเรงเปนอันตรายตอแบตเตอรี่
แบตเตอรีท่ จี่ ดั เก็บในทีเ่ ย็นจะตองนำมาใชงานเร็วทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทำได หลังจากนำมาไวทอี่ ณ
ุ หภูมลิ อ มรอบแลว
แบตเตอรีอ่ าจจัดเก็บ โดยติดตัง้ ไวในบริภณ
ั ฑหรือบรรจุในหีบหอทีเ่ หมาะสมตามทีผ่ ทู ำแบตเตอรีก่ ำหนดไว

–33–
มอก. 96–2549

ความสูงของหีบหอแบตเตอรีท่ อี่ าจจัดวางซอนกันขึน้ อยกู บั ความแข็งแรงของหีบหอ คำแนะนำทัว่ ไปความสูง


ของการจัดวางซอนกันของหีบหอไมควรจะเกิน 1.5 เมตร สำหรับกลองกระดาษ หรือ 3 เมตร สำหรับลังไม
คำแนะนำขางตนสามารถนำไปใชไดดีกับภาวะการจัดเก็บในระหวางการขนสงที่ใชเวลานาน โดยตองจัดวาง
แบตเตอรีใ่ หหา งจากเครือ่ งจักรในเรือ และไมปลอยทิง้ ไวนานในกลองโลหะ (ตคู อนเทนเนอร) ทีไ่ มมกี ารระบาย
อากาศเปนเวลานานในระหวางฤดูรอ น
ควรสงมอบแบตเตอรีท่ นั ทีหลังการผลิต โดยสงใหศนู ยตวั แทนจำหนาย และตอไปยังผใู ชแบบการหมุนเวียนเพือ่
ใหมีการหมุนเวียน (เขากอน-ออกกอน) ของสินคาที่เก็บ ตองออกแบบพื้นที่จัดเก็บ โดยจัดวางแสดงให
เหมาะสม และหีบหอตองทำเครือ่ งหมายไวเปนอยางดี
ข.4 การจัดวางแสดงทีจ่ ดุ ขาย
เมือ่ นำแบตเตอรีอ่ อกจากหีบหอตองระมัดระวังโดยพยายามหลีกเลีย่ งความเสียหายทางกายภาพ และการสัมผัส
ทางไฟฟา ตัวอยางเชนแบตเตอรีต่ อ งไมกองรวมกันอยางไมเปนระเบียบ
แบตเตอรีท่ วี่ างขายไมควรทิง้ ไวแสดงเปนเวลานานในทีท่ มี่ แี สงแดดสองกระทบโดยตรง
ผูทำแบตเตอรี่ควรใหขอมูลขาวสารแกผูขายปลีกอยางเพียงพอ เพื่อใหสามารถเลือกแบตเตอรี่ที่ถูกตองกับ
การใชงานของผใู ช ใหถอื วาเรือ่ งนีม้ คี วามสำคัญเปนพิเศษเมือ่ สงมอบแบตเตอรีช่ ดุ แรกเพือ่ นำไปใชกบั บริภณ
ั ฑ
ใหม
การใชมาตรทดสอบไมสามารถใหผลทีน่ า ไวใจไดในการเปรียบเทียบการใชงานทีค่ าดหวังไวจากแบตเตอรีท่ ดี่ ี
ตามชัน้ คุณภาพ (grade) และผทู ำทีแ่ ตกตางกัน แตมาตรทดสอบสามารถนำมาใชเพือ่ ตรวจหาความบกพรอง
ทีส่ ำคัญได
ข.5 การคัดเลือก การใชงาน และการกำจัด
ข.5.1 การจัดซือ้
ควรจัดซือ้ แบตเตอรีท่ มี่ ขี นาดและชัน้ คุณภาพทีถ่ กู ตองใหเหมาะสมทีส่ ดุ กับการใชงาน ผทู ำหลายรายทีส่ ง มอบ
แบตเตอรีม่ ากกวาหนึง่ ชัน้ คุณภาพในแตละขนาด ควรจัดใหมขี อ มูลขาวสารของชัน้ คุณภาพทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ
กับการใชงานไวทจี่ ดุ ขาย
ในกรณีทไี่ มมขี นาดและชัน้ คุณภาพของแบตเตอรีท่ มี่ เี ครือ่ งหมายการคาเฉพาะตามทีต่ อ งการ ใหเลือกตาม
การระบุชอื่ สำหรับระบบเคมีไฟฟา และขนาดตามมาตรฐานนี้ ควรมีการระบุชอื่ เปนเครือ่ งหมายอยบู นฉลาก
ของแบตเตอรี่ควรบงบอกแรงดันไฟฟา ชื่อหรือเครื่องหมายการคาของผูทำหรือผูสงมอบ วันที่ผลิต
ซึง่ อาจเปนรหัส หรือวันหมดอายุของชวงเวลารับประกันใหชดั เจน พรอมทัง้ ขัว้ (+ และ -) สำหรับแบตเตอรี่
บางชนิดขอมูลขาวสารนีอ้ าจอยบู นหีบหอ (ดูขอ 4.1.6.2)

–34–
มอก. 96–2549

ข.5.2 การติดตัง้
กอนใสแบตเตอรี่เขาในชองใสแบตเตอรี่ของบริภัณฑควรตรวจสอบขั้วสัมผัสของทั้งบริภัณฑและ
แบตเตอรี่ เพือ่ ทำความสะอาดและวางใหอยใู นตำแหนงทีถ่ กู ตอง หากจำเปนใหทำความสะอาดดวยผาชืน้
และทำใหแหงกอนใสแบตเตอรี่
ขอสำคัญทีส่ ดุ ตองใสแบตเตอรีใ่ หถกู ขัว้ (+ และ -) ตามคมู อื การใชงานของบริภณ ั ฑอยางระมัดระวัง
และใชแบตเตอรีต่ ามขอแนะนำ การไมปฏิบตั ติ ามคมู อื ทีใ่ หมาพรอมบริภณ
ั ฑจะทำใหแบตเตอรีท่ ำงานผิดปกติ
และทำความเสียหายใหแกบริภณ ั ฑ และ/หรือ แบตเตอรี่
ข.5.3 การใชงาน
การใชงานทีไ่ มถกู ตองหรือการทิง้ บริภณ
ั ฑเผยผึง่ ไวในภาวะทีไ่ มเหมาะสม เชน ใกลตวั กระจายความรอน
หรือในทีจ่ อดรถยนตทอี่ ยกู ลางแสงแดด ถือวาเปนการปฏิบตั ทิ ไี่ มถกู ตอง
เปนผลดีที่นำแบตเตอรี่ออกจากบริภัณฑทันทีเมื่อตั้งใจหยุดการทำงาน หรือในกรณีที่ไมไดใชงาน
เปนเวลานาน (เชน กลองถายภาพยนต แฟลชถายรูป ฯลฯ)
ตองมัน่ ใจวาไดปด บริภณ
ั ฑหลังเลิกใชงานแลว
ใหจดั เก็บแบตเตอรีใ่ นทีเ่ ย็น แหง และไมถกู แสงแดดโดยตรง
ข.5.4 การสับเปลีย่ นทดแทน
ใหเปลีย่ นแบตเตอรีท่ งั้ ชุดไปพรอมกัน ไมควรนำแบตเตอรีท่ ซี่ อื้ มาใหมไปรวมกับแบตเตอรีท่ พี่ ลังงานลดไป
บางสวนแลว ไมควรรวมแบตเตอรีท่ มี่ รี ะบบเคมีไฟฟา ชัน้ คุณภาพ หรือเครือ่ งหมายการคาทีแ่ ตกตางกัน
ไวดว ยกัน การไมปฏิบตั ติ ามคำเตือนนีอ้ าจทำใหแบตเตอรีบ่ างกอนในชุด ทำงานเกินจุดปลอยพลังงานออก
ปกติของแบตเตอรีแ่ ละเพิม่ ความเปนไปไดในการรัว่ มากขึน้
ข.5.5 การกำจัด
อาจกำจัดแบตเตอรี่ปฐมภูมิทิ้งโดยทางระบบกำจัดขยะชุมชนที่จัดเตรียมไวหากไมขัดตอกฎหมายดาน
สิง่ แวดลอมทีม่ อี ยู

–35–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ค.
(ขอกำหนด)
การออกแบบบริภณ
ั ฑ
ค.1 การประสานงานดานเทคนิค
แนะนำวาบริษัทที่ทำบริภัณฑที่ใหกำลังไฟฟาดวยแบตเตอรี่ควรมีการติดตอประสานงานอยางใกลชิดกับ
อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ ควรนำเอาความสามารถของแบตเตอรีท่ มี่ อี ยมู าใชในการออกแบบ แนะนำใหเลือกชนิด
ของแบตเตอรีต่ ามทีก่ ำหนดใน มอก.2219 ควรทำเครือ่ งหมายทีบ่ ริภณ ั ฑอยางถาวรตามการระบุชอื่ ชัน้ คุณภาพ
และขนาดของแบตเตอรีท่ ใี่ หสมรรถนะทีด่ ที สี่ ดุ ตามทีก่ ำหนดในมาตรฐานนี้
ค.2 ชองใสแบตเตอรี่
ตองเขาถึงชองใสแบตเตอรี่ไดงาย การออกแบบชองใสตองทำใหใสแบตเตอรี่ไดงายและแบตเตอรี่ไมหลุด
ออกมา มิตแิ ละการออกแบบชองใส และสวนสัมผัสตองทำใหสามารถรับแบตเตอรีต่ ามมาตรฐานนีไ้ ดโดยเฉพาะ
ผอู อกแบบบริภณ ั ฑไมควรละเลยเกณฑความคลาดเคลือ่ นทีก่ ำหนดในมาตรฐานนี้ แมวา มาตรฐานของประเทศ
หรือผทู ำเรียกรองใหใชเกณฑความคลาดเคลือ่ นทีน่ อ ยกวา
การออกแบบขัว้ สัมผัสลบควรใหมที วี่ า งสำหรับสวนเวาของขัว้ แบตเตอรี่
บริภณ
ั ฑทมี่ จี ดุ ประสงคใหเด็กใชควรมีชอ งใสแบตเตอรีท่ ปี่ อ งกันไมใหเด็กเขาถึง
ตองแสดงชนิดของแบตเตอรีท่ จี่ ะใช การจัดวางขัว้ ไฟฟา และทิศทางในการใสแบตเตอรีใ่ หถกู ตองและชัดเจน
ใหออกแบบรูปราง และ/ หรือมิตขิ องขัว้ บวก (+) และขัว้ ลบ (-) ของชองใสแบตเตอรีเ่ พือ่ ปองกันไมใหมี
การใสแบตเตอรีก่ ลับขัว้ ขัว้ สัมผัสบวก (+) และลบ (-) ของแบตเตอรีต่ อ งสามารถมองเห็นรูปแบบทีแ่ ตกตาง
กันเพือ่ หลีกเลีย่ งความสับสนเมือ่ ใสแบตเตอรี่
ชองใสแบตเตอรีค่ วรกัน้ ดวยฉนวนไฟฟาจากวงจรไฟฟา และอยใู นตำแหนงทีส่ ามารถลดความเสียหายและ/
หรือเสีย่ งตอการบาดเจ็บ ควรมีแตขวั้ แบตเตอรีเ่ ทานัน้ ทีส่ มั ผัสทางกายภาพกับวงจรไฟฟา ตองระมัดระวังเวลา
เลือกวัสดุและการออกแบบสวนสัมผัสเพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา การสัมผัสทางไฟฟาจะมีประสิทธิผล และสามารถคงอยู
ในสภาพใชงานไดตลอดเวลาเมือ่ ใชแบตเตอรีท่ มี่ มี ติ สิ งู สุดตามทีย่ อมใหในมาตรฐานนี้ วัสดุของขัว้ ของแบตเตอรี่
และบริภณ ั ฑควรเปนวัสดุทใี่ ชแทนกันไดและมีความตานทานต่ำ
ไมแนะนำใหใชชองใสแบตเตอรี่ที่มีการตอแบบขนานเพราะการใสแบตเตอรี่ผิดจะทำใหแบตเตอรี่อยูใน
สภาวะประจุไฟ
บริภณ
ั ฑทไี่ ดรบั การออกแบบทีใ่ หกำลังดวยแบตเตอรีแ่ อร-ดีโพลาไรซไมวา จะเปนระบบ Aหรือ P ตองมีทวี่ า ง
ใหอากาศเขาถึง สำหรับระบบ A แบตเตอรีค่ วรอยใู นลักษณะตัง้ ระหวางการใชงานปกติ สำหรับแบตเตอรีร่ ะบบ
P ตามรูปที่ 4 ใน มอก.2219 ขัว้ บวกควรอยดู า นขางของแบตเตอรีเ่ พือ่ ไมกดี ขวางทางเขาของอากาศ

–36–
มอก. 96–2549

แมวา แบตเตอรีจ่ ะไดรบั การปรับปรุงไปมากในแงของความทนตอการรัว่ แตกส็ ามารถเกิดขึน้ ไดในบางโอกาส


ในกรณีไมสามารถแยกชองใสแบตเตอรีอ่ อกจากบริภณ ั ฑไดอยางสมบูรณกค็ วรจะอยใู นตำแหนงทีท่ ำใหเกิดความ
เสียหายทีเ่ ปนไปไดนอ ยทีส่ ดุ
ตองทำเครือ่ งหมายชองใสแบตเตอรีใ่ หชดั เจนและถาวรเพือ่ แสดงทิศทางของแบตเตอรี่ สาเหตุของความไมนา
พึงพอใจมากทีส่ ดุ อยางหนึง่ คือการใสแบตเตอรีห่ นึง่ ตัวกลับทาง ซึง่ อาจเปนผลใหแบตเตอรีเ่ กิดการรัว่ และ/
หรือ การระเบิด และ/หรือ ลุกไหม เพือ่ ลดอันตรายเหลานีค้ วรออกแบบชองใสแบตเตอรีใ่ หอยใู นลักษณะที่
การใสแบตเตอรีก่ ลับทางจะไมมผี ลตอวงจรไฟฟา
วงจรในอุปกรณไฟฟาไมควรสัมผัสทางกายภาพกับสวนหนึง่ สวนใดของแบตเตอรี่ ยกเวนพืน้ ผิวทีต่ งั้ ใจไวเพือ่
จุดประสงคนี้
แนะนำใหผอู อกแบบบริภณ
ั ฑตอ งอางอิงในมาตรฐาน IEC 60086-4 และ มอก.2266 เพือ่ ใหครอบคลุม
ขอพิจารณาดานความปลอดภัย
ค.3 การตัดแรงดันไฟฟา
เพือ่ เปนการปองกันการรัว่ ซึง่ เปนผลจากแบตเตอรีถ่ กู ขับ การตัดแรงดันไฟฟาของบริภณ
ั ฑตอ งไมต่ำกวาทีผ่ ทู ำ
แบตเตอรีแ่ นะนำ

–37–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ง.
(ขอกำหนด)
วิธีการคำนวณคาที่กำหนดของชวงเวลาเฉลี่ยต่ำสุด
ก) ใหเก็บขอมูลในชวงเวลาโดยเลือกมาดวยการสมุ ตัวอยาง ไมนอ ยกวา 10 สัปดาห
ข) คำนวณคาเฉลีย่ X ของคาของชวงเวลา X จากจำนวน 9 ตัวอยางของแตละกลมุ ตัวอยาง
หมายเหตุ หากมีบางคาอยนู อก 3σ ของกลมุ ตัวอยาง ไมตอ งนำคาเหลานัน้ มาใชในการคำนวณ X
ค) คำนวณคาเฉลีย่ X จากคาเฉลีย่ ขางตนของ X ของแตละกลมุ ตัวอยาง พรอมทัง้ คา σx
ง) คาชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุดของแตละกลมุ เทากับ
A : X - 3σx
B : X × 0.85
ใหคำนวณคา A และ B; ใหนำคาทีม่ ากกวาของ 2 คาขางตน มากำหนดเปนคาชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด

–38–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก จ.
(ขอกำหนด)
แนวทางสำหรับการกำหนดมาตรฐานของแบตเตอรี่
ก) เซลลและแบตเตอรีต่ อ งเปนไปตามคุณลักษณะทีต่ อ งการ ดังตอไปนี้ เพือ่ แสดงใหเห็นวาขีดความสามารถเปนไป
ตามอนุกรมของมาตรฐาน IEC 60086
1) แบตเตอรีม่ กี ารผลิตเปนจำนวนมาก
2) แบตเตอรีห่ าไดในหลายๆ ตลาดทัว่ โลก
3) แบตเตอรีท่ ผี่ ลิตปจจุบนั ผลิตจากอยางนอย 2 บริษทั ทีไ่ มเกีย่ วของกัน ซึง่ ผถู อื สิทธิบตั รตองปฏิบตั ติ าม
ทีก่ ำหนดไวในภาคผนวก A ของ ISO/IEC Directives - Part 2
4) แบตเตอรีท่ ผี่ ลิตขึน้ ในอยางนอยสองประเทศ หรือ แบตเตอรีท่ ซี่ อื้ โดยผทู ำแบตเตอรีร่ ะหวางประเทศ
และผทู ำแบตเตอรีอ่ สิ ระ และขายตามฉลากของบริษทั นัน้
ข) รายการสำคัญๆรวมในขอเสนอการทำมาตรฐานใหมของแบตเตอรีใ่ หมแตละชนิด คือ
1) รายละเอียดใหเปนไปตามขอ ก) ขางตน
2) การระบุชอื่ และระบบเคมีไฟฟา
3) มิติ (รวมทัง้ แบบ)
4) ภาวะการปลอยประจุ
5) ชวงเวลาเฉลีย่ ต่ำสุด

–39–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ฉ.
(ขอแนะนำ)
มิตนิ ยิ มสำหรับแบตเตอรีป่ ฐมภูมิ
แบบของมิตทิ ใี่ ชเปนเพียงขอแนะนำและ ไมถอื เปนขอบังคับ
แมกระนั้นก็ตามมิติทั่วไปที่ผูใชนิยมจะชวยลดการกระจายของมิติ และจะชวยหลีกเลี่ยงพิสัยที่ซอนกันของเกณฑ
ความคลาดเคลือ่ นของมิตไิ ด
ตนแบบของมิติครอบคลุมพิสัยเริ่มตั้งแต 0.1 มิลลิเมตร ถึง 650 มิลลิเมตร โดยเลือกขั้นหางเปนรอยละ 10
โดยประมาณ (รอยละ 9.7 รอยละ 10.1 และ รอยละ 10.7 ตามตารางที่ ฉ.1) ในตารางจะประกอบดวยเกณฑ
ความคลาดเคลือ่ น 4 ชัน้ คือ รอยละ -1.0 รอยละ -2.5 รอยละ -5.0 และ รอยละ -7.5 คาเกณฑความคลาดเคลือ่ น
เปนไปตามมิตสิ งู สุดเดียวกัน อนุกรมทีน่ ยิ มของความสูง ความกวาง/เสนผานศูนยกลาง และความยาวกำหนดตาม
หลักคณิตศาสตรเพือ่ ใหงา ยตอการประมวลผลขอมูล
ตนแบบของมิตเิ ปนไปตามหลักการของการเลือกคา และการควบคุมทีห่ ลากหลายทีต่ อ งเฝาสังเกตตาม ISO/IEC
Directives - Part 2 ในการจัดทำมาตรฐานระหวางประเทศ

–40–
มอก. 96–2549

ตารางที่ ฉ.1 แบบของมิตทิ นี่ ำเสนอสำหรับแบตเตอรีเ่ ซลลเดียว และหลายเซลล


โดยมีพนื้ ฐานตามหลักการตัวเลขนิยม (preferred number) ตาม IEC/ISO-Directives, part 2
ขอ 5.6.1 (variety control) และขอ 5.4.2 (selected values)
(ภาคผนวก ฉ.)
ความสูง:0.1 mm ถึง 659.3 mm ความกวาง/เสนผานศูนยกลาง:0.919 mm ถึง 647.9 mm ความยาว:0.938 mm ถึง 632.5 mm
สูงสุด ชัน้ ของเกณฑความคลาดเคลือ่ น สูงสุด
ชัน้ ของเกณฑความคลาดเคลือ่ น
สูงสุด ชัน้ ของเกณฑความคลาดเคลือ่ น

สมบัตขิ องแบบของมิติ

การเพิม่ ขึน้ ของมิตอิ ยางตอเนือ่ ง และแบงแยก/กลมุ ทีป่ ระกอบดวยสิบ


ความสูง
ความกวาง/เสนผานศูนยกลาง
ความยาว
หมายเหตุ มิตทิ กี่ ำหนดไวไมไดขนึ้ กับหลักการของตัวเลขนิยม

–41–
มอก. 96–2549

ภาคผนวก ช.
(ขอแนะนำ)
นิยามแรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน และวิธหี าคา
ช.1 นิยาม
แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us ใชทวั่ ไปมีตามระบบเคมีไฟฟา มีคา เฉพาะซึง่ ไมสมั พันธกบั ขนาดและ
โครงสรางภายในของแบตเตอรี่ แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐานจะขึน้ กับปฏิกริ ยิ าการโอนถายประจุ โดย
แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us เปนไปตามสูตร (ช.1)
C
Us = ts s × Rs (ช.1)
เมื่อ
Us คือ แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน
Cs คือ ความจุไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน
ts คือ เวลาปลอยประจุมาตรฐาน
Rs คือ ตัวตานทานปลอยประจุมาตรฐาน
ช.2 การหาคา
ช.2.1 ขอพิจารณาทัว่ ไป: การเขียนกราฟ C/R
การหาคาแรงดันไฟฟาปลอยประจุ Ud ทำไดโดยการเขียนกราฟ C/R (เมือ่ C คือความจุไฟฟาปลอยประจุ
ของแบตเตอรี่ R คือความตานทานปลอยประจุ) รูปที่ ช.1 แสดงใหเห็นกราฟของความจุไฟฟาปลอยประจุ
C กับความตานทานปลอยประจุ Rd5) ในการนำเสนอแบบปกติ เชน นำคา C (Rd)/Cp มาเขียนกราฟ
โดยเปนฟงกชนั่ ของ Rd สำหรับ Rd ทีม่ คี า ต่ำก็จะไดคา C (Rd) ทีม่ คี า ต่ำ และ Rd ทีม่ คี า สูงก็จะไดคา
C(Rd) ทีม่ คี า สูง ในกรณีที่ Rd คอยๆมีคา เพิม่ ขึน้ คาความจุปลอยประจุ C (Rd) ก็จะคอยเพิม่ ขึน้ ตาม
จนกระทัง่ สุดทายจะมีลกั ษณะราบ และ C (Rd) ก็จะมีคา คงที่ 6)
CP = คาคงที่ (ช.2)
หมายเหตุ 5) ตัวหอย d เปนการแสดงความตานทานแตกตางจาก Rs ดูสตู ร (ช.1)
6) สำหรับกรณีทคี่ าบเวลาการปลอยประจุเปนเวลานาน Cpอาจลดลงเนือ่ งจากมีการปลอยประจุ
ดวยตัวเองภายในของแบตเตอรี่ กรณีนี้จะสังเกตไดสำหรับแบตเตอรี่ที่มีการปลอยประจุดวย
ตัวเองสูง เชน รอยละ 10 ตอเดือน หรือมากกวา
ซึง่ หมายความวา C(Rd)/CP = 1 ตามทีแ่ สดงดวยเสนในแนวนอนในรูปที่ ช.1 นอกจากนัน้ ยังแสดงใหเห็น
ตอไปวา คาความจุไฟฟา C =f(Rd) ขึน้ กับแรงดันไฟฟาตัด (cut-off voltage) Uc ซึง่ ยิง่ มีคา สูงขึน้ เทาไรก็จะ
ทำใหสว นของ ∆C เพิม่ มากขึน้ จนไมสามารถหาคาไดในระหวางการปลอยประจุ
หมายเหตุ ในภาวะราบ คาความจุไฟฟา C ไมขนึ้ กับ Rd

–42–
มอก. 96–2549

แรงดันไฟฟาปลอยประจุ Ud หาไดจากสูตร (ช.3)


C
Ud = td d × Rd (ช.3)

คาคงที่

สวนราบของความจุไฟฟา

แรงดันไฟฟาตัด คาคงที่

รูปที่ ช.1 แผนภาพลักษณะปกติของกราฟ C/R


(ขอ ช. 2.1)

ผลลัพธทไี่ ดจาก Cd/td ของสูตร (ช.3) คือคาเฉลีย่ ของกระแสไฟฟา i(avg) เมือ่ ใหแบตเตอรีป่ ลอยประจุ
ผานทางตัวตานทานปลอยประจุ Rd ทีแ่ รงดันไฟฟาตัด Uc=คาคงที่ ความสัมพันธนอี้ าจเขียนไดเปน
Cd = i(avg) × td (ช.4)
สำหรับ Rd = Rs (ตัวตานทานปลอยประจุมาตรฐาน) ตองเปลีย่ นสูตร (ช.3) เปนสูตร (ช.1) และในขณะ
เดียวกันตองเปลีย่ นสูตรที่ (ช.4) เปน
Cs = i(avg) × ts (ช.4ก.)
การหาคา i(avg) และ ts เปนไปตามวิธที อี่ ธิบายในขอ ช.2.3 และแสดงไวในรูปที่ ช.2
ช.2.2 การหาคาตัวตานทานปลอยประจุมาตรฐาน Rs
เปนแนวทางทีด่ ที สี่ ดุ ทีค่ า ของ Us หาไดจากตัวตานทานปลอยประจุ Rd ทีท่ ำใหเกิดความจุไฟฟารอยละ 100
แตอาจตองใชชว งเวลานานในการปลอยประจุ เพือ่ ชวงเวลาดังกลาวนี้ การประมาณคาทีด่ ที สี่ ดุ สำหรับ Us
โดยใชสตู รที่ ช.5
Cs (Rs) = 0.98 Cp (ช.5)
ซึง่ หมายความวา เกิดความจุไฟฟาทีเ่ ปนจริงรอยละ 98 มีความแมนเพียงพอในการหาคาความตานทาน
ปลอยประจุมาตรฐาน Us กรณีดงั กลาวนีเ้ มือ่ ใหแบตเตอรีป่ ลอยประจุผา นตัวตานทานปลอยประจุมาตรฐาน

–43–
มอก. 96–2549

Rs คาตัวประกอบ 0.98 หรือสูงกวานัน้ ไมเปนคาทีแ่ นนอน เพราะวา Us จะมีคา คงทีต่ ลอดเมือ่ Rs ≤ Rd


ในภาวะเชนนีไ้ มถอื วาสำคัญนักทีจ่ ะทำใหเกิดคาความจุไฟฟาเปนรอยละ 98
ช.2.3 การหาคาความจุไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Cs และเวลาปลอยประจุมาตรฐาน ts
รูปที่ ช.2 แสดงแผนภาพเสนโคงการปลอยประจุของแบตเตอรี่
ตามรูปที่ ช.2 ดานใตของพืน้ ที่ A1 และดานบนของพืน้ ที่ A2 ของเสนโคงปลอยประจุ โดยที่
A1 = A2 (ช.6)
คากระแสไฟฟาปลอยประจุเฉลีย่ i(avg) หาไดจากสมการที่ ช.6 ไมไดบอกถึงจุดกลางของการปลอยประจุ
เหมือนกับรูปที่ ช.2 คาเวลาปลอยประจุ td หาไดจากจุดตัดที่ U(R,t) = Uc คาความจุไฟฟาปลอยประจุ
หาไดจากสูตร (ช.7)
Cd = i(avg) × td (ช.7)
คาความจุไฟฟามาตรฐาน Cs ไดจาก Rd = Rs โดยเปลีย่ นสูตรที่ (ช.7) เปนสูตรที่ (ช.7ก)
Cs = i(avg) × ts (ช.7ก.)
ซึง่ เปนวิธกี ารทีท่ ำโดยการทดลองหาคาความจุปลอยประจุมาตรฐาน Cs และเวลาปลอยประจุมาตรฐาน ts
ทีจ่ ำเปนตองใชในการหาคาแรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us (ดูสตู รที่ (ช.1))

โหมดปล
โหมดปลออยประจุ
ยประจุไไฟฟ คคาาคงที
คงที่ ่
แรงดั
แรงดันนไฟฟ
ไฟฟาตัด คคคาาาคงที
คงที
คงที ่ ่ ่
คาคงที่
คาคงที่
แรงดั
นไฟฟ
แรงดั นไฟฟาเฉลี
าเฉลีย่ ่ย, ,กระแสไฟฟ
กระแสไฟฟาาเฉลี
เฉลีย่ ย่
แรงดั
แรงดั นไ กระแสไ
ฟฟนาของ กระแส
ฟฟ า
เซลล ปลอย
ไฟฟา ประจุ า
ไฟฟ
ของเซลล ปลอยประจุ

คคาาคงที
คงที่

รูปที่ ช.2 แสดงแผนภาพเสนโคงการปลอยประจุ


(ขอ ช. 2.3)

–44–
มอก. 96–2549

ช.3 ภาวะการทดลองทีต่ อ งเฝาสังเกตและผลการทดสอบ


ในการหาคาโดยการทดลองดวยการเขียนกราฟของ C/R แนะนำใหหาผลของคาการปลอยประจุแยกจากกัน
10 คา แตละคาหาไดจากคาเฉลี่ยของแบตเตอรี่ 9 กอน ขอมูลเหลานี้จะตองไดจากการกระจายตัวอยาง
สม่ำเสมอในพิสยั ทีค่ าดหวังของกราฟ C/R แนะนำใหใชคา การปลอยประจุครัง้ แรก มีคา 0.5 Cp โดยประมาณ
ตามทีแ่ สดงในรูปที่ ช.1 คาทดลองตัวสุดทายควรไดจากคาโดยประมาณของ Rd ≈ 2 × Rs ขอมูลทีเ่ ก็บรวบรวม
ไดอาจนำมาใชเขียนกราฟในรูปของกราฟ C/R ตามรูปที่ ช.1 จากกราฟใหหาคา Rd ทีจ่ ะนำไปสรู อ ยละ 98
ของ Cp โดยประมาณ แรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us ทีจ่ ะใหคา การทำใหเกิดความจุไฟฟาปลอยประจุ
รอยละ 98 ควรจะเบีย่ งเบนไมเกิน -50 มิลลิโวลต จากคาทีย่ อมใหตามความจุไฟฟาทีแ่ ทจริงรอยละ 100
ความแตกตางภายในพิสยั มิลลิโวลต จะเกิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าการถายเทประจุทเี่ กิดขึน้ จากระบบทีพ่ จิ ารณาอยู
เทานัน้
ในการหาคา Cs และ ts ตามขอ ช.2.3 ตองใชแรงดันไฟฟาตัดตามทีก่ ำหนดใน มอก.2219
พิสยั แรงดันไฟฟาที่ 1 : Uc = 0.9 โวลต พิสยั แรงดันไฟฟาที่ 2 : Uc = 2.0 โวลต
คาแรงดันไฟฟาปลอยประจุมาตรฐาน Us (SDV) ทีไ่ ดจากการทดลองทีร่ ะบุไวขา งลางมีเพือ่ ใหผเู ชีย่ วชาญทีม่ ี
ความสนใจไวทำการตรวจสอบการทำซ้ำได
ตัวอักษรของระบบ “ไมมตี วั อักษร” C E F L S
SDV: Us (โวลต) 1.30 2.90 3.50 1.48 1.30 1.55
การกำหนดคา Us สำหรับระบบ A B G และ P อยใู นระหวางการพิจารณา ระบบ P ถือเปนกรณีพเิ ศษ
เพราะวาคา Us ขึน้ กับชนิดของตัวเรงปฏิกริ ยิ าเพือ่ ลดออกซิเจน เนือ่ งจากระบบ P เปนระบบเปดสอู ากาศ
จึงทำใหความชืน้ จากสภาพแวดลอม และการดูดซึมคารบอนไดออกไซด หลังการกระตนุ มีอทิ ธิพลตอระบบ
สำหรับระบบ P อาจไดคา Us มีคา สูงถึง 1.37 โวลต

–45–

You might also like