You are on page 1of 31

มาตรฐานสินค้าเกษตร

มกษ. 9036-2555

THAI AGRICULTURAL STANDARD


TAS 9036-2012

หลักการชักตัวอย่างสินค้าส่งมอบ
เพื่อการตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืช
METHODOLOGIES FOR SAMPLING OF CONSIGNMENTS
FOR PHYTOSANITARY INSPECTION

สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรลลออาหารลห่งชาติ
กรอทรวงเกษตรลลอสหกรณ์
ICS 03.120.30 ISBN XXX-XXX-XXX-X
มาตรฐานสินค้าเกษตร
มกษ. 9036-2555

THAI AGRICULTURAL STANDARD


TAS 9036-2012

หลักการชักตัวอย่างสินค้าส่งมอบ
เพื่อการตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืช
METHODOLOGIES FOR SAMPLING OF CONSIGNMENTS
FOR PHYTOSANITARY INSPECTION

สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรลลออาหารลห่งชาติ
กรอทรวงเกษตรลลอสหกรณ์
50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357
www.acfs.go.th

ปรอกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับปรอกาศลลองานทั่วไป เล่ม 129 ตอนพิเศษ 144 ง


วันที่ 19 กันยายน พุทธศักราช 2555
(2)

คณะกรรมการวิชาการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การชักตัวอย่างสินค้าเกษตร


เพื่อการตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืช

1. นางมัณฑนา มิลน์ ประธานกรรมการ


กรมวิชาการเกษตร
2. นายวัลลภ วุฒาพาณิชย์ กรรมการ
กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง
3. นางสาวทรรศณีย์ ปรัชญาบารุง กรรมการ
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
4. นางสาวจิตรา เศรษฐอุดม กรรมการ
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
5. นายนิทัศน์ สิริลาภยศ กรรมการ
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
6. นางพุฒนา รุ่งระวี……………………………………………………………… กรรมการ
กรมวิชาการเกษตร
7. นายชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล…………………………………………………………………………………………………. กรรมการ
คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชุติมา ไวศรายุทธ์………………………………………………………… กรรมการ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
9. นายหัสดิน สุวัฒนะพงศ์เชฏ กรรมการ
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
10. นายไพบูลย์ วงศ์โชติสถิต กรรมการ
สมาคมผู้ค้าและส่งออกผลไม้ไทย
11. รองศาสตราจารย์จวงจันทร์ ดวงพัตรา กรรมการ
สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย
12. นายบรรพต ณ ป้อมเพชร กรรมการ
13. นายวิชา ธิติประเสริฐ กรรมการ
14. นายสมชาย โอฬารกนก กรรมการ
15. นายประทีป อารยะกิตติพงศ์.................................................................กรรมการและเลขานุการ
สานักมาตรฐานสินค้าและระบบคุณภาพ
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(3)

การชักตัวอย่างเป็นเครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ในการตรวจสอบด้ า นสุ ข อนามั ย พื ช เพื่ อ ให้ แน่ ใ จว่ า สิ น ค้ า พื ช และ
ผลิตภัณฑ์นั้นปราศจากศัตรูพืชหรือวัตถุควบคุม วิธีการชักตัวอย่า งที่ ดี ต้ อ งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ โปร่ ง ใส เป็ น ที่
ยอมรับและสามารถน าไปปฏิ บัติ ไ ด้ จ ริ ง ในการค้ า ระหว่ า งประเทศ การก าหนดวิ ธี ก ารชั ก ตั ว อย่ า งเพื่ อ
ตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืชควรสอดคล้องตามมาตรฐานระหว่างประเทศด้านมาตรการสุ ข อนามั ย พื ช หรื อ
International Standard for Phytosanitary Measure (ISPM) หมายเลข 31 เรื่อง Methodologies for sampling
of consignments เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมและเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ระหว่ า งประเทศผู้ น าเข้ า และส่ ง ออก
ดังนั้น คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรจึงเห็นสมควรกาหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่ อ ง หลั ก การชั ก
ตัวอย่างสินค้าส่งมอบเพื่อการตรวจสอบด้า นสุ ข อนามั ย พื ช โดยมี ส าระเป็ น ไปตาม ISPM หมายเลข 31
เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องนาไปใช้อ้างอิง ได้โดยสะดวก
มาตรฐานสิ นค้าเกษตรนี้ กาหนดขึ้นโดยใช้เอกสารต่อไปนี้เป็น แนวทาง
FAO. 2009. Methodologies for sampling of consignments (ISPM No.31). In International Standards
for Phytosanitary Measures 1-32 (2009 edition). Food and Agriculture Organization of The United
Nation, Rome.
FAO. 2009. Glossary of phytosanitary terms (ISPM No.5). In International Standards for Phytosanitary
Measures 1-32 (2009 edition). Food and Agriculture Organization of The United Nation, Rome.
มกษ. 9036-2555

มาตรฐานสินค้าเกษตร
หลักการชักตัวอย่างสินค้าส่งมอบ
เพื่อการตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืช
1. ขอบข่าย
มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ กาหนดแนวทางเลือกวิธีชักตัวอย่างที่เหมาะสมสาหรับการตรวจสอบหรื อ ทดสอบ
สินค้าส่งมอบ เพื่อยืนยันว่าปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยพืช

2. นิยาม
ความหมายของคาที่ใช้ใ นมาตรฐานสินค้ าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้
2.1 สินค้าส่งมอบ (consignment) หมายถึง ปริมาณหนึ่งของพืช ผลิตภัณฑ์จากพืช และ/หรื อ วั ต ถุ อื่ น ที่ มี
การเคลื่อนย้ายจากประเทศหนึ่ง ไปอีกประเทศหนึ่ง และครอบคลุมถึงสถานที่อื่นๆที่ได้กาหนดไว้ โดยก ากั บ
ด้วยใบรับรองสุขอนามัยพืชฉบับเดียว (สินค้าส่งมอบอาจประกอบด้ ว ยสิ น ค้ า หนึ่ ง ชนิ ด หรื อ หนึ่ ง รุ่ น หรื อ
มากกว่าหนึ่งชนิดหรือหนึ่ง รุ่น)
2.2 รุ่น (lot) หมายถึง จานวนของหน่วยสินค้าอย่างเดีย วกั น (a single commodity) ที่ ร ะบุ ไ ด้ ด้ ว ยความ
เหมือนกันขององค์ประกอบ แหล่งกาเนิด แหล่งผลิต สายพันธุ์ ชนิด ฯลฯ ประกอบกั น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ
สินค้าส่งมอบ

2.3 ขนาดตัวอย่าง (sample size) หมายถึง จานวนของหน่วยสินค้าที่ถูกเลือกมาจากรุ่ น สิ น ค้ า หรื อ สิ น ค้ า


ส่งมอบ เพื่อนามาตรวจสอบหรือทดสอบ
2.4 หน่วยตัวอย่าง (sample unit) หมายถึง หน่วยที่เหมาะสมของตัวอย่างสาหรับการชักตัวอย่าง จะเกีย่ วข้อง
กับความเป็นรูปแบบเดียวกันของการแพร่กระจายศัตรูพืชในสินค้า การบรรจุหีบห่อ การใช้ ที่ มี จุ ด มุ่ ง หมาย
และข้อพิจารณาในการปฏิบัติงานต่างๆ
มกษ. 9036-2555 2

3. หลักการ
วิธีการชักตัวอย่างสาหรับการตรวจสอบสินค้าส่งมอบ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการบริหารจั ด การความ
เสี่ยงศัตรูพืช เพื่อที่จะระบุชี้ชัดถ้าหากมีศัตรูพืชและ/หรื อ ระบุ ก ารปฏิ บัติ ต ามข้ อ ก าหนดการน าเข้ า ด้ า น
สุขอนามัยพืช การชักตัวอย่างพืช ผลิตภัณฑ์จากพืช และวัตถุควบคุมอื่ น ๆ อาจเกิ ด ขึ้ น ก่ อ นส่ ง ออก หรื อ
ณ จุดนาเข้า หรือ จุดอื่นๆที่ระบุโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบ แนวทางการชักตัวอย่างในมาตรฐานนี้อ าจน าไป
ประยุกต์ใช้กับวิธีการสุขอนามัยพืชอื่นๆ โดยการเลือกหน่ว ยตั ว อย่ า งส าหรั บการตรวจสอบหรื อ ทดสอบ
ที่เหมาะสม
วิธีการชักตัวอย่างต่างๆ ที่นามาใช้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการชักตัวอย่าง และอาจอิงหลัก สถิ ติ ทั้ ง หมด
หรือพัฒนาจากข้อจากัดในการปฏิบัติงาน เพื่ อ ให้ บรรลุ วั ต ถุ ประสงค์ ข องการชั ก ตั ว อย่ า งตามข้ อ จ ากั ด
ในการปฏิบัติงานนั้น การประยุกต์ใช้วิธีการชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ จะให้ผลทดสอบที่ แตกต่ า งตาม
ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติ ส่วนวิธีการชักตัวอย่างที่ไม่มีพื้น ฐานทางสถิ ติ อาจให้ ผ ลทดสอบที่ มี เ หตุ ผ ล
ยอมรับได้ ที่จะระบุว่ามีหรือไม่มีศัตรูพืชควบคุมแต่ไม่สามารถอนุมานทางสถิติได้
ในการเลือกใช้วิธีการชักตัวอย่าง ให้ยอมรับว่ามีระดับความเสี่ยงของรุ่นสินค้าที่ไม่เป็นไปตามข้ อ ก าหนดซึ่ ง
อาจตรวจไม่พบ การตรวจสอบโดยใช้วิธีการต่างๆที่มี พื้ น ฐานทางสถิ ติ สามารถให้ ผ ลตรวจสอบที่ ร ะดั บ
ความเชื่อมั่นที่แน่นอนระดับเดียวเท่านั้น และไม่สามารถพิสูจน์ การไม่มีศัตรูพืชในสินค้าส่งมอบนั้นได้
สิ่งสาคัญเมื่อจัดทาวิธีการชักตัวอย่างและนามาใช้ ต้องจัดทาเป็นเอกสารไว้ และมี ค วามโปร่ ง ใส และมี ก าร
พิจารณาถึงหลักการที่ก่อให้เกิดผลกระทบน้ อ ยที่ สุ ด (ISPM No.1: หลั ก การสุ ข อนามั ย พื ช ส าหรั บการ
อารักขาพืชและการประยุกต์ใช้มาตรการสุขอนามัยพืชในการค้าระหว่างประเทศ) เนื่ อ งจากการตรวจสอบ
ที่มีพื้นฐานบนการชักตัวอย่าง อาจนาไปสู่การปฏิเสธการออกใบรับรองสุขอนามัยพืช การปฏิ เ สธการน าเข้ า
หรือการกาจัดศัตรูพืช หรือการทาลายสินค้าส่งมอบทั้งหมดหรือบางส่วนได้

4. วัตถุป ระสงค์ของการชักตัวอย่างสินค้าส่งมอบ
การชักตัวอย่างสินค้าส่งมอบต่างๆ นามาปฏิบัติสาหรับการตรวจสอบ และ/หรือ ทดสอบเพื่อ
- ตรวจหาศัตรูพืชควบคุมต่างๆ
- ให้การประกันว่า จานวนของศั ต รู พืช ควบคุ ม หรื อ จ านวนของสิ น ค้ า ส่ ง มอบที่ มี ศั ต รู พืช ลงท าลาย
ไม่เกินระดับการทนรับได้ (tolerance level) ของศัตรูพืชนั้น
- ให้การประกันสภาพสุขอนามัยพืชโดยรวมของสินค้าส่งมอบ
- ตรวจหาสิ่งมีชีวิตต่างๆ ซึ่งยังมิได้ระบุความเสี่ยงสุขอนามัยพืช
- ให้เกิดความเหมาะสมที่สุด ของความน่าจะเป็นในการตรวจพบศัตรูพืชควบคุมโดยเฉพาะต่างๆ
- ให้มีการใช้ทรัพยากรการชักตัวอย่างที่มีอยู่ให้มากที่สุด
- รวบรวมข้อมูลอื่นๆ เช่น ข้อมูลสาหรับการติดตามเส้นทางผ่านของศัตรูพืช
- ตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยพืช
- ระบุสัดส่วนของสินค้าส่งมอบทีม่ ีศัตรูพืชลงทาลาย
3 มกษ. 9036-2555

การตรวจสอบสินค้าที่ได้จากการชักตัวอย่าง จะก่อให้เกิดความผิดพลาดระดับหนึ่งเสมอ การยอมรั บความ


น่าจะเป็นไปได้ที่จะพบศัตรูพืชจึงเป็นเรื่องปกติในการใช้ วิ ธี ก ารชั ก ตั ว อย่ า งต่ า งๆส าหรั บการตรวจสอบ
การตรวจสอบโดยใช้วิธีการชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ สามารถให้ระดับความเชื่อมั่น ว่ า การพบศั ต รู พืช
ชนิดใดชนิดหนึ่ง อยู่ต่ากว่าระดับกาหนดระดับใดระดับหนึ่ง แต่จะไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าไม่ มี ศั ต รู พืช อยู่ ใ น
สินค้าส่งมอบนั้นอย่างแท้จริง

5. ข้อกาหนด
5.1 การระบุรุ่นสินค้า (Lot Identification)

สินค้าส่งมอบชนิดหนึ่งอาจประกอบด้วยรุ่นสินค้าหนึ่งรุ่นหรือมากกว่า ในกรณีที่สินค้าส่ง มอบประกอบด้ ว ย


รุ่นสินค้ามากกว่าหนึ่ง รุ่น การตรวจสอบเพื่อระบุว่าสินค้าได้ปฏิบัติตามเงื่อนไข อาจต้ อ งตรวจสอบแยกกั น
ดังนั้นรุ่นสินค้าต่างๆจะต้องชักตัวอย่างแยกออกจากกัน ตั ว อย่ า งจากสิ น ค้ า แต่ ล ะรุ่ น ควรแยกออกและ
มีการบ่งชี้เพื่อสามารถระบุรุ่นสินค้ า ได้ อ ย่ า งชั ด เจน ถ้ า ตรวจสอบพบว่ า สิ น ค้ า ไม่ ปฏิ บัติ ต ามข้ อ ก าหนด
สุขอนามัยพืช การที่รุ่นสินค้ารุ่นใดรุ่นหนึ่งจะต้องตรวจสอบอีกหรือไม่นั้น ควรตัดสิ น ใจโดยใช้ ปัจ จั ย ต่ า งๆ
ใน ISPM No.23 แนวทางปฏิบัติสาหรับการตรวจสอบ หัวข้อ 1.5
รุ่นสินค้าที่จะชักตัวอย่าง ควรเป็นจานวนหนึ่งของหน่วยต่างๆ ของสินค้ า อย่ า งเดี ย วกั น ที่ ส ามารถระบุ ไ ด้
โดยความเหมือนกันในปัจจัยต่างๆ เช่น
- ประเทศต้นทาง
- ผู้ปลูก
- สถานที่บรรจุหีบห่อ
- ชนิดพันธุ์ สายพันธุ์ หรือ ระยะของการเจริญเติบโต
- ผู้ส่งออก
- พื้นที่การผลิต
- ศัตรูพืชควบคุมต่างๆ และคุณลักษณะต่างๆ ของศัตรูพืชเหล่านั้น
- วิธีกาจัดศัตรูพืชที่ประเทศต้นทาง
- ประเภทของการแปรรูป
เกณฑ์ที่นามาใช้แยกรุ่นสินค้าต่างๆ ออกจากกั น ควรประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งเสมอภาคส าหรั บ สิ น ค้ า ส่ ง มอบ
ที่คล้ายคลึงกัน
การปฏิบัติกับสินค้าที่มหี ลายชนิดโดยถื อ ว่ า เป็ น สิ น ค้ า รุ่ น เดี ย วกั น เพื่ อ ความสะดวก อาจหมายความว่ า
ผลลัพธ์ของการชักตัวอย่างไม่สามารถใช้อนุมานเชิงสถิติสาหรับรุ่นสินค้าดังกล่าวได้
มกษ. 9036-2555 4

5.2 หน่วยตัวอย่าง (Sample Unit)


การชักตัวอย่างในเบื้องต้นจะเกี่ยวข้องกับการระบุหน่วยที่เหมาะสมของตั ว อย่ า งส าหรั บการชั ก ตั ว อย่ า ง
(ตัวอย่างเช่น ผล ลาต้น ช่อดอกไม้ หน่วยน้าหนัก ถุง หรือ กล่อง) การกาหนดหน่วยตัวอย่างจะโน้ ม เอี ย ง
ไปทางประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความเป็นรูปแบบเดียวกัน ของการแพร่ ก ระจายศั ต รู พืช ในสิ น ค้ า ว่ า ศั ต รู พืช
ต่างๆนั้นอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ได้ สินค้าส่ง มอบมี ก ารบรรจุ หี บห่ อ อย่ า งไร การใช้ ที่ มี จุ ด มุ่ ง หมาย และ
ข้อพิจารณาในการปฏิบัติงานต่างๆ ตั ว อย่ า งเช่ น หากตั ด สิ น โดยชี ว วิ ท ยาของศั ต รู พืช เพี ย งอย่ า งเดี ย ว
ในกรณีที่ศัตรูพืชค่อนข้างอยู่กับที่ หน่วยตัวอย่างที่เหมาะสมอาจเป็นพืชหรือผลิตผลพืชเดี่ยวแต่ ล ะชิ้ น ส่ ว น
ในกรณีที่ศัตรูพืชเคลื่อนที่ได้ กล่องหรือภาชนะอื่นๆ ที่บรรจุสินค้าอาจเป็นหน่วยตัวอย่างที่ดีกว่า อย่างไรก็ตาม
การตรวจสอบเพื่อตรวจพบศัตรูพืชมากกว่าหนึ่งประเภท อาจประยุกต์ใช้ข้อพิจารณาอื่ นๆ (เช่ น การน าไป
ปฏิบัติได้จริงของการใช้หน่วยตัวอย่างที่แตกต่างกัน) หน่วยตัวอย่างต่างๆ ควรกาหนดให้มีความคงเส้นคงวา
(consistency) และเป็นอิสระต่อกัน ส่งผลให้ ก ระบวนการอนุ ม านจากตั ว อย่ า งของ รุ่ น สิ น ค้ า หรื อ สิ น ค้ า
ส่งมอบมีความง่ายขึ้น

5.3 การชักตัวอย่างที่ใช้ หลักทางสถิติและไม่ใช้ หลักทางสถิติ


การชักตัวอย่างเพื่อตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืชของสินค้าส่งมอบ หรือรุ่นสินค้าต่ า งๆ จะเลื อ กหน่ ว ยของ
สินค้าจากสินค้าส่งมอบ หรือรุ่นสินค้า โดยไม่ต้องทดแทนหน่วยของสินค้าที่ได้เลือกมา1/ อาจเลือกใช้วิธีก าร
ชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ หรือไม่มีพื้นฐานทางสถิติ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
การชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ หรือ การชักตัวอย่างด้วยวิธีการแบบมีเป้าหมาย ได้รับการออกแบบเพื่ อ
อานวยความสะดวกในการตรวจพบศัตรูพืชควบคุม ในสินค้าส่งมอบ และ/หรือ รุ่นสินค้า
5.3.1 การชักตัวอย่างที่มีพื้ นฐานทางสถิติ
วิธีการชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ เกี่ยวข้องกับการก าหนดจ านวนตั ว วั ด ต่ า งๆ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น
และการเลือกวิธีการชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติที่เหมาะสมที่สุดด้วย
5.3.1.1 ตัววัด (parameters) และแนวคิดที่เกี่ย วข้อง
การชักตัวอย่างที่มีพื้นฐานทางสถิติ ได้รับการออกแบบเพื่อตรวจหาเปอร์ เ ซ็ น ต์ ห รื อ สั ด ส่ ว นที่ แน่ น อนของ
การลงทาลายของศัตรูพืชที่ระดับความเชื่อมั่นหนึ่ง โดยก าหนดตั ว วั ด ต่ า งๆ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ได้ แก่
จานวนการยอมรับ (acceptance number) ระดับของการตรวจพบ (level of detection) ระดั บความเชื่ อ มั่ น
(confidence level) ประสิทธิผลของการตรวจพบ (efficacy of detection) และขนาดตัวอย่าง (sample size)

1/
การชักตัวอย่างโดยไม่มีการทดแทน เป็นการเลือกหน่วยสินค้าจากสินค้าส่งมอบหรือรุ่นสินค้า โดยไม่มีการทดแทนหน่ ว ยสิ น ค้ า นั้ น ก่ อ นการ
เลือกหน่วยสินค้าถัดไป การชักตัวอย่างโดยไม่มีการทดแทน มิ ไ ด้ ห มายความว่ า สิ่ ง ที่ ถู ก เลื อ กออกมาไม่ ส ามารถน ากลั บ ไปรวมใน สิ น ค้ า
ส่งมอบได้ (ยกเว้นกรณีของการชักตัวอย่างแบบทาลายสินค้า ) แต่จะหมายความว่า ผู้ตรวจสอบไม่ ค วรน าหน่ ว ยสิ น ค้ า กลั บ ไปรวมในสิ น ค้ า
ที่ส่งมอบ ก่อนการชักตัวอย่างในส่วนที่เหลือ
5 มกษ. 9036-2555

และอาจกาหนดระดับการทนรับได้ (tolerance level) ส าหรั บศั ต รู พืช บางชนิ ด (ตั ว อย่ า งเช่ น ศั ต รู พืช ที่
ไม่ใช่ศัตรูพืชกักกันที่ต้องมีการควบคุม)
5.3.1.1.1 จานวนการยอมรับ (acceptance number)
จานวนการยอมรับ คือ จานวนของหน่วยสินค้าที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช หรื อ จ านวนตั ว ของศั ต รู พืช
ต่างๆ ที่ยอมให้ มี ไ ด้ ใ นตั ว อย่ า ง ตามขนาดที่ ก าหนดก่ อ นจะด าเนิ น การด้ า นสุ ข อนามั ย พื ช ส่ ว นใหญ่
กาหนดให้จานวนนี้เป็นศูนย์ (0) สาหรับศัตรูพืชกักกัน ตัวอย่างเช่น ถ้ า จ านวนการยอมรั บเป็ น ศู น ย์ และ
ตรวจพบหน่วยสินค้าที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชในตัวอย่างจึงจะดาเนินการด้านสุ ข อนามั ย พื ช นั บว่ า เป็ น
สิ่งสาคัญในการตระหนักว่า จานวนการยอมรับที่เป็นศูนย์ของตัวอย่างใดตัวอย่างหนึ่ง ไม่ มี นั ย ว่ า ระดั บการ
ทนรับได้ของสินค้าส่งมอบทั้งหมดนั้นเป็นศูนย์ ถึงแม้ว่าจะตรวจไม่พบศัตรูพืชในตัวอย่ า ง แต่ ยั ง คงมี ค วาม
เป็นไปได้ว่าอาจมีศัตรูพืชอยู่ในส่วนที่เหลืออยู่ของสินค้าส่งมอบนั้น แม้จะอยู่ในระดับที่ต่ามากก็ตาม
จานวนการยอมรับจะสัมพันธ์กับตัวอย่าง จานวนการยอมรั บเป็ น จ านวนของหน่ ว ยสิ น ค้ า ที่ มี ศั ต รู พืช ลง
ทาลาย หรือจานวนตัวของศัตรูพืชต่างๆ ที่ยอมให้มีได้ในตัวอย่าง ในขณะที่ ร ะดั บการทนรั บได้ (ดู หั ว ข้ อ
5.3.1.1.6) เป็นการอ้างอิงถึงสถานภาพของสินค้าส่งมอบทั้งหมด
5.3.1.1.2 ระดับของการตรวจพบ (level of detection)
ระดับของการตรวจพบ คือ เปอร์เซ็นต์หรือสัดส่วนของการลงทาลายของศั ต รู พืช ที่ น้ อ ยที่ สุ ด ซึ่ ง วิ ธี ก ารชั ก
ตัวอย่างจะตรวจพบที่ระดับเฉพาะของประสิทธิผลในการตรวจพบและระดั บความเชื่ อ มั่ น และเป็ น สิ่ ง ที่ มี
เป้าหมายที่จะตรวจหาในสินค้าส่งมอบ
ระดับของการตรวจพบอาจระบุสาหรั บศั ต รู พืช แต่ ล ะชนิ ด กลุ่ ม หรื อ ประเภทของศั ต รู พืช หรื อ ส าหรั บ
ศัตรูพืชที่ไม่ได้ระบุไว้โดยเฉพาะ ระดับของการตรวจพบอาจได้มาจาก
- การตัดสินใจบนพื้นฐานของการวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืช ที่จะตรวจพบการลงท าลายของศั ต รู พืช ใน
ระดับที่ได้ระบุไว้ (การลงทาลายของศัตรูพืชที่กาหนดขึ้นจะแสดงถึงความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ )
- การประเมินประสิทธิภาพของมาตรการสุขอนามัยพืชที่ใช้ก่อนการตรวจสอบ
- การตัดสินใจบนพื้นฐานของการปฏิบัติงานเมื่อการตรวจสอบที่เข้มงวดกว่า ระดั บที่ ก าหนดแน่ น อนแล้ ว
ไม่สามารถที่จะปฏิบัติได้
5.3.1.1.3 ระดับความเชื่อมั่น (confidence level)
ระดับความเชื่อมั่น บ่งชี้ความน่าจะเป็นไปได้ของสินค้าส่งมอบที่จะมีการลงทาลายของศัตรูพืชเกินกว่ า ระดั บ
ของการตรวจที่จะตรวจพบได้ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% เป็นระดับที่ใช้กันโดยทั่วไป อาจเลือกกาหนดระดับ
ความเชื่อมั่นที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการใช้สินค้านั้น ตัวอย่างเช่น อาจกาหนดระดับความ
เชื่อมั่นสาหรับการตรวจสินค้าสาหรับการเพาะปลูก ให้สูงกว่าในสิ น ค้ า ส าหรั บการบริ โภค และระดั บความ
เชื่อมั่นอาจเปลี่ยนไปตามความเข้ ม แข็ ง ของมาตรการสุ ข อนามั ย พื ช ต่ า งๆที่ ประยุ ก ต์ ใ ช้ และหลั ก ฐาน
ในอดีตที่แสดงถึงการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยพืช ระดับความเชื่ อ มั่ น ที่ สู ง มากจะท า
ให้การประเมินค่าอย่างรวดเร็วปฏิบัติได้ยาก และการประเมินค่าที่ต่ ากว่ า ลงมาจะไม่ มี ค วามหมายต่ อ การ
ตัดสินใจ ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% หมายถึง ข้อสรุ ปที่ ไ ด้ รั บจากผลการชั ก ตั ว อย่ า งในการตรวจสิ น ค้ า
มกษ. 9036-2555 6

ที่ส่งมอบที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยพืช โดยเฉลี่ย 95 ครั้ง จากการชักตัวอย่าง 100 ครั้ง และ


ดังนั้นอาจยอมรับได้ว่า โดยเฉลี่ย 5% ของสินค้าส่งมอบที่ไม่เป็นไปตามข้อกาหนด ทีจ่ ะตรวจไม่พบ
5.3.1.1.4 ประสิทธิผลของการตรวจพบ (efficacy of detection)
ประสิ ทธิ ผลของการตรวจพบเป็ นความน่ า จะเป็ นไปได้ ที่ จะตรวจพบศั ตรู พืชจากการตรวจสอบหรื อทดสอบ
หน่ วยสิ นค้ าที่ มี ก ารลงท าลายของศั ตรู พืช โดยทั่ วไปประสิ ทธิ ผลของการตรวจพบไม่ ควรสั นนิ ษฐานให้ เป็ น
100% เนื่องจากสาเหตุ เช่น ศัตรูพืชอาจตรวจพบโดยสายตาได้ ยาก พื ชอาจไม่ แสดงอาการของโรค (การติ ดเชื้ อ
ที่แฝงอยู่) หรือประสิ ท ธิ ผ ลอาจลดลงเนื่ อ งจากความผิ ด พลาดของมนุ ษย์ และเป็ น ไปได้ ที่ จ ะรวมถึ ง
ค่าประสิทธิผลที่ต่ากว่า (ตัวอย่างเช่น โอกาส 80% ที่จะตรวจพบศัตรู พืช นั้ น เมื่ อ หน่ ว ยสิ น ค้ า ที่ มี ศั ต รู พืช
ลงทาลายมีการตรวจสอบ) ในการกาหนดขนาดของตัวอย่าง
5.3.1.1.5 ขนาดตัวอย่าง (sample size)
ขนาดตัวอย่าง คือ จานวนของหน่วยสินค้าที่ถูกเลือกมาจากรุ่ นสิ นค้ าหรื อสิ นค้ าส่ งมอบ เพื่ อน ามาตรวจสอบหรื อ
ทดสอบ คาแนะนาสาหรับกาหนดขนาดตัวอย่าง รายละเอียดตามข้อ 5
5.3.1.1.6 ระดับการทนรับได้ (tolerance level)
ระดับการทนรับได้ หมายถึง เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องการลงท าลายของศั ต รู พืช ในสิ น ค้ า ส่ ง มอบหรื อ รุ่ น สิ น ค้ า
ทั้งหมด สาหรับการดาเนินการด้านสุขอนามัยพืช
ระดับการทนรับได้อาจกาหนดขึ้ น ส าหรั บศั ต รู พืช ที่ ไ ม่ ใ ช่ ศั ต รู พืช กั ก กั น ที่ ต้ อ งมี ก ารควบคุ ม (ตามที่ ไ ด้
อธิบายไว้ใน ISPM No. 21: การวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพืชสาหรับศัตรูพืชที่ไ ม่ ใ ช่ ศั ต รู พืช กั ก กั น ที่ ต้ อ งมี
การควบคุม หัวข้อ 4.4) และอาจกาหนดระดับการทนรับได้สาหรับเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกั บข้ อ ก าหนด
การนาเข้าด้านสุขอนามัยพืชอื่นๆ ด้วย (ตัวอย่างเช่น เปลือกไม้บนเนื้อไม้ หรือ ดินที่ติดมากับรากพืช)
โดยส่วนใหญ่กาหนดระดับการทนรับได้เท่ากับศูนย์(0) สาหรับศัตรูพืชกักกัน โดยพิจารณาถึงความเป็นไปได้
ของการมีศัตรูพืชในหน่วยสินค้าที่ไม่ใช่ตัว อย่ า ง ตามที่ ไ ด้ อ ธิ บายไว้ ใ นหั ว ข้ อ 5.3.1.1.1 อย่ า งไรก็ ต าม
อาจตัดสินใจกาหนดระดับการทนรับได้สาหรับศัตรูพืชกักกันชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์
ความเสี่ยงศัตรูพืช (ตามที่ได้อธิบายไว้ใน ISPM No.11: การวิเคราะห์ความเสี่ ย งศั ต รู พืช ส าหรั บศั ต รู พืช
กักกัน รวมถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หัวข้อ 3.4.1) แล้วจึง
กาหนดอัตราการชักตัวอย่างจากระดับนี้ได้ ตัวอย่างเช่ น อาจก าหนดระดั บการทนรั บได้ ที่ ม ากกว่ า ศู น ย์
เพราะว่าจานวนเล็กน้อยของศัตรูพืชกักกันชนิดนั้นอาจสามารถยอมรับได้ ถ้าศักยภาพในการตั้ง รกรากของ
ศัตรูพืชชนิดนั้นอยู่ในระดับต่า หรือ จุดมุ่งหมายของการใช้สินค้านั้น (ตัวอย่างเช่น ผลไม้และผักสดที่นาเข้ามา
สาหรับการแปรรูป) สามารถจากัดศัก ยภาพของการเข้ามาของศัตรูพืชในพื้นที่ที่อยู่ในอันตราย
7 มกษ. 9036-2555

5.3.1.2 ความเชื่อมโยงระหว่างตัววัดและระดับการทนรับได้
ตัววัดต่างๆ ทั้งห้าตัว ได้แก่ จานวนการยอมรับ ระดับของการตรวจพบ ระดั บความเชื่ อ มั่ น ประสิ ท ธิ ผ ล
ของการตรวจพบและขนาดตัวอย่าง มีความเกี่ยวข้ อ งกั น ทาง สถิ ติ การพิ จ ารณาระดั บการทนรั บได้ ที่ ตั้ ง
ขึ้นมา ควรกาหนดประสิทธิผลของวิธีการตรวจพบ ที่จะถูกนามาที่ใช้และตั ด สิ น ใจตามจ านวนการยอมรั บ
ในตัวอย่างนั้น ตัววัดสองตัวจากสามตัวที่เหลือสามารถเลือกมาใช้ได้เช่นกัน และตั ว วั ด ที่ เ หลื อ จะตั ด สิ น ใจ
จากค่าต่างๆ ที่เลือกมาสาหรับตัววัดที่เหลือนั้น
ถ้ากาหนดให้ระดับการทนรับได้มีค่ามากกว่าศูนย์ ระดับของการตรวจพบที่เลือกมาควรมี ค่ า เท่ า กั น (หรื อ
น้อยกว่า ถ้าจานวนการยอมรับมากกว่าศูนย์) เพื่อให้แน่ใจว่ า สิ น ค้ า ส่ ง มอบนั้ น มี ร ะดั บการลงท าลายของ
ศัตรูพืชมากกว่าระดับการทนรับได้ที่จะตรวจพบได้ด้วยระดับความเชื่อมั่นที่ระบุไว้
ถ้าไม่มีศัตรูพืชถูกตรวจพบในหน่วยตัวอย่าง ไม่อาจกล่าวเกินความจริ ง ที่ ว่ า เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารลงท าลายของ
ศัตรูพืชในสินค้าส่งมอบ ต่ากว่าระดับของการตรวจพบที่ระดับความเชื่อมั่นที่ได้กาหนดไว้ ถ้ า ศั ต รู พืช ไม่ ถู ก
ตรวจพบจากขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมแล้ว ระดับความเชื่อมั่นนั้นให้ค วามน่ า จะเป็ น ไปได้ ว่ า ผลการตรวจ
ไม่เกินระดับการทนรับได้
5.3.1.3 วิธีการชักตัวอย่างที่มีพื้ นฐานทางสถิติ
5.3.1.3.1 การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling)
การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายเป็นผลให้หน่วยตัวอย่างทั้งหมดมีความน่าจะเป็นเท่ากันในการถู ก เลื อ กมา
จากรุ่นสินค้าหรือสินค้าส่งมอบ การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายเกี่ยวข้ อ งกั บการชั ก หน่ ว ยตั ว อย่ า งต่ า งๆ
โดยปฏิบัติตามเครื่องมือ เช่น ตารางสุ่ม การใช้กระบวนการชักตัวอย่างที่ได้ ก าหนดล่ ว งหน้ า เป็ น สิ่ ง ที่ แยก
วิธีการชักตัวอย่างแบบนี้ออกมาจากการชักตัวอย่างแบบบังเอิญ (อธิบายไว้ในหัวข้อ 5.3.2.2)
วิธีการนี้จะนามาใช้เมื่อทราบเพียงเล็กน้อยเกี่ยวกับการแพร่กระจายของศัตรูพืช หรือ อัตราการลงทาลายของ
ศัตรูพืช การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายจะนาไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องได้ยากเพราะแต่ละหน่วยสินค้าควรมี
ความน่าจะเป็ น ไปได้ ที่ เ ท่ า กั น ของการเลื อ ก ในกรณี ที่ ศั ต รู พืช ไม่ มี ก ารแพร่ ก ระจายแบบสุ่ ม (random
distribution) ทั่วรุ่นสินค้า วิธีการนี้อาจไม่เหมาะสม การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายอาจต้องใช้ทรัพยากรที่
มากกว่าวิธีการชักตัวอย่างแบบอื่นๆ และการประยุกต์ใช้ขึ้นอยู่กับประเภท และ/หรือรูปแบบของสินค้าส่งมอบ
5.3.1.3.2 การชักตัวอย่างแบบเป็นระบบ (systematic sampling)
การชักตัวอย่างแบบเป็นระบบ เกี่ยวข้องกับการชักตัวอย่างจากหน่วยต่างๆ ในรุ่ น สิ น ค้ า ตามช่ ว งระยะการ
ชักตัวอย่างที่กาหนดไว้ก่อน อย่างไรก็ตามการเลือกหน่วยตัวอย่างแรกต้องชักตัวอย่า งแบบไม่ เ จาะจงจาก
รุ่นสินค้า ผลที่คลาดเคลื่อนจากความลาเอีย งอาจเป็ น ไปได้ ถ้ า ศั ต รู พืช ต่ า งๆ แพร่ ก ระจายในรู ปแบบที่
คล้ายคลึงกับช่วงการชักตัวอย่างที่เลือก
ข้อได้เปรียบสองข้อของวิธีการนี้ คื อ กระบวนการชั ก ตั ว อย่ า งนี้ อ าจท าให้ เ ป็ น อั ต โนมั ติ ไ ด้ โดยการใช้
เครื่องจักรกล และวิธีการนี้ต้องใช้กระบวนการสุ่มเพื่อเลือกหน่วยตัวอย่างแรกสุดเท่านั้น
มกษ. 9036-2555 8

5.3.1.3.3 การชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (stratified sampling)


การชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เกี่ยวข้องกับการแยกรุ่นสินค้าออกเป็นส่วนย่อยต่างๆ (ชั้ น ต่ า งๆ) แล้ ว จึ ง ชั ก
หน่วยตัวอย่างมาจากแต่ละส่วนย่อยทุกๆ ส่วนย่อย ในแต่ละส่วนย่อยหน่วยตัวอย่างต่างๆ จะถู ก ชั ก มาโดย
ใช้วิธีการเฉพาะ(แบบเป็นระบบหรือสุ่มอย่างง่าย) ภายใต้สถานการณ์แวดล้อ มบางอย่ า งจ านวนตั ว อย่ า งที่
ชักมาจากแต่ละส่วนย่อยอาจแตกต่างกันได้ เป็นต้นว่า จานวนของหน่วยตัวอย่างอาจเป็ น สั ด ส่ ว นกั บขนาด
ของส่วนย่อยนั้น หรืออยู่บนพื้นฐานของความรู้เกี่ยวกับการลงทาลายของศัตรูพืชในส่วนย่อยนั้นๆ
ถ้าหากปฏิบัติได้จริงทั้งหมด การชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจะมีความแม่นยาของการตรวจพบดีขึ้นเกือบทุกครั้ง
ความผันแปรที่น้อยลงเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ของการชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้นที่ให้ ผ ลแม่ น ย ากว่ า ซึ่ ง เป็ น จริ ง
ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อระดับการลงทาลายของศัตรูพืชอาจผันแปรทั่วทั้ง รุ่นสินค้าทีข่ ึ้นอยู่ กั บวิ ธี ก ารบรรจุ
หีบห่อหรือสภาพการเก็บรักษา การชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้นเป็นตัวเลือกที่ถูกให้ความสาคัญเป็ น อั น ดั บแรก
เมื่อความรู้เกี่ยวกับการแพร่กระจายของศัตรูพืชมีการสันนิษฐานได้ และการพิจารณาการปฏิ บัติ ต่ า งๆ เปิ ด
โอกาสให้ทาได้
5.3.1.3.4 การชักตัวอย่างแบบต่อเนื่องกัน (sequential sampling)
การชักตัวอย่างแบบต่อเนื่องกัน เกี่ยวข้องกับการชักหน่วยตัวอย่างต่อเนื่องกันจานวนหนึ่ ง โดยใช้ วิ ธี ใ ดวิ ธี
หนึ่งทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น หลังจากแต่ละตัวอย่าง(หรือกลุ่ม)ถูกชักออกมา ข้ อ มู ล จะถู ก เก็ บรวบรวมและ
เปรียบเทียบกับพิสัยที่ได้กาหนดแล้ว เพื่อที่จะตัดสินใจยอมรับสินค้าส่งมอบ หรือไม่รับสิ น ค้ า ส่ ง มอบ หรื อ
ต้องชักตัวอย่างต่อไปอีก
วิธีการนี้สามารถนามาใช้ได้เมื่อกาหนดระดับการทนรับได้มากกว่าศูนย์ และหน่วยตัวอย่างชุดแรกไม่สามารถ
ให้ข้อมูลเพียงพอที่จะตัดสินใจได้ว่ามีค่าเกินกว่าระดับการทนรับได้หรือไม่ วิธีการนี้จะไม่นาไปใช้ ถ้าจ านวน
การยอมรับในตัวอย่างที่มีขนาดใดก็ตามเป็นศูนย์ การชักตัวอย่างแบบต่อเนื่องกันอาจช่วยลดจานวนตัวอย่าง
ทีต่ ้องใช้สาหรับการตัดสินใจ หรือ ช่วยลดความเป็นไปได้ของการไม่รับสินค้าส่งมอบที่มีการปฏิบัติตาม
5.3.1.3.5 การชักตัวอย่างแบบเป็นกลุ่ม (cluster sampling)
การชักตัวอย่างแบบเป็ น กลุ่ ม เกี่ ย วข้ อ งกั บการเลื อ กกลุ่ ม ของหน่ ว ยต่ า งๆ ขึ้ น อยู่ กั บขนาดของกลุ่ ม
(ตัวอย่างเช่น ผลไม้เ ป็นกล่อง ดอกไม้เป็นช่อ ) ที่จะจัดไว้ด้วยกันของจานวนทั้ ง หมดของหน่ ว ยตั ว อย่ า งที่
ต้องการจากรุ่ น สิ น ค้ า ถ้ า กลุ่ ม ต่ า งๆมี ข นาดเท่ า กั น การชั ก ตั ว อย่ า งแบบเป็ น กลุ่ ม จะง่ า ยกว่ า ในการ
ประเมินผลและเป็นที่เชื่อถือได้ดีกว่า วิธีการนี้เป็นประโยชน์ถ้าทรัพยากรต่ า งๆในการชั ก ตั ว อย่ า งมี จ ากั ด
และจะใช้ได้ดีเมื่อการกระจายของศัตรูพืชต่างๆ คาดว่าเป็นแบบสุ่ม
การชักตัวอย่างแบบเป็นกลุ่มอาจเป็นแบบแบ่งชั้น และสามารถใช้ วิ ธี ก ารชั ก ตั ว อย่ า งแบบเป็ น ระบบ หรื อ
วิธีการชักตัวอย่างวิธีใดวิธีหนึ่งก็ได้ในการเลือกกลุ่มต่างๆ ในบรรดาการชั ก ตั ว อย่ า งที่ มี พื้น ฐานทางสถิ ติ
วิธีการนี้เป็นวิธีที่นาไปใช้ดาเนินการในทางปฏิบัติโดยบ่อยครั้งที่สุด
9 มกษ. 9036-2555

5.3.1.3.6 การชักตัวอย่างแบบสัดส่วนที่กาหนดคงที่ (fixed proportion sampling)


การชักตัวอย่างตามสัดส่วนหนึ่งที่กาหนดคงที่ของหน่วยต่างๆ ในรุ่นสินค้า (เช่น 2%) เป็นผลให้เ กิ ด ระดั บ
ของการตรวจพบ หรือระดับความเชื่อมั่นที่ไม่คงเส้นคงวา (inconsistency) เมื่อขนาดของรุ่ น สิ น ค้ า ผั น แปร
ต่างกันออกไป ตามที่แสดงไว้ในภาคผนวก จ การชักตัวอย่า งแบบสั ด ส่ ว นที่ ก าหนดคงที่ มี ผ ลให้ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงระดับความเชื่อมั่นต่างๆ สาหรับระดับของการตรวจพบที่กาหนดไว้ ห รื อ ในการเปลี่ ย นแปลง
ระดับของการตรวจพบต่างๆ สาหรับระดับความเชื่อมั่นที่กาหนดไว้ระดับหนึ่ง
5.3.2 การชักตัวอย่างที่ไม่มีพื้ นฐานทางสถิติ
วิธีการชักตัวอย่างอื่นๆ ที่ไม่มีพื้นฐานทางสถิติ เช่น การชักตัวอย่างแบบตามความสะดวก การชั ก ตั ว อย่ า ง
แบบบังเอิญ หรือการชักตัวอย่างแบบเลือกเฉพาะอย่า งหรื อ แบบมี เ ป้ า หมาย อาจท าให้ ไ ด้ ผ ลต่ า งๆ ที่ มี
เหตุผลยอมรับได้ในการระบุว่ามีหรือไม่มีปรากฏของศัต รู พืช ควบคุ ม วิ ธี ก ารต่ า งๆ ต่ อ ไปนี้ อ าจน ามาใช้
บนพื้นฐานของการพิจารณาทางด้านการปฏิบัติเฉพาะเรื่อง หรือเมื่อมีเป้าหมายเพื่อ ตรวจพบศั ต รู พืช เพี ย ง
อย่างเดียว

5.3.2.1 การชักตัวอย่างแบบตามความสะดวก (convenience sampling)


การชักตัวอย่างแบบตามความสะดวก เกี่ยวข้องกับการคัดเลื อ กหน่ ว ยต่ า งๆ จาก รุ่ น สิ น ค้ า ที่ ส ะดวกที่ สุ ด
(ตัวอย่างเช่น สามารถเข้าถึงได้ ค่าใช้จ่ายต่าสุด เร็วที่สุด) โดยไม่มีการคัดเลือกหน่วยต่างๆ ด้ ว ยวิ ธี ก ารชั ก
ตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย หรือแบบเป็นระบบ
5.3.2.2 การชักตัวอย่างแบบบังเอิญ (haphazard sampling)
การชักตัว อย่ า งแบบบั ง เอิ ญ เกี่ ย วข้ อ งกั บการคั ด เลื อ กตั ว อย่ า งโดยไม่ มี ก ฎเกณฑ์ ปราศจากการใช้
กระบวนการชักตัวอย่างที่แท้จริง วิธีการนี้อาจเสมือนว่าเป็นการสุ่ม เนื่องจากผู้ ต รวจสอบไม่ รู้ สึ ก ถึ ง ความ
ลาเอียงในการคัดเลือกแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามความลาเอียงที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้สึกตัวนี้อาจเกิดขึ้นได้ ท าให้
ไม่สามารถทราบระดับของศัตรูพืชที่ตรวจพบในตัวอย่างซึ่งเป็นตัวแทนของรุ่นสินค้านั้น

5.3.2.3 การชักตัวอย่างแบบเลือกเฉพาะอย่างหรือแบบมีเป้าหมาย (selective or targeted sampling)


การชักตัวอย่างแบบเลือกเฉพาะอย่าง เกี่ยวข้องกับการคั ด เลื อ กตั ว อย่ า งจากส่ ว นต่ า งๆ ของ รุ่ น สิ น ค้ า ที่
เป็นไปได้สูงสุดว่ามีการลงทาลายของศัตรูพืช หรือหน่วยต่างๆ ที่มีการลงท าลายของศั ต รู พืช อย่ า งชั ด เจน
เพื่อที่ จ ะเพิ่ ม โอกาสของการตรวจพบศั ต รู พืช ควบคุ ม เฉพาะ วิ ธี ก ารนี้ อ าจขึ้ น อยู่ กั บผู้ ตรวจสอบที่ มี
ประสบการณ์กับสินค้าและมีความคุ้นเคยกับชีววิทยาของศั ต รู พืช นั้ น การใช้ วิ ธี ก ารนี้ อ าจเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการ
วิเคราะห์เส้นทางผ่านของศัตรูพืชที่ได้ระบุส่วนเฉพาะของรุ่นสิ น ค้ า ที่ มี ค วามเป็ น ไปได้ ที่ สู ง ที่ จ ะพบการลง
ทาลายของศัตรูพืช (ตัวอย่าง เช่น ส่วนของท่อนไม้ที่เปียก อาจเป็นไปได้ที่จะเป็นที่พักพิงของไส้เดือนฝอย)
เพราะว่าตัวอย่างเป็นแบบมีเป้าหมายจึงมีความลาเอียงทางสถิติ ดังนั้นการระบุเกี่ยวกับความน่าจะเป็ น ไปได้
ของระดับการลงทาลายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้านั้นไม่สามารถที่จะทาได้ อย่างไรก็ ต ามถ้ า วั ต ถุ ประสงค์ ข อง
การชักตัวอย่างเป็นเพียงการเพิ่มโอกาสที่จะพบศัตรูพืช วิธีการนี้ถือว่ามีเหตุผลที่จะนามาใช้ไ ด้ ตัวอย่า งของ
สินค้าที่แยกออกมาอาจกาหนดให้ปฏิบัติตามความเชื่อมั่นทั่วไปในการตรวจพบศั ต รู พืช ควบคุ ม อื่ น ๆด้ ว ย
มกษ. 9036-2555 10

การใช้วิธีการชักตัวอย่างแบบเลือกเฉพาะอย่างหรือแบบมีเป้าหมาย อาจจ ากั ด โอกาสต่ า งๆ ที่ จ ะได้ ม าซึ่ ง


ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของศัตรูพืชโดยรวมของรุ่นสินค้าหรือสินค้าส่งมอบนั้น เพราะการชักตัวอย่างแบบนี้
มุ่งจุดสนใจในที่ซึ่งมีแนวโน้มที่จะพบศัตรูพืชควบคุมได้ ไม่สนใจในส่วนที่ เ ห ลื อ ของรุ่ น สิ น ค้ า หรื อ สิ น ค้ า ส่ ง
มอบนั้น

5.4 การเลือกวิธีการชักตัวอย่าง

ในกรณีส่วนใหญ่ การเลือกวิธีการชักตัวอย่างที่เหมาะสมวิธีใดวิธีหนึ่งนั้น โดยความจ าเป็ น ขึ้ น อยู่ กั บข้ อ มู ล


ที่มีอยู่เกี่ยวกับการบังเกิดและแพร่กระจายของศัตรูพืชในสินค้าส่งมอบหรือรุ่นสินค้า ตลอดจนตั ว วั ด ในการ
ปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องสัมพั น ธ์ กั น กั บสถานการณ์ ก ารตรวจสอบที่ เ ป็ น ปั ญหา ในการประยุ ก ต์ ใ ช้ ด้ า น
สุขอนามัยพืชส่วนมาก ข้อจากัดต่างๆในการปฏิ บัติ ง านจะบั ง คั บการปฏิ บัติ ไ ด้ ข องการ ชั ก ตั ว อย่ า งโดย
วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง การค้นหาเหตุผลที่เป็นไปได้ทางสถิติของวิธีก ารที่ปฏิบัติได้จะทาให้ทางเลื อ กต่ า งๆ
แคบลง
วิธีการชักตัวอย่างควรนาไปใช้ในทางปฏิบัติได้และเหมาะสมที่สุดเพื่อ ให้ บรรลุ ถึ ง วั ต ถุ ประสงค์ และมี ก าร
จัดทาเป็นเอกสารไว้เพื่อความโปร่งใส การนาไปใช้ได้ในทางปฏิบัติจะถูกเชื่อมโยงอย่ า งชั ด เจนกั บดุ ล พิ นิ จ
ที่เกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ที่มีความเฉพาะเจาะจงกับสถานการณ์ แต่ควรนามาใช้อย่างคงเส้นคงวาด้วย
ถ้าการชักตัวอย่างเป็นการดาเนินการเพื่อเพิ่มโอกาสของการตรวจพบศัตรูพืชเฉพาะ การชั ก ตั ว อย่ า งแบบ
เลือกเฉพาะอย่างหรือแบบมีเป้าหมาย (อธิบายไว้ในหัวข้อ 5.3.2.3) อาจเป็ น ทางเลื อ กที่ ใ ห้ ค วามส าคั ญ
มากกว่าตราบใดที่ผู้ตรวจสอบสามารถระบุส่วนต่างๆ ของรุ่นสินค้านั้นได้ว่ามีความน่ า จะเป็ น ไปได้ ที่ สู ง กว่ า
ของการลงทาลายของศัตรูพืช ถ้าไม่มีความรู้นี้วิธีการที่มีพื้นฐานทางสถิติอื่นๆจะมีความเหมาะสมมากกว่า
วิธีการชักตัวอย่างที่ไม่มีพื้นฐานทางสถิติ จะไม่ทาให้แต่ละหน่วยมีความน่าจะเป็นไปได้เท่ า กั น ที่ จ ะถู ก เลื อ ก
มาเป็นตัวอย่าง และจะไม่สามารถระบุระดับความเชื่อมั่นหรือระดับการตรวจพบได้
วิธีการชักตัวอย่างต่างๆ ที่มีพื้นฐานทางสถิติจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมถ้ า การชั ก ตั ว อย่ า งมี ก ารด าเนิ น การ
เพื่อที่จะได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับสภาพสุขอนามัยพืชโดยทั่วไปของสินค้าส่งมอบ เพื่อตรวจหาศั ต รู พืช กั ก กั น
หลายประเภท หรือ เพื่อพิสูจน์ยืนยันการปฏิบัติตามข้อกาหนดสุขอนามัยพืช
ในการคัดเลือกวิธีการที่มีพื้นฐานทางสถิติ อาจพิ จ ารณาด้ ว ยว่ า สิ น ค้ า ส่ ง มอบนั้ น ได้ มี ก ารก าจั ด ศั ต รู พืช
อย่างใดบ้างในขั้นตอนการเก็บเกี่ยว การคัดแยกและการบรรจุหีบห่อ และการแพร่ ก ระจายของศั ต รู พืช ที่
เป็นไปได้ในรุ่นสินค้า วิธีการชักตัว อย่ า งต่ า งๆอาจน ามารวมกั น ได้ เป็ น ต้ น ว่ า ตั ว อย่ า งที่ ไ ด้ จ ากการชั ก
ตัวอย่างแบบแบ่งชั้นอาจคัดเลือกหน่วยตัวอย่างต่างๆ (หรือ กลุ่ ม ต่ า งๆ) โดยใช้ ก ารชั ก ตั ว อย่ า งแบบสุ่ ม
อย่างง่ายหรือการชักตัวอย่างแบบเป็นระบบภายในชั้นตัวอย่างต่างๆนั้น
ถ้าการชักตัวอย่างดาเนินการเพื่อที่จะระบุว่ามีการตรวจพบสู ง เกิ น กว่ า ระดั บการทนรั บได้ ซึ่ ง ไม่ เ ป็ น ศู น ย์
ตามที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ วิธีการชักตัวอย่างแบบต่อเนื่องกันอาจมีความเหมาะสมมากกว่า
11 มกษ. 9036-2555

เมื่อเลือกวิธีการชักตัวอย่างและนามาใช้อย่างถูกต้ อ งแล้ ว การชั ก ตั ว อย่ า งซ้ าอี ก เพื่ อ เป้ า หมายให้ ไ ด้ ผ ล


แตกต่างกันนั้นไม่สามารถยอมรับได้ การชักตัวอย่างไม่ควรทาซ้าอีก เว้นแต่ถ้ามีการพิ จ ารณาว่ า จ าเป็ น โดย
เหตุผลทางวิชาการ (ตัวอย่างเช่น เกิดข้อสงสัยในวิธีดาเนินงานชักตัวอย่างที่นามาใช้อย่างไม่ถูกต้อง)

5.5 การกาหนดขนาดตัวอย่าง (sample size determination)

เพื่อที่จะกาหนดขนาดตัวอย่างที่ต้องใช้ ควรเลือกระดับความเชื่อมั่นขึ้นมาระดับหนึ่ง (ตัวอย่ า งเช่ น 95%)


ระดับของการตรวจพบ (ตัวอย่า งเช่ น 5%) และจ านวนการยอมรั บ (เช่ น เท่ า กั บศู น ย์ ) และก าหนด
ประสิทธิผลการตรวจพบ (ตัวอย่างเช่น 80%) จากค่าต่างๆ เหล่านี้และขนาดของรุ่ น สิ น ค้ า สามารถที่ จ ะ
นามาคานวณขนาดตัวอย่างได้ ภาคผนวก ข ถึง ภาคผนวก จ แสดงให้เห็นพื้นฐานทางคณิ ต ศาสตร์ ส าหรั บ
การกาหนดขนาดตัวอย่าง หัวข้อ 5.3.1.3 ของมาตรฐานฉบับนี้ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับวิธีการชักตั ว อย่ า งที่ มี
พื้นฐานทางสถิติที่เหมาะสม เมื่อพิจารณาการแพร่กระจายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้านั้น

5.5.1 กรณีไม่ทราบการแพร่กระจายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้า
เพราะว่าการชักตัวอย่างทาโดยไม่ มี ก ารทดแทนและขนาดของประชากรมี เ ขตจ ากั ด การกระจายแบบ
ไฮเปอร์จีโอเมตริก (hypergeometric) ควรนามาใช้กาหนดขนาดตั ว อย่ า ง การกระจายแบบนี้ เ ป็ น การให้
ความน่าจะเป็นไปได้ของการตรวจพบจานวนที่แน่น อนของหน่ ว ยสิ น ค้ า ที่ มี ก าร ลงท าลายของศั ต รู พืช ใน
ตัวอย่างหนึ่งของขนาดที่กาหนดให้ทชี่ ักจากรุ่นสินค้าหนึ่งที่มีขนาดที่กาหนดให้ เมื่ อ จ านวนเฉพาะจ านวน
หนึ่งของหน่วยสินค้าที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชอยู่ในรุ่ น สิ น ค้ า นั้ น (ดู ภ าคผนวก ข) จ านวนของหน่ ว ย
สินค้าที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้าถูกคาดคะเน ให้เป็นระดับของการตรวจพบคู ณด้ ว ยจ านวน
ของหน่วยทั้งหมดในรุ่นสินค้านั้น
เมื่อขนาดรุ่นสินค้าเพิ่มขึ้น ขนาดของตัวอย่างที่กาหนดเฉพาะต่ อ ระดั บของการตรวจพบและระดั บความ
เชื่อมั่นจะเข้าใกล้ขีดจากัดบน เมื่อขนาดตัวอย่างน้อยกว่า 5% ของขนาดรุ่นสินค้า ขนาดของตัวอย่างสามารถ
คานวณได้โดยใช้การกระจายแบบไบโนเมียล (Binomial distribution) หรือแบบปัวซอง (Poisson distribution)
(ดูภาคผนวก ค) การกระจายทั้งสามแบบ (แบบไฮเปอร์ จี โอเมตริ ก แบบไบโนเมี ย ล และแบบปั ว ซอง)
จะทาให้ได้ขนาดตัวอย่างต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันสาหรับระดับความเชื่อมั่นและระดับการตรวจพบโดยเฉพาะ
กับรุ่นสินค้าขนาดใหญ่ แต่การกระจายแบบไบโนเมียลและแบบปัวซองจะคานวณได้ง่ายกว่า
5.5.2 กรณีศัตรูพืชแพร่กระจายแบบรวมเป็นกลุ่มในรุ่นสินค้า
ประชากรของศัตรูพืชส่วนใหญ่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มในระดับใดระดั บหนึ่ ง ในภาคสนาม สิ น ค้ า ต่ า งๆ อาจมี
การเก็บเกี่ยวและบรรจุหีบห่อในภาคสนามโดยไม่มีการคัดเกรดหรือคัดแยก ดังนั้นการกระจายของหน่ ว ย
สินค้าที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้านั้นอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่ ม การรวมกั น เป็ น กลุ่ ม ของหน่ ว ย
สินค้าที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชของสินค้าอาจทาให้ความเป็นไปได้ของการพบการลงทาลายของศั ต รู พืช
ต่าลงเสมอ อย่างไรก็ตามหากการตรวจสอบด้านสุขอนามัยพืชมีจุดมุ่งหมายที่จะตรวจหาหน่ ว ยที่ มี ก ารลง
ทาลายของศัตรูพืชและ/หรือ ศัตรูพืชต่างๆ ที่อยู่ใ นระดั บต่ า การรวมกั น เป็ น กลุ่ ม ของหน่ ว ยที่ มี ก าร ลง
ทาลายของศัตรูพืช มีผลกระทบต่อ ประสิทธิ ผ ลของการตรวจพบในตั ว อย่ า งและมี ผ ลต่ อ ขนาดตั ว อย่ า ง
มกษ. 9036-2555 12

ที่กาหนดไว้น้อยในแทบทุกกรณี เมื่อพิสูจน์ว่ามีความเป็นไปได้สูงที่มีการรวมกันเป็นกลุ่ม ของหน่ ว ยที่ มี ก าร


ลงทาลายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้านั้น วิธีการชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้น อาจช่ ว ยเพิ่ ม โอกาสของการตรวจพบ
หน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชที่แพร่กระจายแบบรวมเป็นกลุ่มได้
เมื่อศัตรูพืชต่างๆอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม การคานวณขนาดของตั ว อย่ า งควรปฏิ บัติ ต ามหลั ก การการใช้ ก าร
กระจายแบบเบต้า-ไบโนเมียล (Beta-binomial distribution) (ดูภาคผนวก ง) อย่างไรก็ตามการค านวณนี้
ต้องมีความรู้เกี่ยวกับระดับของการรวมกลุ่มซึ่งโดยทั่วไปไม่เป็นที่ทราบ ดังนั้นการกระจายแบบนี้ จึ ง ไม่ น่ า ที่
จะใช้ในทางปฏิบัติได้ สาหรับการใช้ทั่วๆไป การกระจายแบบอื่นๆ (แบบไฮเปอร์จีโอเมตริก แบบไบโนเมีย ล
หรือแบบปัวซอง) สามารถนามาใช้ได้ อย่างไรก็ตามระดับความเชื่อมั่นของการชักตัวอย่างจะลดลงในขณะที่
ระดับของการรวมกลุ่มจะเพิ่มขึ้น
5.6 ระดับความแตกต่างของการตรวจพบ
การเลือกระดับของการตรวจพบที่คงที่ระดับใดระดับหนึ่ง อาจมีผลต่อความแตกต่า งขอ งจ านวนหน่ ว ยที่ มี
การลงทาลายของศัตรูพืชที่เข้ามากับสินค้าส่งมอบที่นาเข้า เพราะขนาดของรุ่ น สิ น ค้ า แตกต่ า งกั น ไป (เช่ น
ระดับการลงทาความเสียหาย 1% ของ 1,000 หน่วย เท่ากับหน่วยที่มีการลงทาความเสี ย หาย 10 หน่ ว ย
ขณะที่ระดับการลงทาความเสียหาย 1% ของ 10,000 หน่ ว ย เท่ า กั บหน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าความเสี ย หาย
100 หน่วย) ตามหลักการแล้ว การเลือกระดับของการตรวจพบระดับใดระดั บหนึ่ ง จะสะท้ อ นถึ ง จ านวน
บางส่วนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชที่เข้ามากับสิ น ค้ า ส่ ง มอบทั้ ง หมด ภายในช่ ว งเวลาเฉพาะ
ช่วงหนึ่ง ถ้าต้องการที่จะจัดการจานวนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชที่เข้ามากับแต่ละสินค้าส่งมอบ
ด้วยเช่นกัน อาจใช้ระดับการตรวจพบที่แตกต่างกันไป ระดับการทนรับได้ระดับหนึ่งอาจก าหนดเฉพาะให้
เป็นจานวนหนึ่งของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัต รู พืช ต่ อ จ านวนสิ น ค้ า ส่ ง มอบ และขนาดตั ว อย่ า งอาจ
กาหนดเพื่อที่จะให้ได้ระดับความเชื่อมั่นและระดับของการตรวจพบต่างๆ ที่ต้องการ

5.7 ผลที่ได้ของการชักตัวอย่าง
ผลที่ได้ของกิจกรรมและเทคนิคต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บการชั ก ตั ว อย่ า ง อาจมี ผ ลต่ อ การด าเนิ น การด้ า น
สุขอนามัยพืช (รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถหาได้ใน ISPM No.23: แนวทางปฏิบัติ ส าหรั บการตรวจสอบ
หัวข้อ 2.5)
13 มกษ. 9036-2555

ภาคผนวก ก
สูตรต่างๆที่ใช้ในภาคผนวก ข ถึง ภาคผนวก จ2/
สูตร จุดประสงค์ ภาคผนวก
1 ความน่าจะเป็นไปได้ของการตรวจพบ i หน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของ ข
ศัตรูพืชในตัวอย่าง
2 ค่าประมาณสาหรับการค านวณความน่ า จะเป็ น ไปได้ ข องการไม่ พบ ข
หน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช
3 ความน่าจะเป็นไปได้ของการตรวจพบ i หน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของ ค
ศัตรูพืชในตัวอย่างหนึ่ง ของ n หน่วย (ขนาดตั ว อย่ า งน้ อ ยกว่ า 5%
ของขนาดของรุ่นสินค้า)
4 ความน่าจะเป็นไปได้ของการกระจายแบบไบโนเมี ย ล ของการไม่ พบ ค
หน่วยที่มีลงทาลายของศัตรูพืชในตัวอย่างหนึ่งของ n หน่วย
5 ความน่าจะเป็นไปได้ข องการกระจายแบบไบโนเมี ย ล ของการพบ ค
อย่างน้อยที่สุดหนึ่งหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช
6 การกระจายแบบไบโนเมียล สูตร 5 และ 6 ที่ มี ก ารจั ด ใหม่ เ พื่ อ การ ค
กาหนดค่า n
7 รูบแบบการกระจายแบบปัวซองของไบโนเมียล สูตร 6 ค
8 ความน่าจะเป็น ไปได้ ข องการกระจายแบบปั ว ซอง ของการไม่ พบ ค
หน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช (แบบง่าย)
9 ความน่าจะเป็นไปได้ของการกระจายแบบปั ว ซอง ของการพบอย่ า ง ค
น้ อ ยที่ สุ ด หนึ่ ง หน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของศั ต รู พืช (ระดั บความ
เชื่อมั่น)
10 การกระจายแบบปัวซองเพื่อการกาหนดขนาดตัวอย่างสาหรับ n ค
11 การชักตัวอย่างบนพื้นฐานแบบเบต้ า ไบโนเมี ย ลส าหรั บการกระจาย ง
ตามพื้นที่แบบรวมกลุ่ม
12 ความน่าจะเป็นไปได้ของการกระจายแบบเบต้าไบโนเมียลของการไม่พบ ง
หน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช หลังจากการตรวจสอบรุ่ น สิ น ค้ า
หลายรุ่น (สาหรับรุ่นสินค้ารุน่ เดี่ยว)
13 ความน่าจะเป็นไปได้ของการกระจายแบบเบต้ า ไบโนเมี ย ล ของการ ง
พบหนึ่งหน่วยหรือมากกว่า ที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช
14 การกระจายแบบเบต้าไบโนเมียล สู ต ร 12 และ สู ต ร 13 ที่ มี ก ารจั ด ง
ใหม่เพื่อการกาหนดค่า m

2/
ภาคผนวกนี้ ไม่ถื อว่าเป็นส่วนที่ เป็นทางการของมาตรฐานฉบับนี้ เป็น การจัดหาให้เพื่อ เป็นข้อมู ลเท่านั้น
มกษ. 9036-2555 14

ภาคผนวก ข
การคานวณขนาดตัวอย่างสาหรับ รุ่นสินค้าขนาดเล็ก: การชักตัวอย่างบนพื้นฐาน
แบบไฮเปอร์จีโอเมตริก (การชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย)3/

การกระจายแบบไฮเปอร์จีโอเมตริกเหมาะสมในการอธิบายความน่าจะเป็นไปได้ ข องการพบศั ต รู พืช ในรุ่ น


สินค้าที่มีขนาดค่อนข้างเล็ก รุ่นสินค้าที่มีการพิจารณาว่ามีขนาดเล็ ก เมื่ อ ขนาดตั ว อย่ า งมากกว่ า 5% ของ
ขนาดรุ่นสินค้า ในกรณีนี้การชักตัวอย่างของหน่วยหนึ่งจากรุ่นสินค้า มีผลกระทบต่อความที่ น่ า จะเป็ น ไปได้
ของการพบหน่วยที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช ในหน่ ว ยต่ อ ไปที่ เ ลื อ ก การชั ก ตั ว อย่ า งที่ มี พื้น ฐานแบบ
ไฮเปอร์จีโอเมตริก เป็นพื้นฐานของการชักตัวอย่างที่ไม่มีการทดแทน
เป็นการสมมุติด้วยว่าการแพร่กระจายของศัตรูพืชในรุ่นสินค้าไม่เป็นแบบรวมกันเป็นกลุ่ม และมี ก ารใช้ ก าร
ชักตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย วิธีการดาเนินงานสามารถขยายต่อถึงแบบแผนอื่ น ๆได้ เช่ น การชั ก ตั ว อย่ า ง
แบบแบ่งชั้น (รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม สามารถหาได้ ใ น Cochran, W.G. 1977. Sampling techniques. 3 rd
edition. John Wiley & Sons, New York. 428 pp.)
ความน่าจะเป็นไปได้ของการตรวจพบหน่วยต่างๆ ที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช จ านวน i หน่ ว ยตั ว อย่ า ง
คานวณโดย

 A  N  A 
  
P(X = i) =  i  n  i  สูตร 1
N
 
n
เมื่อ :

 a
  = a!
เมื่อ a!=a(a-1)(a-2)….. 1 and 0! =1
 b b!(a  b)!

P(X = i) คือ ความน่ าจะเป็ นไปได้ ที่จะพบว่ า i หน่ วยที่มีการลงท าลายของศั ตรู พืชในตัวอย่ าง เมื่อ i = 0, …, n.
ระดับความเชื่อมั่นจะสั มพั นธ์กับ : 1-P(X=i)
A = จานวนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช ในรุ่ นสิน ค้านั้ นที่ สามารถตรวจพบได้ ถ้าทุกหน่วยในรุ่น
สินค้า นั้น มีการตรวจสอบหรือทดสอบ ที่กาหนดประสิ ทธิผลของวิธีการตรวจสอบหรือทดสอบไว้ (ระดั บ
ของการตรวจพบ x N x ประสิทธิผ ล ปรับให้เป็นจานวนตั วเลขเต็ม)
i = จานวนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชในตัวอย่าง
N =จานวนของหน่วยในรุน่ สินค้า (ขนาดของรุ่นสินค้า)
n = จานวนของหน่วยในตัวอย่าง (ขนาดตัวอย่าง)

3/
ภาคผนวกนี้ ไม่ถื อว่าเป็นส่วนที่ เป็นทางการของมาตรฐานฉบับนี้ เป็น การจัดหาให้เพื่อ เป็นข้อมู ลเท่านั้น
15 มกษ. 9036-2555

โดยเฉพาะการประมาณอย่างใกล้เคียง ที่สามารถใช้ได้สาหรับความน่าจะเป็นไปได้ข องการไม่ พบหน่ ว ยที่ มี


การลงทาความเสียหายเลย คือ

=  N  A  u 
n
P(X=0) สูตร 2
 N u 

เมื่อ u = (n-1)/2 (from Cochran, 1977)


การไขปัญหาสมการที่จะกาหนดค่า n ทาได้ยากทางคณิ ต ศาสตร์ แต่ ส ามารถท าได้ โดยวิ ธี ก ารค านวณให้
ใกล้เคียง หรือ โดยการประมาณที่น่าจะเป็นจริงได้สูงสุด
ตารางที่ ข.1 และ ตารางที่ ข.2 แสดงขนาดตั ว อย่ า งต่ า งๆ ที่ มี ก ารค านวณส าหรั บขนาด รุ่ น สิ น ค้ า ต่ า งๆ
ระดับของการตรวจพบ และระดับความเชื่อมั่นต่างๆ เมื่อจานวนการยอมรับมีค่าเป็น 0
มกษ. 9036-2555 16

ตารางที่ ข.1 แสดงขนาดตัวอย่างที่ต่าสุดสาหรับระดับความเชื่อมั่นที่ 95% และ 99% ที่ระดับของ


การตรวจพบที่แตกต่างกันไปตามขนาดของรุ่นสินค้า การกระจายแบบไฮเปอร์จีโอเมตริก

P = 95% (ระดับความเชื่อมั่น ) P = 99% (ระดับความเชื่อมั่น )


จานวนหน่ วย
% ระดับของการตรวจพบ  ประสิทธิผ ล % ระดับของการตรวจพบ  ประสิทธิผ ล
ในรุ่น สินค้า
ของการตรวจพบ ของการตรวจพบ
5 2 1 0.5 0.1 5 2 1 0.5 0.1
25 24* - - - - 25* - - - -
50 39* 48 - - - 45* 50 - - -
100 45 78 95 - - 59 90 99 - -
200 51 105 155 190 - 73 136 180 198 -
300 54 117 189 285* - 78 160 235 297* -
400 55 124 211 311 - 81 174 273 360 -
500 56 129 225 388* - 83 183 300 450* -
600 56 132 235 379 - 84 190 321 470 -
700 57 134 243 442* - 85 195 336 549* -
800 57 136 249 421 - 85 199 349 546 -
900 57 137 254 474* - 86 202 359 615* -
1 000 57 138 258 450 950 86 204 368 601 990
2 000 58 143 277 517 1553 88 216 410 737 1800
3 000 58 145 284 542 1895 89 220 425 792 2353
4 000 58 146 288 556 2108 89 222 433 821 2735
5 000 59 147 290 564 2253 89 223 438 840 3009
6 000 59 147 291 569 2358 90 224 442 852 3214
7 000 59 147 292 573 2437 90 225 444 861 3373
8 000 59 147 293 576 2498 90 225 446 868 3500
9 000 59 148 294 579 2548 90 226 447 874 3604
10 000 59 148 294 581 2588 90 226 448 878 3689
20 000 59 148 296 589 2781 90 227 453 898 4112
30 000 59 148 297 592 2850 90 228 455 905 4268
40 000 59 149 297 594 2885 90 228 456 909 4348
50 000 59 149 298 595 2907 90 228 457 911 4398
60 000 59 149 298 595 2921 90 228 457 912 4431
70 000 59 149 298 596 2932 90 228 457 913 4455
80 000 59 149 298 596 2939 90 228 457 914 4473
90 000 59 149 298 596 2945 90 228 458 915 4488
100 000 59 149 298 596 2950 90 228 458 915 4499
200 000+ 59 149 298 597 2972 90 228 458 917 4551
17 มกษ. 9036-2555

ค่าต่างๆ ในตารางที่ ข.1 ที่มี * ได้มีการปัดเศษส่วนให้เป็นจานวนเต็ม เพราะผลการสร้ า งแบบจ าลองของ


ผลที่เป็นเศษส่วนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชนั้นเป็นไปไม่ ได้ (ตั วอย่ างเช่ น หน่ วยจ านวน 300 หน่ วย
ที่มีการลงทาความเสียหาย 0.5% จะตรงกันกับหน่วยที่มีการลงทาความเสียหาย 1.5 หน่ ว ย ในสิ น ค้ า งวด
นั้น) โดยเช่นนี้ หมายความว่าความเข้มงวดของการชักตัวอย่างจะสู ง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย และอาจสู ง กว่ า ส าหรั บ
ขนาดของจานวนสินค้าที่ขนส่ง ที่ซึ่งจานวนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช มี ก ารปั ด เศษส่ ว นลงมา
เมื่อเทียบกับขนาดของจานวนสินค้าที่ขนส่งที่ใหญ่ขึ้น ที่ซึ่งจานวนหน่วยต่างๆที่มีการลงท าลายของศั ต รู พืช
ได้จากการคานวณ (ตัวอย่างเช่น เปรียบเทียบผลสาหรับ 700 และ 800 หน่ ว ย ในรุ่ น สิ น ค้ า นั้ น ) ซึ่ ง ด้ ว ย
เช่นกัน หมายความว่า อาจจะทาให้ตรวจพบสัดส่วนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชที่ ต่ าลงเล็ ก น้ อ ย
กว่าสัดส่วนที่บ่งชี้ในตาราง หรือ โดยที่การลงทาความเสียหายเช่นนั้น น่ า ที่ จ ะมี ก ารตรวจพบได้ ม ากกว่ า ที่
แสดงไว้โดยระดับความเชื่อมั่น
ค่าต่างๆ ในตารางที่ ข.1 ที่มีเครื่องหมาย - อ้างอิงถึงแบบจาลองที่ แสดงถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ น ไปไม่ ไ ด้ (มี ก ารลง
ทาลายของศัตรูพืชต่ากว่าหนึ่งหน่วย)
มกษ. 9036-2555 18

ตารางที่ ข.2 แสดงขนาดตัวอย่าง สาหรับระดับความเชื่อมั่นที่ 80% และ 90% ที่ระดับของการตรวจ


พบที่แตกต่างกันไปตามขนาดของรุ่นสินค้า การกระจายแบบไฮเปอร์จีโอเมตริก

จานวนหน่ วย P = 80% (ระดับความเชื่อมั่น ) P = 90% (ระดับความเชื่อมั่น )


ในรุ่น สินค้า
% ระดับของการตรวจพบ  ประสิ ทธิผล % ระดับของการตรวจพบ  ประสิทธิผ ล
ของการตรวจพบ ของการตรวจพบ
5 2 1 0.5 0.1 5 2 1 0.5 0.1
100 27 56 80 - - 37 69 90 - -
200 30 66 111 160 - 41 87 137 180 -
300 30 70 125 240* - 42 95 161 270* -
400 31 73 133 221 - 43 100 175 274 -
500 31 74 138 277* - 43 102 184 342* -
600 31 75 141 249 - 44 104 191 321 -
700 31 76 144 291* - 44 106 196 375* -
800 31 76 146 265 - 44 107 200 350 -
900 31 77 147 298* - 44 108 203 394* -
1 000 31 77 148 275 800 44 108 205 369 900
2 000 32 79 154 297 1106 45 111 217 411 1368
3 000 32 79 156 305 1246 45 112 221 426 1607
4 000 32 79 157 309 1325 45 113 223 434 1750
5 000 32 80 158 311 1376 45 113 224 439 1845
6 000 32 80 159 313 1412 45 113 225 443 1912
7 000 32 80 159 314 1438 45 114 226 445 1962
8 000 32 80 159 315 1458 45 114 226 447 2000
9 000 32 80 159 316 1474 45 114 227 448 2031
10 000 32 80 159 316 1486 45 114 227 449 2056
20 000 32 80 160 319 1546 45 114 228 455 2114
30 000 32 80 160 320 1567 45 114 229 456 2216
40 000 32 80 160 320 1577 45 114 229 457 2237
50 000 32 80 160 321 1584 45 114 229 458 2250
60 000 32 80 160 321 1588 45 114 229 458 2258
70 000 32 80 160 321 1591 45 114 229 458 2265
80 000 32 80 160 321 1593 45 114 229 459 2269
90 000 32 80 160 321 1595 45 114 229 459 2273
100 000 32 80 160 321 1596 45 114 229 459 2276
200 000 32 80 160 321 1603 45 114 229 459 2289
19 มกษ. 9036-2555

ค่าต่างๆในตารางที่ ข.2 ที่มี * ได้มีการปัดเศษส่วนให้เป็นจานวนเต็ม เพราะผลการสร้ า งแบบจ าลองของ


ผลที่เป็นเศษส่วนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชนั้นเป็นไปไม่ ได้ (ตั วอย่ างเช่ น หน่ วยจ านวน 300 หน่ วย
ที่มีการลงทาความเสียหาย 0.5% จะตรงกันกับหน่วยที่มีการลงทาความเสียหาย 1.5 หน่ ว ย ในสิ น ค้ า งวด
นั้น) โดยเช่นนี้ หมายความว่าความเข้มของการชักตัวอย่างจะสูงขึ้นเล็กน้อย และ อาจสู ง กว่ า ส าหรั บขนาด
ของจานวนสินค้าที่ขนส่ง ที่ซึ่งจานวนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช มี ก ารปั ด เศษส่ ว นลงมา เมื่ อ
เทียบกับขนาดของจานวนสินค้าที่ขนส่งที่ใหญ่ขึ้น ที่ซึ่งจานวนหน่วยต่างๆที่ มี ก ารลงท าลายของศั ต รู พืช ได้
จากการคานวณ (ตัวอย่างเช่น เปรียบเทียบผลสาหรับ 700 และ 800 หน่ ว ย ในรุ่ น สิ น ค้ า นั้ น ) ซึ่ ง ด้ ว ย
เช่นกัน หมายความว่า อาจจะทาให้ตรวจพบสัดส่วนของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชที่ ต่ าลงเล็ ก น้ อ ย
กว่าสัดส่วนที่บ่งชี้ในตาราง หรือโดยที่การลงทาความเสียหายเช่นนั้น น่ า ที่ จ ะมี ก ารตรวจพบได้ ม ากกว่ า ที่
แสดงไว้โดยระดับความเชื่อมั่น
ค่าต่างๆในตารางที่ ข.2 ที่มีเครื่องหมาย - อ้างอิงถึงแบบจ าลองที่ แสดงถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ น ไปไม่ ไ ด้ (มี ก ารลง
ทาลายของศัตรูพืชต่ากว่าหนึ่งหน่วย)
มกษ. 9036-2555 20

ภาคผนวก ค
การชักตัวอย่างของรุ่นสินค้าขนาดใหญ่: การชักตัวอย่างบนพื้นฐานแบบไบโนเมียล หรือ
แบบปัวซอง4/

สาหรับรุ่นสินค้าขนาดใหญ่ที่มีการผสมกันแล้วอย่างเพียงพอ ความน่ า จะเป็ น ได้ ข องการหาพบหน่ ว ยที่ มี


การลงทาลายของศัตรูพืช มี ก ารค านวณให้ ใ กล้ เ คี ย งได้ โดยสถิ ติ แบบไบโนเมี ย ลอย่ า งง่ า ย ขนาดของ
ตัวอย่างน้อยกว่า 5% ของขนาดรุ่นสินค้านั้น ความน่าจะเป็น ไปได้ ข องการที่ จ ะพบว่ า i หน่ ว ยที่ มี ก ารลง
ทาลายของศัตรูพืชในตัวอย่างของ n หน่วย คานวณโดย:

 n  p i (1-p) n-i
P(X=i) =   สูตร 3
i

p เป็นสัดส่วนโดยเฉลี่ยของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช (ระดับการลงทาความเสียหาย) ในรุ่ น สิ น ค้ า


และ  แทนเปอร์เซ็นต์ของประสิทธิผลของการตรวจสอบหารด้วย 100

P(X=i) คือ ความเป็นไปได้ที่ จ ะพบ i หน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของศั ต รู พืช ในตั ว อย่ า งนั้ น ระดั บความ
เชื่อมั่นจะสัมพันธ์กับ 1-P(X=i), i = O, 1, 2, ….n

สาหรับวัตถุประสงค์ด้านสุขอนามัยพืช ความน่าจะเป็น ไปได้ ข องการไม่ พบตั ว อย่ า งศั ต รู พืช หรื อ อาการ
ในตัวอย่างจะถูกกาหนดไว้ ความน่ า จะเป็ น ไปได้ ของการไม่ พบหน่ ว ยที่ มี ก าร ลงท าลายของศั ต รู พืช
ในตัวอย่างจานวน n หน่วย คานวณโดย:

P(X=0) = (1-p)n สูตร 4

ความน่าจะเป็นไปได้ของการพบ อย่างน้อยที่สุดหนึ่งหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช คานวณโดย:

P(X>0) = 1 - (1-p)n สูตร 5

สมการนี้ สามารถนามาจัดวางใหม่เพื่อกาหนดชี้ n
ln[1  P( X  0)]
n= สูตร 6
ln(1  p)

4/
ภาคผนวกนี้ ไม่ถื อว่าเป็นส่วนที่ เป็นทางการของมาตรฐานฉบับนี้ เป็น การจัดหาให้เพื่อ เป็นข้อมู ลเท่านั้น
21 มกษ. 9036-2555

ขนาดตัวอย่าง n สามารถกาหนดโดยสมการนี้ เมื่อระดับการลงท าลายของศัตรูพืช (p) ประสิทธิผล ()


และระดั บความเชื่อมั่น (1-P(X>0) มีการกาหนดโดยหน่ว ยงานที่ รับผิดชอบ
การกระจายแบบไบโนเมียล สามารถประมาณได้ด้วยการกระจายแบบปั ว ซอง เมื่ อ n สู ง ขึ้ น และ p ลดลง
สมการการกระจายแบบไบโนเมียลที่ให้ไ ว้ ข้ า งบนโน้ ม เอี ย งเข้ า สู่ ส มการการกระจายแบบปั ว ซองที่ ใ ห้ ไ ว้
ข้างล่างนี้
np i e  np
P(X=i) = i! สูตร 7

เมื่อ e เป็นค่าของฐานของ Natural logarithm

ความน่าจะเป็นไปได้ ของการไม่พบหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืชเลย ทาให้ง่ายขึ้นเป็น ดังนี้

P(X=0) = e-np สูตร 8

ความน่าจะเป็นไปได้ ของการพบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งหน่ว ยที่มีการลงทาลายของศัตรู พืช (ระดับความ


เชื่อมั่น) มีการคานวณได้ เป็ น

P(X>0) = 1-e-np สูตร 9

การคานวณค่ า n ตามสมการต่อไปนี้ สามารถน าไปใช้เพื่อที่จะกาหนดขนาดตัวอย่างได้

n = -ln [1-P(X>0)]/ p สูตร 10

ตารางที่ ค.1 และ ตารางที่ ค.2 แสดงขนาดตัวอย่าง เมื่อจานวนการยอมรับเป็น 0 ที่ มี ก ารค านวณส าหรั บ
ระดับของการตรวจพบต่างๆ ประสิทธิผล และระดับความเชื่อมั่น โดยการใช้การกระจายแบบไบโนเมียล และ
แบบปัวซองตามลาดับ การเปรียบเทียบในกรณี ส าหรั บ ประสิ ท ธิ ผ ล 100% พร้ อ มขนาดตั ว อย่ า งต่ า งๆ
ในตารางที่ ข.1 แสดงให้เห็นว่าการกระจายแบบไบโนเมียลและปัวซองให้ผลที่คล้ายคลึงกัน กั บการกระจาย
แบบไฮเปอร์จีโอเมตริก เมื่อ n สูงขึ้น และ p ลดลง
มกษ. 9036-2555 22

ตารางที่ ค.1 แสดงขนาดตัวอย่างส าหรับระดั บความเชื่อมั่น ที่ 95% และ 99% ที่ระดับการตรวจพบที่
แตกต่างกันไปตามค่ าประสิทธิผลต่างๆ เมื่อขนาดรุ่น สินค้ าใหญ่ และผสมกัน แล้วอย่ างเพียงพอ,
การกระจายแบบไบโนเมียล

P = 95% (ระดับความเชื่อมั่น ) P = 99% (ระดับความเชื่อมั่น )


% ประสิทธิผ ล
% ระดับการตรวจพบ % ระดับการตรวจพบ
5 2 1 0.5 0.1 5 2 1 0.5 0.1
100 59 149 299 598 2995 90 228 459 919 4603
99 60 150 302 604 3025 91 231 463 929 4650
95 62 157 314 630 3152 95 241 483 968 4846
90 66 165 332 665 3328 101 254 510 1022 5115
85 69 175 351 704 3523 107 269 540 1082 5416
80 74 186 373 748 3744 113 286 574 1149 5755
75 79 199 398 798 3993 121 305 612 1226 6138
50 119 299 598 1197 5990 182 459 919 1840 9209
25 239 598 1197 2396 11982 367 919 1840 3682 18419
10 598 1497 2995 5990 29956 919 2301 4603 9209 46050

ตารางที่ ค.2 ตารางของขนาดตัวอย่างสาหรับระดับความเชื่อมั่นที่ 95% และ 99% ที่ระดั บการตรวจพบ


ที่แตกต่างกันไปตามค่าประสิทธิผลต่างๆ เมื่อขนาดรุ่นสินค้าใหญ่และปนกันอยู่อย่างเพียงพอ,
การกระจายแบบปัวซอง

P = 95% (ระดับความเชื่อมั่น ) P = 99% (ระดับความเชื่อมั่น )


% ประสิทธิผ ล
% ระดับการตรวจพบ % ระดับการตรวจพบ
5 2 1 0.5 0.1 5 2 1 0.5 0.1
100 60 150 300 600 2996 93 231 461 922 4606
99 61 152 303 606 3026 94 233 466 931 4652
95 64 158 316 631 3154 97 243 485 970 4848
90 67 167 333 666 3329 103 256 512 1024 5117
85 71 177 353 705 3525 109 271 542 1084 5418
80 75 188 375 749 3745 116 288 576 1152 5757
75 80 200 400 799 3995 123 308 615 1229 6141
50 120 300 600 1199 5992 185 461 922 1843 9211
25 240 600 1199 2397 11983 369 922 1843 3685 18421
10 600 1498 2996 5992 29958 922 2303 4606 9211 46052
23 มกษ. 9036-2555

ภาคผนวก ง
การชักตัวอย่างสาหรับกรณีศัตรูพืชมีการแพร่กระจายแบบรวมกลุ่ม : การชักตัวอย่าง
บนพื้นฐานแบบเบต้าไบโนเมียล5/

ในกรณีของการแพร่กระจายตามพื้นที่แบบรวมเป็ น กลุ่ ม การชั ก ตั ว อย่ า งอาจมี ก ารปรั บเพื่ อ ที่ จ ะชดเชย


สาหรับการรวมกันเป็นกลุ่ม สาหรับการที่จะประยุกต์ใ ช้ ก ารปรั บนี้ ควรมี ก ารสมมติ ว่ า สิ น ค้ า นั้ น มี ก ารชั ก
ตัวอย่างแบบเป็นกลุ่มด้วย (ตัวอย่างเช่น กล่องต่างๆ) และ ที่ ว่ า แต่ ล ะหน่ ว ยในกลุ่ ม ที่ เ ลื อ กมานั้ น มี ก าร
ตรวจ (การชักตัวอย่างแบบเป็นกลุ่ ม ) ในกรณี ต่ า งๆ เช่ น นั้ น สั ด ส่ ว นของหน่ ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของ
ศัตรูพืช (f) ไม่เป็นค่าคงที่อีกต่อไป ในกลุ่มต่างๆ ทั้งหมด แต่จะปฏิบัติตาม beta density function

i 1 n i 1

n 
  f  j  1  f  j 
j 0 j 0
P(X=i) =   n 1
สูตร 11
i
 1  j 
j 0

 เป็นสัดส่วนโดยเฉลี่ยของหน่วยที่มีการลงทาลายของศัตรูพืช (ระดับการลงท าลายของศั ต รู พืช ) ในรุ่ น


สินค้านั้น
P(X=i) เป็นความน่าจะเป็นไปได้ของการพบ i หน่วยที่มีการลงทาความเสียหายในชุดใดชุดหนึ่ง
n = จานวนของหน่วยในชุดใดชุดหนึ่ง
 คือ product function (พันธภาพของผลคูณ)
 จัดหาให้การวัดของการรวมกลุ่มสาหรับชุดที่ jth เมื่อ  มีค่า 0<<1

การชักตัวอย่างด้านสุขอนามัยพืช มักเป็นที่เกี่ยวข้องมากขึ้นกับความน่าจะเป็นไปได้ ของการไม่ พบหน่ ว ยที่


มีการลงทาลายของศัตรูพืช หลังจากการตรวจสอบชุดหลายๆ ชุด สาหรับชุ ด เดี่ ย วๆ ชุ ด หนึ่ ง ความน่ า จะ
เป็นไปได้ ที่ X>0 คือ

P(X>0) = 1- nj10 (1  f  j ) /(1  j ) สูตร 12

และความน่าจะเป็นไปได้ ที่แต่ละหน่วย หรือหลายรุ่นสินค้า ที่ไม่มีหน่วยที่มีการลงทาลายของศั ต รู พืช มี ค่ า


เท่ากับ P(X=0)m เมื่อ m คือจานวนของรุ่นสินค้าต่างๆ เมื่อ  มีค่าต่า สมการ 1 สามารถคานวณได้โดย

5/
ภาคผนวกนี้ ไม่ถื อว่าเป็นส่วนที่ เป็นทางการของมาตรฐานฉบับนี้ เป็น การจัดหาให้เพื่อ เป็นข้อมู ลเท่านั้น
มกษ. 9036-2555 24

Pr (X=0)  (1+n  )-(mf/ ) สูตร 13

ความน่าจะเป็นไปได้ ของการพบหน่ว ยที่ มี ก ารลงท าลายของศั ต รู พืช หนึ่ ง หน่ ว ยหรื อ มากกว่ า โดยให้
1- Pr (X=0)
สมการนี้สามารถจัดใหม่ เพื่อกาหนดค่า m โดย

 ln(1  P( x  0)
m=  
f  ln(1  n ) 
สูตร 14

การชักตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เป็นแนวทางเพื่อ ลดผลกระทบของการรวมกั น เป็ น กลุ่ ม ชั้ น ต่ า งๆ ควรมี ก าร


เลือกเพื่อทาให้ระดับของการรวมกลุ่มภายในชั้นต่างๆ ลดลงต่าสุด

เมื่อระดับของการรวมกลุ่ม และระดับความเชื่อมั่นถูกกาหนดคงที่ ขนาดของตั ว อย่ า งสามารถก าหนดได้


ถ้าไม่มีระดับของการรวมกลุ่ม ขนาดตัวอย่างจะไม่สามารถกาหนดได้

ประสิทธิผล (ค่า  ที่น้อยกว่า 100% สามารถนามารวมได้ โดยการแทนค่า f ในสมการต่างๆ นั้น


25 มกษ. 9036-2555

ภาคผนวก จ
การเปรียบเทียบผลการชักตัวอย่างแบบไฮเปอร์จีโอเมตริก
และแบบสัดส่วนที่กาหนดคงที่6/

ตารางที่ จ.1 ความเชื่ อ มั่ น ในผลของแบบแผนการชั ก ตั ว อย่ า งที่ แตกต่ า งกั น ไปส าหรั บระดั บขอ ง
การตรวจพบที่ 10%

การชักตัวอย่างแบบมี พื้นฐาน การชักตัวอย่างแบบสัด ส่วนคงที่ (2%)


ไฮเปอร์จีโอเมตริก
(การชักตัวอย่างแบบสุ่ มอย่างง่าย )
ขนาดรุ่น ขนาดตัวอย่าง ความเชื่อมั่นในการตรวจพบ ขนาดตัวอย่าง ความเชื่อมั่นในการตรวจพบ
สินค้า
10 10 1 1 0.100
50 22 0.954 1 0.100
100 25 0.952 2 0.191
200 27 0.953 4 0.346
300 28 0.955 6 0.472
400 28 0.953 8 0.573
500 28 0.952 10 0.655
1 000 28 0.950 20 0.881
1 500 29 0.954 30 0.959
3 000 29 0.954 60 0.998

6/
ภาคผนวกนี้ ไม่ถือ ว่าเป็นส่ วนที่เป็นทางการของมาตรฐานฉบับนี้ เป็ นการจัดหาให้เพื่ อเป็นข้ อมูล เท่านั้น
มกษ. 9036-2555 26

ตารางที่ จ.2 ระดับต่าสุดที่สามารถตรวจพบได้ ที่ ค วามเชื่ อ มั่ น 95% โดยการใช้ แผนการชั ก ตั ว อย่ า งที่
แตกต่างไป

การชักตัวอย่างแบบมี พื้นฐาน การชักตัวอย่างแบบสั ดส่ว นคงที่ (2%)


ไฮเปอร์จีโอเมตริก
(การชักตัวอย่างแบบสุ่ มอย่างง่าย )
ขนาดรุ่น ขนาดตัวอย่าง ระดับการตรวจพบต่าสุ ด ขนาดตัวอย่าง ระดับการตรวจพบต่าสุ ด
สินค้า
10 10 0.10 1 1.00
50 22 0.10 1 0.96
100 25 0.10 2 0.78
200 27 0.10 4 0.53
300 28 0.10 6 0.39
400 28 0.10 8 0.31
500 28 0.10 10 0.26
1 000 28 0.10 20 0.14
1 500 29 0.10 30 0.09
3 000 29 0.10 60 0.05

You might also like