You are on page 1of 19

มำตรฐำนกำรตรวจสอบและรับรองแห่งชำติ

THAI CONFORMITY ASSESSMENT STANDARD


มตช. 10-2565

กำรจัดกำรเพื่อมุ่งสู่กำรฝังกลบกำกอุตสำหกรรมเป็นศูนย์ – ข้อกำหนด
INDUSTRIAL WASTE MANAGEMENT TOWARD ZERO LANDFILL -
REQUIREMENT

สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม
THAI INDUSTRIAL STANDARDS INSTITUTE
กระทรวงอุตสำหกรรม
MINISTRY OF INDUSTRY
/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶ ISBN 978-616-595-031-2
2UGHU'RZQORDGHG
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มำตรฐำนกำรตรวจสอบและรับรองแห่งชำติ
กำรจัดกำรเพื่อมุ่งสู่กำรฝังกลบ
กำกอุตสำหกรรมเป็นศูนย์ – ข้อกำหนด

มตช. 10-2565

สำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม
กระทรวงอุตสำหกรรม ถนนพระรำมที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2430 6815

ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ ฉบับประกำศและงำนทั่วไป เล่ม 140 ตอนพิเศษ 75 ง


วันที่ 30 มีนาคม พุทธศักรำช 2566

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
-2-
2UGHU'RZQORDGHG
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
คณะอนุกรรมกำรวิชำกำรรำยสำขำ คณะที่ ๑๔
มำตรฐำนเศรษฐกิจหมุนเวียน
อนุกรรมการวิชาการรายสาขา คณะที่ ๑๔ เศรษฐกิจหมุนเวียน ได้รับการแต่งตั้งจากกรรมการก าหนด
มาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง เพื่อจัดท าร่างมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยมีรายชื่อ
ดังต่อไปนี้
ประธำน
นางสาวพงษ์วิภา หล่อสมบูรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
อนุกรรมกำร
นางกัญชลี นาวิกภูมิ กรมควบคุมมลพิษ
นางสาววานิช สาวาโย
นางนุชนาถ สุพรรณศรี กรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายธาดา สุนทรพันธุ์ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
นางสาวกฤษฎาพร บุญอยู่
นางสาวเพียงใจ หาญวัฒนาวุฒิ
นายธีรวุธ ตันนุกิจ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
นางสาวนันท์ บุญยฉัตร
นายกฤษดา เรืองโชติวิทย์ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่
นางสาวจารุวัส กิติยานันท์
นางสาวพรรวี สุมิตร
นางสาวนุจรินทร์ รามัญกุล ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
นางวิชชุดา เดาด์
นายชวาธิป จินดาวิจักษณ์ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
นายสาราญ สอนผึ้ง
นางสาวฉัตรตรี ภูรัต สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
นางสาววิศรา หุ่นธานี
นายจักรพงษ์ ถนัดค้า สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
นายไพรัตน์ ตังคเศรณี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
นางสาวกาญจนา วานิชกร สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
แห่งชาติ
นางสาวศรวณีย์ สิงห์ทอง

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -3-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
นายเกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน)
นายณัฐกร ไกรกุล
อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
นางสาววิชชา พิชัยณรงค์ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
อนุกรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
นางสาวกัณฐิกา นันทปรีชา สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -4-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบันส่งผลให้เกิดการบริโภคที่เพิ่มขึ้น ภาคอุตสหกรรมจึงมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมที่ เติบโตขึ้น กลับส่งผลให้ เกิด ปริมาณกากอุตสาหกรรมจากกระบวนการที่เพิ ่ มขึ้น
การจัดการกากอุตสาหกรรมที่ดีและมีประสิทธิภาพจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกากอุตสาหกรรม
ที่ก าจัดโดยวิธีการฝังกลบ ซึ่งแม้ว่าวิธีการฝังกลบกากอุตสาหกรรมจะเป็นวิธีการที่สะดวกในการด าเนินการ
แต่ ก ลั บ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ ่ ง แวดล้ อ ม สุ ข ภาพ และชุ ม ชนรอบข้ า งเป็ น อย่ า งยิ ่ ง เพื ่ อ ให้ เ กิ ด การจั ด การ
กากอุตสาหกรรมโดยวิธีการอื่น ๆ เพื่อลดปริมาณกากอุตสาหกรรม และลดการนากากอุตสาหกรรมไปฝังกลบ
ตลอดจนเกิดการรับรององค์กรที่มีการจัดการกากอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสู่การฝังกลบเป็นศูนย์ จึงเห็นควรกาหนด
มาตรฐานการตรวจสอบและรับ รองแห่ งชาติ การจัดการเพื่ อ มุ่งสู ่ก ารฝัง กลบกากอุตสาหกรรมเป็น ศูนย์ –
ข้อกาหนด นี้ขึ้น

มาตรฐานการตรวจสอบและรับรองแห่งชาตินี้ กาหนดขึ้นโดยอาศัยเอกสารต่อไปนี้เป็นแนวทาง
ZWL-DIW: 2564 มาตรฐานการจัดการการฝังกลบเป็นศูนย์
มตช. 2-2562 แนวทางการใช้หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนในองค์กร
มตช. 2 เล่ม 2-2564 ระบบการจัดการเศรษฐกิจหมุนเวียนสาหรับองค์กร เล่ม 2 ข้อกาหนด
กรมโรงงานอุตสาหกรรม คู่มือ 3Rs กับการจัดการของเสียภายในโรงงาน

คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรองได้พิจารณามาตรฐานนี้แล้ว เห็นสมควรเสนอประธาน
กรรมการ ประกาศตามมาตรา 13 (1) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -5-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
สำรบัญ
หน้ำ
0. บทนา 1
1. ขอบข่าย 2
2. เอกสารอ้างอิง 2
3. คาศัพท์และคานิยาม 2
4. การจัดการทั่วไป 3
5. การจัดการกากอุตสาหกรรม 5
5.1 การวิเคราะห์สถานะองค์กร 5
5.2 การจัดทาแผนการดาเนินงาน 5
5.3 การกาหนดกลยุทธและแผนงาน 6
5.4 การดาเนินการตามแผนที่ได้กาหนดไว้ 6
ภาคผนวก
ก. การวิเคราะห์การไหลของวัสดุ 8
ข. แนวทางในการลดของเสีย 9
ค. สูตรที่ใช้ในการคานวณ Diversion rate 11

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -6-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
ประกำศคณะกรรมกำรกำหนดมำตรฐำนด้ำนกำรตรวจสอบและรับรอง
ฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๖๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑
เรื่อง กาหนดมาตรฐานการตรวจสอบและรับรองแห่งชาติ
การจัดการเพื่อมุ่งสู่การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ – ข้อกาหนด
________________________

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๓ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑


ประธานกรรมการกาหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง ออกประกาศกาหนดมาตรฐานการตรวจสอบ
และรับรองแห่งชาติ การจัดการเพื่อมุ่งสู่การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ – ข้อก าหนด มาตรฐานเลขที่
มตช. 10-2565 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้
ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

นำยบรรจง สุกรีฑำ
เลขาธิการสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประธานกรรมการกาหนดมาตรฐานด้านการตรวจสอบและรับรอง

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -7-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

มำตรฐำนกำรตรวจสอบและรับรองแห่งชำติ
กำรจัดกำรเพื่อมุ่งสู่กำรฝังกลบกำกอุตสำหกรรมเป็นศูนย์ –
ข้อกำหนด
บทนำ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยมีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เป็นผลจากการพัฒนาเทคโนโลยี
และส่งเสริมการประกอบการภาคอุตสาหกรรมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตามการมุ่งพัฒนา
เศรษฐกิ จ ดั ง กล่ า วก่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงทั ้ ง ด้ า นสิ ่ ง แวดล้ อ ม ด้ า นสั ง คม และด้ า นอื ่ น ๆ ตามมา
โดยการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม เกิดการใช้ทรัพยากรเพิ่มมากขึ้น และก่อให้เกิดปัญหาด้านมลพิษ เช่น มลพิษ
ทางดิน น้า อากาศ เสียง และการปนเปื้อนของสารพิษ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ความหลายหลายทางชีวภาพ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน รวมไปถึงสุขภาพและคุณภาพชีวิต นอกจากนี้ยัง ก่อให้เกิดกากอุตสาหกรรมหรือของเสีย
จานวนมาก
จากระบบฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พบการขออนุญาตนาของเสียออกนอกบริเวณโรงงาน
เพื่อน าไปก าจัดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการฝังกลบ (Landfill) การเผาท าลายในเตาเผาเฉพาะ (Incineration)
การเผาร่วมในเตาเผาปูนซีเมนต์ (Co-processing of Waste material in cement kilns) และการนากลับไปใช้
ประโยชน์ใหม่ (Waste Utilization) โดยแม้ว่าสัดส่วนการนาของเสียไปใช้ประโยชน์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังคงมี
ของเสียบางส่วนถูกนาไปกาจัดโดยการฝังกลบ หรือไม่ได้ถูกนากลับไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม
เพื่อให้กากอุตสาหกรรมถูกนากลับไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม การเข้าใจถึงแนวทางในการจัดการและ
กาจัดของเสียจึงมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากการกาจัดของเสียด้วยวิธีการต่าง ๆ ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายและ
ภาระต้นทุนสิ่งแวดล้อม (Environmental Costs) รวมถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อมในมิติ ที่
แตกต่างกันออกไป การฝังกลบเป็นหนึ่ง ในวิธีที่ถูกนามาใช้ในการกาจัดของเสียจากอุตสาหกรรม เนื่องจากมีอัตรา
ค่าใช้จ่ายต ่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่น แต่ในขณะเดียวกันกลับ สร้างภาระต้นทุนสิ่งแวดล้อมในการจัดการที่สู ง
หากมีการจัดการไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ยิ่งอาจส่งผลให้เกิดการปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน
หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนซึ่งสนับสนุนให้เกิดการนาทรัพยากรหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่และ
สร้างคุณค่ าทางธุรกิ จในระยะยาว เป็น หลักการหนึ่ งที่สามารถช่วยให้ เกิดการจัดการกากอุ ตสาหกรรมอย่ าง
มีประสิทธิภาพ และช่วยลดการเกิดของเสียภายในองค์กร ซึ่งสามารถดาเนินการผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การลดการใช้
ทรัพยากร การใช้ซ้า การรีไซเคิล การออกแบบใหม่ เป็นต้น
กระทรวงอุตสาหกรรมได้ ตระหนักถึงความส าคัญของการจัดการของเสีย และเล็งเห็นประโยชน์จาก
หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน จึงได้นานโยบายภาครัฐในการพัฒนาประเทศด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่ า

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG - 1-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

“เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG Model)” มาใช้


ในภาคอุตสาหกรรม เพื่อมุ่งสู่การสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจจากฐานทรัพยากรที่มีความหลากหลาย เพิ่มมูลค่า
และขีดความสามารถในการแข่งขันบนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
ทาให้เกิดแนวคิดการจัดการของเสียสาหรับสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมในรูปแบบการฝังกลบเป็นศูนย์
(Zero Waste to Landfill) เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้ป ระโยชน์ของเสียให้มากที่ส ุด ลดของเสียตั้งแต่ ต้นทาง
เกิดของเสียที่ต้องนาไปฝังกลบให้เหลือน้อยที่สุด หรือเท่ากับศูนย์

1. ขอบข่ำย
มาตรฐานนี้ระบุข้อกาหนดสาหรับการจัดการกากอุตสาหกรรมภายในองค์กร เพื่อลดการเกิดขยะ และลดการฝัง
กลบกากอุตสาหกรรม เพื่อมุ่งสู่การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์
มาตรฐานฉบับนี้สามารถประยุกต์ใช้กับองค์กรทุกประเภท ทุกขนาด ที่มีนโยบายหรือความมุ่งมั่นในการจัดการกาก
อุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสู่การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ (Zero Waste to Landfill)

2. มำตรฐำนอ้ำงอิง
2.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัด สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 และฉบับที่ 2
พ.ศ. 2560
2.2 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ สิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2551

3. ศัพท์และนิยำมศัพท์
ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานนี้ มีดังต่อไปนี้
3.1 กากของเสียอุตสาหกรรม (Industrial waste)
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใช้แล้วทั้งที่เป็นของเสียอันตรายและของเสียไม่อันตรายที่เกิดขึ้นจากการประกอบ
กิจการโรงงาน รวมถึงของเสียจากวัตถุดิบ ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ของเสียที่ เป็นผลิตภัณฑ์
เสื่อมคุณภาพ โดยในมาตรฐานฉบับนี้จะเรียกว่า “กากอุตสาหกรรม” (อ้างอิงตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแล้ว พ.ศ. ๒๕๔๘)

หมายเหตุ กากอุตสาหกรรมไม่ถึงรวมกากของเสียไม่อันตรายในสานักงาน โรงอาหาร และบริเวณบ้านพัก


ในโรงงาน

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -2-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

3.2 การฝังกลบ (Landfill)

สถานที่สาหรับกาจัดของเสียโดยการฝังกลบตามหลักวิชาการ มีการออกแบบและจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน
ครบถ้วนถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนค านึงถึงผลกระทบด้าน
สาธารณสุขและความปลอดภัย เพื่อป้องกันการปนเปื้อนไปสู่น้าใต้ดินและน้าผิวดิน โดยการฝังกลบที่ระบุใน
มาตรฐานฉบับนี้ครอบคลุมทั้งการฝังกลบแบบ Sanitary landfill และ Secure landfill

3.3 การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ (Zero Industrial Waste to Landfill: ZWL)


การออกแบบและการจัดการทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์อย่างเป็นระบบ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดกาก
อุตสาหกรรม และมลพิษที่เกิดจากของเสีย โดยการหมุนเวียนทรัพยากรที่ใช้แล้วตามแนวคิดเศรษฐกิจ
หมุนเวียน เพื่อไม่ให้มีการนาไปฝังกลบ

3.4 ของเสียอันตราย (Hazardous waste)


สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใช้แล้วที่มีองค์ประกอบ หรือปนเปื้อนสารอันตราย หรือมีคุณสมบัติที่เป็นอันตราย
(อ้างอิงตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแล้ว พ.ศ. ๒๕๔๘)

3.5 อัตราการผันแปรกากอุตสาหกรรม (Waste diversion rate)


ค่าความสามารถในการจัดการกากอุตสาหกรรมอันเกิดจากการดาเนินกิจกรรมขององค์กรด้วยวิธีการต่าง ๆ
เพื่อเบี่ยงเบนการน ากากอุตสาหกรรมไปฝังกลบหรือเผาทิ้ง โดยค านวณจากอัตราส่วนของจ านวนกาก
อุตสาหกรรมที่นาไปผันแปรด้วยวิธีต่าง ๆ ที่ไม่ใช่การฝังกลบและเผาทิ้ง เทียบกับจานวนกากอุตสาหกรรม
ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมขององค์กร

4. กำรจัดกำรทั่วไป
องค์กรต้องมีการจัดการเพื่อสนับสนุนและแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานนี้ โดย

4.1 องค์กรต้องกาหนดนโยบายที่แสดงถึงเจตนารมณ์ในการลดกากอุตสาหกรรม เพื่อมุ่งสู่การจัดการการฝังกลบ


กากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์

หมายเหตุ นโยบายดังกล่าวอาจบูรณาการเข้ากับนโยบายที่เกี่ยวข้อง เช่น การจัดการสิ่งแวดล้อม

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
3-
2UGHU'RZQORDGHG -
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

4.2 องค์กรต้องระบุกฎหมาย ข้อกาหนด และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ กากอุตสาหกรรมที่เกิดจากกิจกรรม


ภายในองค์กร โดยจัดทาเป็นเอกสารสารสนเทศ และบูรณาการเข้ากับกิจกรรมขององค์กร

4.3 องค์กรต้องก าหนดบทบาท ความรับผิดชอบ และอานาจหน้าที่ แก่บุคลากรผู้มีหน้าที่ในกระบวนการที่


เกี่ยวข้องกับกากอุตสาหกรรม และดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องตามข้อกาหนดของมาตรฐานนี้
หมายเหตุ กระบวนการที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง เช่ น การออกแบบ การจั ด ซื ้ อ การผลิ ต การจั ด การคุ ณ ภาพ
การควบคุม การจัดเก็บและการกาจัดกากอุตสาหกรรม

4.4 องค์กรต้องมั่นใจว่าบุคลากรมีความรู้ความสามารถ สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย และ


ดาเนินการสอดคล้องกับมาตรฐานนี้ โดยมีการเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศที่แสดงถึงความรู้ความสามารถ
ของบุคลากรเป็นหลักฐานอย่างเหมาะสม
หมายเหตุ ความรู้ความสามารถ อาจอยู่บนพื้นฐานของการศึกษา การได้รับอนุญาตจากหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง การฝึกอบรม หรือประสบการณ์ ตามความเหมาะสม เช่น การใช้อุปกรณ์ในการ
ปฏิบัติงาน การจัดการของเสียตามหลักทางวิชาการและกฎหมาย ใบอนุญาตผู้ควบคุมระบบ
การจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม เป็นต้น

4.5 องค์ ก รต้ อ งมั ่ น ใจว่ า ทรั พ ยากรที ่ จ าเป็ น ได้ ม ี ก ารจั ด หาและรั ก ษาไว้ เพื ่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การจั ด การ
กากอุตสาหกรรมในองค์กร สอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานนีี
หมายเหตุ ทรัพยากรที่จาเป็น อาจรวมถึง ทรัพยากรบุคคล การเงิน สภาพแวดล้อมในการดาเนินการ
และโครงสร้ า งพื ้ น ฐาน (อาคาร และสาธารณู ป โภคที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง เครื ่ อ งจั ก ร ฮาร์ ด แวร์
ซอฟท์แวร์ พาหนะขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ)

4.6 องค์กรต้องจัดท าและควบคุมเอกสารสารสนเทศที่ก าหนดโดยมาตรฐานนี้ และเอกสารสารสนเทศที่


พิจารณาโดยองค์กรแล้วว่ามีความจาเป็นสาหรับองค์กร เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน และเป็นหลักฐานแสดงถึง
การสอดคล้องตามข้อกาหนดทั้งหมดของมาตรฐาน
หมายเหตุ 1. การควบคุมเอกสารสารสนเทศอาจทาได้โดย การชี้บ่ง การทบทวนและอนุมัติเพื่อให้มั่นใจ
ว่ า เอกสารสารสนเทศที ่ ใ ช้ ถ ู ก ต้ อ ง การควบคุ ม การแจกจ่ า ย การใช้ การจั ด เก็ บ
การกาหนดระยะเวลาการจัดเก็บ และการทาลาย
2. เอกสารสารสนเทศ เช่น ใบอนุุญาตนาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงาน
(สก.2) ใบส าคัญรับ เงิน หรือใบเสร็จ ในการขนย้ายหรือก าจัดของเสีย สัญญาการว่าจ้าง
ผู้รับเหมาช่วงเพื่อด าเนินการเกี่ยวกับของเสีย เป็นต้น โดยเอกสารสารสนเทศอาจรวมถึง
เอกสารสารสนเทศจากภายนอกด้วย เช่น คู่มือเครื่องจักร
/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -4-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

5. กำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม
5.1 การวิเคราะห์สถานะองค์กร

5.1.1 องค์ ก รต้ อ งพิ จ ารณาทบทวนขอบข่ า ยและขอบเขตการจั ด การกากอุ ต สาหกรรมในองค์ ก ร


ความสอดคล้องกับหลักกฎหมายและหลักวิชาการ และรายละเอียดปัจจุบันขององค์กร เพื่อทราบ
สถานภาพ โดยการพิจารณาสถานภาพต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
ก) การวิเคราะห์การไหลกากอุตสาหกรรม โดยมีการระบุรายชื่อ น้าหนักหรือปริมาณ วัสดุขาเข้าและ
ขาออก และกากอุตสาหกรรมในกระบวนการ
ข) น้าหนักหรือปริมาณของกากอุตสาหกรรมที่ใช้เป็นข้อมูลตามรอบเวลาที่ทาการวิเคราะห์
ค) น้าหนักหรือปริมาณของกากอุตสาหกรรมเมื่อเทียบกับผลิตภาพขององค์กร
ง) รายชื่อ น้าหนักและปริมาณ กากอุตสาหกรรมที่มีการจัดการโดยวิธีการฝังกลบ

5.1.2 องค์กรต้องจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นเอกสารสารสนเทศ

5.2 การจัดทาแผนการดาเนินงาน

5.2.1. องค์กรต้องจัดทาแผนการดาเนินการ และจัดเก็บเป็นเอกสารสารสนเทศ โดยแผนการดาเนินการ ต้อง


ประกอบด้วยหัวข้อ ดังต่อไปนี้
ก) รายละเอียดการดาเนินงาน
ข) วิธีการในการลดกากอุตสาหกรรม
ค) การคานวณการลดกากอุตสาหกรรม
ง) การติดตามผลการดาเนินงาน

5.2.2 องค์กรต้องระบุเทคนิค วิธีการ หรือกลไกต่าง ๆ ในการลดกากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ


ขององค์กร เพื่อมุ่งสู่การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์
หมายเหตุ เทคนิค วิธีการ หรือกลไกในการจัดการกากอุตสาหกรรม อาจเป็นหนึ่งในหัว ข้ อ ดัง
ปรากฎในภาคผนวก ข. หรืออาจเป็นเทคนิค วิธีการ หรือกลไกอื่น ๆ นอกเหนือจากที่
ระบุไว้ ซึ่งสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานนี้ได้

5.2.3 องค์กรต้องกาหนดเกณฑ์ วิธีการคานวณปริมาณกากอุตสาหกรรม อัตราการผันแปรกากอุตสาหกรรม


และทาการวิเคราะห์ตามรอบเวลาที่กาหนด และจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นเอกสารสารสนเทศ

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
5-
2UGHU'RZQORDGHG -
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

5.2.4 องค์กรต้องกาหนดวิธีการหาอัตราการผันแปรรูปกากอุตสาหกรรม ซึ่งอาจใช้สูตรตามที่ระบุในภาคผนวก


ค หรื อ สู ต รอื ่ น ๆ ที ่ เ ที ย บเท่ า ซึ ่ ง แสดงถึ ง ความสามารถในการจั ด การกากอุ ต สาหกรรมอย่ า งมี
ประสิทธิภาพขององค์กร และจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการคานวณเป็นเอกสารสารสนเทศ

5.3 การกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน

5.3.1 องค์กรต้องกาหนดกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดของแผนดาเนินการสาหรับการจัดการกากอุตสาหกรรม


เพื่อมุ่งสู่การฝังกลบเป็นศูนย์ และสอดคล้องตามข้อ 5.2

5.3.2 องค์กรต้องมีการวางแผนในการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนดาเนินงาน โดยคานึงถึง


ก) สิ่งที่ต้องทา
ข) ทรัพยากรที่ต้องการ
ค) ผู้รับผิดชอบ
ง) ระยะเวลาแล้วเสร็จ
จ) วิธีจัดเก็บข้อมูลที่จาเป็น
ฉ) วิธีการประเมินผล

5.4 การดาเนินการตามแผนที่ได้กาหนดไว้

5.4.1 องค์กรต้องจัดทาเกณฑ์การปฎิบัติสาหรับกระบวนการ เพื่อแสดงถึงการจัดการกากอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสู่


การฝังกลบเป็นศูนย์ และต้องมีการควบคุมกระบวนการตามเกณฑ์การปฎิบัติงานที่ได้กาหนดไว้

5.4.2 องค์กรต้องมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ กากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นและการจัดการกากอุตสาหกรรมในแต่


ละช่วงเวลาอย่างเหมาะสม โดยอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้
ก) ชื่อ และ/หรือ ชนิด
ข) น้าหนักกากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้น และวันที่บันทึกข้อมูล
ค) วิธีการผันแปรกากอุตสาหกรรม
ง) น้าหนักกากอุตสาหกรรมที่นาไปกาจัดหรือผันแปร และวันที่ดาเนินการกิจกรรมดังกล่าว
จ) อัตราที่ตกค้างของกากอุตสาหกรรมในโรงงานแปรรูป
ฉ) น้าหนักกากอุตสาหกรรมที่นาไปฝังกลบ
ช) ผู้ดาเนินการฝังกลบกากอุตสาหกรรม
ซ) ผู้ดาเนินการและหลักฐานการเคลื่อนย้ายกากอุตสาหกรรม

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -6-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

5.4.3 องค์กรต้องก าหนดเกณฑ์ส าหรับการคัดเลือกผู้ด าเนินการขนย้ายหรือก าจัดกากอุตสาหกรรม และ


ตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่า ผู้ด าเนินการขนย้ายหรือก าจัดกากกากอุตสาหกรรม มีการด าเนินการที่
สอดคล้องกฎหมายและวัตถุประสงค์ในการก าจัดกากอุตสาหกรรมขององค์กร และจัดเก็บข้อมูล ที่
เกี่ยวข้อง อย่างน้อยดังต่อไปนี้
ก) รายชื่อผู้ดาเนินการขนย้ายหรือกาจัดกากกากอุตสาหกรรมที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่องค์กรกาหนด
ข) สัญญาหรือเอกสารอื่น ๆ
ค) เอกสารตรวจสอบการดาเนินงานของผู้ขนย้ายหรือกาจัดกากอุตสาหกรรม

5.4.4 องค์กรต้องด าเนินการทวนสอบความถูกต้องของข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับการค านวณอัตราการผันแปร


กากอุตสาหกรรม โดย
ก) จัดทาแผนการทวนสอบ รวมถึงความถี่ วิธีการ ผู้รับผิดชอบ
ข) มอบหมายผู้ทวนสอบที่มีความรู้ความสามารถและไม่เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บหรือบันทึกข้อมู ล
เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลมีความถูกต้อง
ค) รายงานผลการทวนสอบแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ง) เก็บรักษาเอกสารสารสนเทศไว้เป็นหลักฐานการปฏิบัติตามแผนการทวนสอบและผลการทวนสอบ

5.4.5 องค์กรต้องมีการประเมินและทบทวนประสิทธิผลของการดาเนินการตามมาตรฐานการจัดการเพื่อมุ่งสู่
การฝังกลบกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ เป็นระยะ ๆ ตามช่วงเวลาที่กาหนด โดยพิจารณาถึงการบรรลุ
วัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดที่ได้กาหนดไว้ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

5.4.6 องค์ ก รต้ อ งจั ด ท ารายงานผลการลดปริ ม าณกากอุ ต สาหกรรมภายในองค์ ก รในแต่ ล ะช่ ว งเวลาที่
ได้กาหนดไว้

5.4.7 องค์กรต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจถึงความเหมาะสมและการบรรลุวัตถุประสงค์เพื่อมุ่ง


สู่การจัดการกากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
7-
2UGHU'RZQORDGHG -
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

ภำคผนวก ก.
(ข้อมูล)
กำรวิเครำะห์กำรไหลของกำกอุตสำหกรรม
การวิเคราะห์การไหลของกากอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุถึง กากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นจากการ
ดาเนินการขององค์กรทั้งหมด โดยการดาเนินการขององค์กรที่อาจทาให้เกิดของเสีย อาจมาจากกระบวนการ
ดังต่อไปนี้
- กระบวนการรับวัตถุดิบ เช่น บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุวัตถุดิบ
- กระบวนการผลิต เช่น เศษวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์เสื่อมคุณภาพ
- กระบวนการตรวจสอบคุณภาพ เช่น สารเคมีที่ใช้แล้วจากห้องปฏิบัติการ
- กระบวนการบาบัดของเสีย เช่น กากตะกอน ฝุ่นกรองเขม่า ถุงกรอง
- กระบวนการซ่อมบารุง เช่น แบตเตอรี่รถยนต์ ชิ้นส่วนอุปกรณ์
- กระบวนการรื้อถอนอาคาร เช่น คอนกรีต โลหะ
- กระบวนการในสานักงาน เช่น ซากเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์

ตัวอย่ำงแผนภำพกำรไหลของกำกอุตสำหกรรม

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG -8-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

ภำคผนวก ข.
(ข้อมูล)
แนวทำงในกำรลดของเสีย

องค์กรสามารถใช้วิธีการต่อไปนี้ เป็นแนวทางในการจัดการกากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของ
องค์กร เพื่อทดแทนการจัดการกากอุตสาหกรรมโดยวิธีการฝังกลบ หรือสามารถใช้แนวทางอื่นตามหลักการ
เศรษฐกิจหมุนเวียนภายในองค์กร (มตช. 2-2562)
กำรลดกำรใช้วัสดุ (Reduce)
- ลดปริมาณวัตถุดิบทีไ่ ม่จาเป็นในการผลิตขององค์กร
- จัดทาโปรแกรมสาหรับติดตาม เพื่อลดการเกิดของเสีย
- ลดขนาดโดยรวม (Overall size) หรือลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์
- ลดการใช้สารเคมีที่เป็นอันตราย
- การป้องกันการเกิดกากอุตสาหกรรม
กำรใช้ซ้ำ (Reuse)
- จัดทาระบบที่อานวยความสะดวกในการนาทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า และลดการใช้วัสดุที่ใช้ครั้งเดียว
- นาภาชนะบรรจุ (shipping container) และแท่นวางสินค้า (pallet) ที่ยังอยู่ในสภาพดีกลับมาใช้ซ้า
- เลือกใช้วัสดุที่มีความทนทาน เพื่อให้สามารถนากลับมาใช้ซ้าได้
- การใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามหลักการคุณค่าที่เหมาะสม (Value Optimization)
กำรรีไซเคิล (Recycle)
- นาทรัพยากรที่สามารถใช้งานได้ กลับมาผลิตใหม่ เช่น เศษพลาสติกจากกระบวนการผลิต
กำรใช้เทคนิคกำรออกแบบใหม่เพื่อลดกำกอุตสำหกรรม (Re-design)
- ทาการประเมินและออกแบบภาชนะบรรจุของเสียให้มีขนาดและปริมาตรที่เหมาะสม เมื่อพิจารณาจาก
ปริมาณของเสียที่สร้างขึ้น
- ทบทวนการเกิดของเสีย ภายในองค์กรเพื่อท าให้มั่น ใจว่า ของเสีย ภายในองค์กรได้ถูกน าไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
- ออกแบบการจัดการขยะภายในโซ่อุปทาน
กำรย่อยสลำย (Compose)
- คัดแยกวัสดุประเภทออแกนิคซึ่งสามารถย่อยสลายได้ เพื่อนาไปทาปุ๋ย

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
9-
2UGHU'RZQORDGHG -
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

กำรใช้นวัตกรรมเพื่อกำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม (Innovation)
- นาเถ้าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการไปผลิตเป็นอิฐบล็อก
- ในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม เปลี่ยนวิธีการย้อมผ้าจากเดิมใช้น้าในการย้อมผ้า เป็นการใช้ supercritical
CO2 ซึ่งช่วยลดปัญหาน้าเสีย
กำรเปลี่ยนกำกอุตสำหกรรมเป็นพลังงำน (Waste-to-energy)
- การนากากอุตสาหกรรมในโรงงานไปเผาเพื่อผลิตเป็นพลังงานและหมุนเวียนกลับมาใช้ภายในองค์กร
กำรประสำนควำมร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยในและภำยนอกองค์กรเพื่อรักษำผลประโยชน์และสร้ำง
คุณค่ำทำงธุรกิจร่วมกัน ตำมหลักกำรควำมร่วมมือ (Collaboration)
- องค์กรร่วมมือกับองค์กรอื่นเพื่อดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการจัดการกากอุตสาหกรรม โดยมีการ
แบ่งปันข้อมูลภายในองค์กรและทรัพยากรแก่องค์กรอื่น
- ชักจูงให้ผู้มีส่วนได้เสียลดการสร้างของเสีย โดยจัดทาข้อตกลงการเก็บของเสีย
- การใช้กระบวนการจัดซื้อเพื่อให้กากอุตสาหกรรมเป็นศูนย์ (Zero waste purchasing)

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
-10-
2UGHU'RZQORDGHG
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG
มตช. 10-2565

ภำคผนวก ค.
(ข้อมูล)
สูตรที่ใช้ในกำรคำนวน Waste diversion

องค์กรสามารถคัดเลือกหรือประยุกต์ใช้สูตรสาหรับการคานวน Waste diversion ดังต่อไปนี้


1. กรณีกิจกรรมภายในองค์กรไม่มีการออกแบบใหม่ (Re-design)
ผลรวมของน้าหนักกากอุตสาหกรรมทุกประเภทที่ทาการผันแปร
Diversion rate (%) =
ผลรวมของน้าหนักกากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นทั้งหมด
2. กรณีกิจกรรมภายในองค์กรมีการออกแบบใหม่ (Re-design)
(diverted waste−residuals)+prevented waste
Diversion rate (%) =
total waste+prevented waste

เมื่อ Diverted amount = (จานวนขยะที่ทาการผันแปรทั้งหมด − จานวนที่ตกค้างจากการดาเนินการ)

หมายเหตุ หลักฐานจานวนที่ตกค้างได้จากหน่วยงานที่ดาเนินการผันแปร ซึ่งอาจระบุเป็น


- ร้อยละสิ่งที่ตกค้างเมื่อเทียบกับปริมาณขยะทั้งหมดที่นาไปผันแปร
- ร้อยละของเสียโดยรวมที่ปล่อยออกมาจากโรงงานที่ดาเนินการผันแปร
จานวนขยะทั้งหมดที่เกิดขึ้นอย่างน้อย 6 เดือน
Prevented waste = × จานวนขยะที่ขายไป ณ ช่วงเวลานี้
จานวนขยะที่ขายไปอย่างน้อย 6 เดือน

หมายเหตุ กากอุตสาหกรรรมที่นาไปเผาทาลายจะไม่นามาคิดเป็นกากอุตสาหกรรมที่ผันแปร

/LFHQVHGWR›™¶¤´¾ƒ¥·š´¾Œ´¾—¶
2UGHU'RZQORDGHG- 11-
6LQJOHXVHUOLFHQVHRQO\FRS\LQJDQGQHWZRUNLQJSURKLELWHG

You might also like