You are on page 1of 69

บันทึกเนื้ อหาการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร

บันทึกเนื้อหาการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
Filtration Techniques for Downstream Purification and Formulation
********************

หนวยงาน
สถาบันวัคซีนแหงชาติ

บรรณาธิการ
ดร.อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ

ผูชวยบรรณาธิการ
นางสาววันอิบตีซาม มะสาแม

ผูเรียบเรียง
ภก.ปรัชญา เจตินัย
นายธนกร ศิริพัฒนศักดิ์
นางสาวพัณณิดา กิจกอบชัย
นายกิตติพงษ มิตรขุนทด
ภญ.ฐิตินันท พิพิธวณิชธรรม
ภญ.ดาลัด วโรภาสตระกูล

ออกแบบปกโดย นางสาววันอิบตีซาม มะสาแม

eISBN : 978-616-11-3975-9

เผยแพรโดย : สถาบันวัคซีนแหงชาติ
เลขที่ 38 อาคาร 4 ชั้น 5 สถาบันบําราศนราดูร
ซอยติวานนท 14 ตําบลตลาดขวัญ
อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทร 02-580-9729-31 แฟกซ 02-580-970
http://www.nvi.go.th
คํานํา
สถาบันวัคซีนแหงชาติ โดยสํานักสงเสริมและสนับสนุนเครือขายดานวัคซีนดําเนินการจัดอบรมระยะ
สั้น หัวขอ Filtration techniques for downstream purification and formulation เพื่อพัฒนาบุคลากร
ดานการวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีนใหมีความรูและทักษะในการทําใหบริสุทธิ์โดยใชเทคนิค filtration ระหวาง
วั น ที่ 15-17 พฤษภาคม 2560 โดยภาคบรรยาย ณ โรงแรมรามาการ เ ดนส กรุ ง เทพมหานคร และ
ภาคปฏิ บั ติ ณ ภาควิ ช าวิ ท ยาการเภสั ช กรรมและเภสั ช อุ ต สาหกรรม คณะเภสั ช ศาสตร จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย มี ผูเ ข า อบรมทั้งสิ้ น 55 คน เปนบุคลากรจากหนวยงานเครือขายดานวัคซีน ประกอบดว ย
บุคลากรดานการผลิ ต การประกัน คุณภาพวัคซี น ด านสนับ สนุน งานดานวั คซีน สถาบันการศึกษา รวมถึ ง
หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ และเอกชน
การจัดการอบรมครั้งนี้ประสบผลสําเร็จดวยดี โดยไดรับความรวมมือจากหนวยงานเครือขายที่ชวย
สนั บสนุ นวิ ทยากรที่ มีประสบการณ และมีความเชี่ย วชาญรว มถายทอดความรู ไดแก บริษัทเมอรค จํากั ด
โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ บริษัทซาโนฟ ปาสเตอร จํากัด องคการเภสัชกรรม และ สถานเสาวภา
สภากาชาดไทย ตลอดจนคณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่สนับสนุนหองปฏิบัติการสําหรับการฝก
ปฏิบัติ ทางสถาบันวัคซีนแหงชาติ โดยสํานักสงเสริมและสนับสนุนเครือขายดานวัคซีน ซึ่งเปนผูจัดอบรมตอง
ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
เพื่อใหการถายทอดความรูและประสบการณเปนประโยชนตอผูเขาอบรมและผูที่ตองปฏิบัติงานโดยใช
เทคนิคการกรองเพื่อใหผลิตภัณฑวัคซีนหรือยาชีววัตถุบริสุทธิ์ คณะผูจัดอบรมไดดําเนินการเรียบเรียงเนื้อหา
เพื่อจัดทําเปนหนังสือ โดยหวังวาจะชวยใหผูอานสามารถทําความเขาใจเนื้อหาเกี่ยวกับเทคนิค filtration ใน
เบื้องตน และพัฒนาตอยอดในการศึกษารายละเอียดไดตอไป
สุดทายนี้ ขอขอบคุณ ดร.นพ.จรุง เมืองชนะ ผูอํานวยการสถาบันวัคซีนแหงชาติ ที่ใหการสนับสนุน
การจัดอบรมในครั้งนี้ ขอขอบคุณทีมงานของสถาบันวัคซีนแหงชาติทุกทาน ที่มีสวนใหการดําเนินการจัดอบรม
ครั้งนี้ดําเนินไปไดดวยดี และขอขอบคุณผูเขาอบรมทุกทาน ที่มีความตั้งใจและใหความรวมมือในการอบรมเปน
อยางดี ทําใหการอบรมในครั้งนี้ราบรื่นและบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

ดร.อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ
นักวิชาการวัคซีนเชี่ยวชาญพิเศษ
16 มีนาคม 2562

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 2
สารบัญ
หนา
คํานํา 2
สารบัญ 3
เนื้อหาภาคบรรยาย
o Overview of Bioprocess and Regulatory Requirement for Filtration of 4
Biological Products
o Normal flow filtration: Fundamentals of Filter Selection for 9
Biopharmaceutical process. Filter types and structures, and
sterilizing-grade filter
o Introduction of Tangential Flow Filtration (TFF); Principle, Vocabulary, 13
Key process, Parameters and TFF Membrane Module
o Example of Filtration Process
 Development of Normal Flow Filtration: Optimization and 24
scale-up in pre-filtration of egg-based influenza vaccine
production
 Filtration in antiserum manufacturing process 26
o Priciple of Integrity Test, consideration for automatic integrity teste 28
o Filter Validation 35
o Experience Sharing & Trouble shooting on filter integrity test 38
o Redundant filtration and pre-use post-sterilization integrity test 41
o Hands-on workshop : Introduction to filter sizing 46
ภาคผนวก
o ภาคผนวก ก : กําหนดการจัดอบรม 58
o ภาคผนวก ข : รายนามผูเขาอบรม 61
o ภาคผนวก ค : ภาพบรรยากาศการอบรมภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ 63

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 3
Overview of Bioprocess and Regulatory Requirement for
Filtration of Biological Products
Mr. Michael Payne และ ดร. ณัฐวัฒน ประภาวรัตน
บริษัท เมอรค จํากัด

การกรองในกระบวนการผลิตนั้นแบงออกเปนขั้นตอนตางๆ (รูปที่ 1) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดการ


ปนเป อนของเชื้ อจุ ล ชี พหรือกรองเพื่ อนํ าสิ่ งที่ไมตองการออกจากผลิตภัณฑ ขั้นตอนที่มีความเสี่ยงในการ
ปนเปอนของเชื้อจุลชีพมากที่สุด ไดแก ขั้นตอนของการเพาะเลี้ยงเซลลตั้งตน และ Downstream Process
โดยเฉพาะการกรองในขั้น สุ ดท า ยเพื่ อเตรี ย มผลิตภั ณฑชี ว วัตถุ โดยเชื้อ จุล ชี พที่มัก ปนเปอนเขา มาใน
กระบวนการผลิตประกอบดวย แบคทีเรีย เชื้อรา TSE Agents และเชื้อไวรัส เปนตน สวนมากมาจากวัตถุดิบ
(Raw material) และสารละลายบัพเฟอร ตางๆ ที่ใชในแตละขั้นตอน ซึ่งสาเหตุในการปนเปอนเกิดจากการ
ทําความสะอาดที่ไมดีพอ (Improper cleaning/ Sanitization) หรือการออกแบบระบบการผลิตที่ไมดีพอ
(Suboptimal system design)

รูปที่ 1 ภาพรวมกระบวนการผลิตยาชีววัตถุ และจุดที่มีความเสี่ยงสูงในการปนเปอนเชื้อจุลชีพ

แหลงที่มาของการปนเปอน (Route of contamination) (รูปที่ 2) ไดแก


1. ธนาคารเซลล มักเปนเชื้อไวรัสหรือ mycoplasma ที่แฝงอยูในเซลล (รูปที่ 3)
2. วัตถุดิบ กรณีใชวัตถุดิบที่มีแหลงที่มาจากสัตวหรือมนุษย เชน serum หรือ albumin อาจมีการ
ปนเปอนของเชื้อไวรัสกอโรค หรือ prions
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 4
3. อุปกรณ เครื่องมือ และเครื่องจักรที่ใชในกระบวนการ เกิดจากการปนเปอนของเชื้อจุลชีพจาก
การลางเครื่องมือไมสะอาด
4. ภาชนะบรรจุที่ใชในกระบวนการ เกิดจากการปนเปอนของเชื้อจุลชีพจากการลางภาชนะบรรจุไม
สะอาด

รูปที่ 2 ตําแหนงที่อาจเกิดการปนเปอนในกระบวนการผลิต

รูปที่ 3 ตัวอยางจุดที่มีความเสี่ยงในการปนเปอนของเชื้อ Mycoplasma

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 5
การประเมินความเสี่ยงประกอบดวย 3 ขั้นตอน ไดแก
1. การระบุส าเหตุ ของความเสี่ย ง (Identify) คือ ความสามารถในการระบุความเสี่ย ง รวมถึง
อุบัติการณในการเกิดความเสี่ยงที่พบวามีความถี่มากนอยแคไหน ยกตัวอยางเชน ความเสี่ยงในการปนเปอน
เชื้อจุลชีพในขั้นตอนการผลิต สาเหตุอาจมาไดจากหลายทาง เชน Human, Mother Nature, Material,
Machine, Method, Measurement
2. การลดการเกิดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น (Mitigate) ประกอบดวยกระบวนการ 3 อยาง ไดแก การ
ปองกัน (Prevention) การลดความเสี่ยง (Mitigation) และการตรวจพบความเสี่ยง (Detection) ตัวอยางเชน
ในการปองกัน (Prevention) ไมใหเกิดการปนเปอนของเชื้อที่เกิดจากบุคคล สามารถทําไดโดยการไมใหคนไป
อยูในบริเวณที่มีการผลิต แตหากคนตองไปอยูภายใตสภาวะการผลิต สิ่งที่จําเปนตองทําคือ ลดโอกาสที่จะนํา
เชื้อเขาไปยังบริเวณผลิต (Mitigation) โดยการสวมชุดตามแบบที่โรงงานกําหนด ปฏิบัติงานในเฉพาะสวนที่
เปน Cleanroom และมีการฝกการทํ างานภายใตสภาวะที่ กําหนดอยางถูกวิธี จากนั้นทําการตรวจสอบ
(Detection) วาการที่มีคนเขาไปปฏิบัติงานบริเวณนั้นแลวไมกอใหเกิดเชื้อโรคมากขึ้น โดยการสุมตรวจอากาศ
บริเวณนั้น (Air sampling) และสุมตรวจเชื้อตามพื้นผิว (Surface monitoring) เปนตน อีกตัวอยางหนึ่ง คือ
การลดการปนเปอนของเชื้อที่มาจากวัตถุดิบ กระบวนการการปองกัน (Prevention) คือการใชวัตถุดิบที่อยูใน
Quality grade การลดโอกาสการปนเปอน (Mitigation) โดยการนําวัตถุดิบไปผานกระบวนการบางอยางที่
สามารถลดเชื้อที่เราไมตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ และสุดทายคือการตรวจสอบ (Detection) โดยการนํา
ตัวอยางวัตถุดิบ ไปสุมตรวจดวยวิธีการตางๆ ซึ่งตองคํานึงถึงปริมาณตัวอยางที่สุมตรวจเมื่อเทียบกับปริมาณ
วัตถุดิบที่จะใชจริง
3. การตรวจพบความเสี่ยง (Detection) คือการตรวจสอบวาความเสี่ยงนั้นไดถูกควบคุมเพื่อลด
โอกาสการปนเปอนของเชื้อจุลชีพไดจริง โดยตองทําการประเมินวาจะตองสุมตรวจสอบถี่แคไหน และควรใช
วิธีการตรวจสอบแบบไหน โดยไมลืมคํานึงถึงขอจํากัดของวิธีตรวจสอบแตละวิธีดวย
การแบงหมวดหมูตัวกรอง (filter categorization) แบงตามระดับความเสี่ยงของการใชงาน ได 3 กลุม
ดังนี้
1. ตัวกรองสําหรับการใชงานทั่วไปที่ไมมีความเสี่ยงหรือความเสี่ยงต่ํา (Service): เปนตัวกรองที่ไมมี
ผลตอ Product Quality และไมมีการสัมผัสกับผลิตภัณฑโดยตรง โดยของเหลวที่กรองผาน filter นี้มาจาก
Facilities-wide system เชน distribution gas filter, water pre-filter
2. ตัวกรองสําหรับการใชงานที่มีความเสี่ยงปานกลาง (Moderately critical): เปนตัวกรองที่ไมไดมี
ผลตอ product quality โดยตรง แตใชกับเครื่องมือหรือระบบที่ใชผลิตภัณฑ เชน Vent filter in grade D/C
area, bioburden reduction filter
3. ตัวกรองสําหรับการใชงานที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤต (Critical Application): เปนตัวกรองที่มีผลตอ
คุณภาพของผลิตภัณฑโดยตรง ใชกรองตัวผลิตภัณฑสุดทาย (final product) หรือพื้นผิวเครื่องมือที่เกี่ยวของ
กับ final product เชน Vent filter on sterile hold vessel, sterile liquid filter

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 6
วัตถุประสงคของการกรองที่มีความเสี่ยงปานกลาง (Moderately critical) ไดแก
1. กําจัดเชื้อจุลชีพที่ไมพึงประสงคออกจากของเหลวที่ใชในกระบวนการตางๆ ดังนี้
1.1. ปองกันการปนเปอนในกระบวนการหมัก
1.2. อาหารเลี้ยงเชื้อ หรืออากาศ หรือแกสที่ใชในกระบวนการ
1.3. ถังเก็บ หรือถังผสม
1.4. กระบวนการทาง Chromatography
1.5. สารละลายบัฟเฟอรหรือสารที่ใชทําความสะอาด
1.6. ผลิตภัณฑที่อยูระหวางกระบวนการผลิต
2. ลดปริมาณเชื้อจุลชีพตั้งตนในกระบวนการทําใหบริสุทธิ์ การที่ปริมาณเชื้อจุลชีพลดลงหมายถึง
การลดลงของ endotoxin ดวยเชนกัน การควบคุมหรือลดปริมาณเชื้อตั้งตนอาจเปนหนึ่งในขอกําหนดที่ระบุไว
ขอควรพิจารณาในการประเมินความเสี่ยงสําหรับการเลือกใชตัวกรอง ไดแก
1. ประเภทของของเหลว (Fluid Classification): ของเหลวที่ระบุวาตองปราศจากเชื้อ ถือเปนความ
เสี่ยงสูงสุด
2. รูปแบบยา (Dosage form): การผลิตยาฉีดที่ไมมีสารกันเสียในตํารับถือวามีความเสี่ยงสูงสุด
3. ประเภทของหองสะอาด (Room Classification): การใชตัวกรองในหองสะอาดเกรดที่ต่ํากวาจะ
เพิ่มความเสี่ยงที่มากขึ้น
4. การตรวจสอบสมรรถนะของการกรอง (Detectability of poor filtration performance):
ระบบที่ไมมีการทดสอบ หรือไมสามารถทดสอบประสิทธิภาพของการกรองแบบ in-line testing ได ถือเปน
ความเสี่ยงสูงสุด
5. เวลาที่สัมผัสกับผลิตภัณฑที่กรอง (Contact time): ยิ่งตัวกรองสัมผัสกับผลิตภัณฑนานเทาไหรก็
ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงมากขึ้นเทานั้น
6. สภาวะที่ใชในกระบวนการ (Process conditions): ยิ่งใชสภาวะที่มีความรุนแรงกับตัวกรองมาก
ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงมาก
7. การปรับสภาพของเหลวกอนกรอง (Fluid pre-treatment): ถาไมมีกระบวนการปรับสภาพ
ของเหลว หรือมีกระบวนการปรับสภาพเพียงเล็กนอยกอนนําไปผานตัวกรอง ถือวามีความเสี่ยงมากขึ้น
8. การปรับสภาพของเหลวหลังกรอง (Fluid post-treatment): หากไมมีกระบวนการกําจัดสาร
หลังจากการกรองไปแลว ยิ่งเพิ่มความเสี่ยง
9. การปรั บ สภาพของตั ว กรองก อนใช ง าน (Filter pre-treatment): หากมี การทํ า filter
pretreatment ในสภาวะที่รุนแรง เชน Steaming-in-place (SIP) จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยง
10. ประวัติการใชงานกอนหนา (Prior history): หากตัวกรองมีการนํามาใชกอน จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยง
มากขึ้น
Sterile Filtration Qualification ประกอบดวย 8 องคประกอบหลัก ซึ่งเปนตัวแทน worst case
ของ Process conditions, Process fluid, filter performance และ Microbiological challenge ไดแก
1. Integrity testing ตองมีการทดสอบวาตัวกรองใชงานไดดี ไมมีการรั่วไหล
2. Binding ตองมีการทดสอบวาตัวกรอง ไมมีผลในการจับกับตัวยา หรือสวนประกอบหลักอืน่ ๆ
3. Retention ตองพิสูจนวาตัวกรองสามารถกรองแบคทีเรียออกจากผลิตภัณฑได

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 7
4. Duty ตองพิสูจนวาตัวกรองสามารถกรองไดตามขอกําหนดที่ตองการ ไดแก ความสามารถในการ
กรองของเหลวชนิดหนึ่งไดในปริมาตรหนึ่งโดยไมมีการอุดตัน
5. Sterilization ตองทดสอบวากระบวนการทําใหปราศจากเชื้อไมไดมีผลตอประสิทธิภาพของตัวกรอง
6. Compatibility ต องทดสอบวาตัว กรองเขากัน ไดกับ ตัว ยาสําคัญ และสว นประกอบอื่น ๆใน
ผลิตภัณฑ
7. Extractable and leachable ตองตรวจสอบหาชนิดและปริมาณของสารประกอบของวัสดุที่ใช
ผลิตตัวกรองที่สามารถปนเปอนไปสูผลิตภัณฑ
8. Quality System (QS), Validation master plan (VMP) and documentation ตองมีการ
จั ด ทํ า เอกสารคุ ณภาพและจั ดเก็ บ เอกสารและขั้น ตอนตางๆ ที่ ไดทดสอบไว เ ป น หลั กฐานเพื่อ ใหม่ัน ใจใน
กระบวนการทดสอบตัวกรองนั้นๆ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 8
Normal Flow Filtration: Fundamentals of Filter Selection for
Biopharmaceutical process. Filter Types and Structures, and
Sterilizing-Grade Filter
ดร. ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน
บริษัท เมอรค จํากัด

การกรอง (Filtration) หมายถึง การแยกสารผานแผนกรอง (membrane) อาศัยความดันเปนตัวชวย


ในการเคลื่อนที่ของสาร สามารถแบงการกรองออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก Normal Flow filtration (NFF) คือ
การกรองปกติ และ Tangential Flow filtration (TFF) หรือ Cross flow filtration เปนการกรองแบบไหลขวาง
 Normal Flow Filtration (NFF) เปนการกรองในลักษณะ Dead end การไหลของ
สารละลายเปนไปในแนวตั้งฉาก (vertical) และสารละลายทั้งหมดจะมีการผาน membrane โดยชิ้นสวนอนุภาค
(particles) จะติดอยูบริเวณสวนบนของ membrane สวนมากใชในงานการกรองเอาสิ่งปนเปอนออกจาก
สารละลาย
 Tangential Flow Filtration (TFF) เปนการกรองแบบไหลขวาง โดยลักษณะการไหลของ
สารละลายจะเปนทางขนาน (parallel) กับแผน membrane ซึ่งชวยทําใหอนุภาคที่อยูบนหนา membrane ถูก
พั ดผ านออกไปจากผิ วหน าของ membrane ซึ่งสามารถนํ าไปใช ในงานที่ เกี่ ยวกั บ buffer exchange,
concentration และ clarification
ลักษณะของตัวกรองในอุดมคติ ควรมีลักษณะดังตอไปนี้
1. สามารถกําจัดสิ่งปนเปอนออกจากสารละลายได
2. ไมจับกับผลิตภัณฑหรือสารที่ตองการ (Non product binding)
3. ไมเพิ่มสิ่งแปลกปลอมเขาไปในสารละลายและไมทําปฏิกิริยากับสารละลาย (Compatibility)
ปจจัยที่ควรคํานึงถึงในการเลือกตัวกรอง ไดแก
1. คุณสมบัติของเหลวที่ใชในกระบวนการผลิต (Process Fluid Characterization)
 คุณลักษณะของเหลวที่จะใชกรอง (Nature of the fluid) เชน water-based solution ควรใช
Hydrophilic filter สวนสารละลายจําพวก Gases/ solvent ที่ไมละลายน้ําควรใชเปนแผนกรองแบบ
Hydrophobic filter ทั้งนี้ตองอยาลืมตรวจสอบความเขากันได (Compatibility) ของของเหลวและตัวกรองดวย
 ขนาดอนุภาคและสิ่งปนเปอน (Particles and contaminants) ขนาดอนุภาคและสิ่ง
ปนเปอนชนิดตางกัน จะมีคุณสมบัติทางกายภาพ เชน ขนาดอนุภาค ความแข็งออน การเปลี่ยนรูปราง และ
คุณสมบัติทางเคมี เชน การจับกับแผนกรอง (Binding properties) ไมเทากัน นอกจากนี้ยังพิจารณาดวย
ปริมาณ (จํานวน) และประจุไฟฟาของสารที่ตองการ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 9
2. การเลือกแผนกรองสําหรับใชในงานแตละขั้นตอน (Identify Performance Requirement
ขั้นตอนในงาน Downstream Filter Requirement
Final Fill (ขั้นตอนสุดทายของการผลิตยาฉีด) Sterilizing-grade 0.22 µm
Chromatography column protection Bioburden reduction 0.45 µm
Sterilizing-grade 0.22 µm
Sterile filter หรือ UF/DF protection Pre-filter 0.5-1.0 µm range
Pre-filter protection Clarification filter 0.1 ถึง > 1 µm

3. สภาวะที่ใชในกระบวนการผลิต (Identify Process Conditions)


 ขนาดการผลิต (Batch size) จะเปนตัวชวยเลือกตัวกรองวาจะเปนชนิดแคปซูลหรือชนิด
multi-round housings
 ความถี่ในการใชงาน ชวยในการเลือกประเภทของการกรองวาจะเปน NFF หรือ TFF
 ความดันและอัตราการไหลที่สงผลตอความสามารถและสมรรถนะในการผลิต การกรองดวย
อัตราการไหล หรือคาแรงดันที่ต่ําสามารถเพิ่มความสามารถของแผนกรองได หรือการกรองภายใตความดันที่
ต่ําจะชวยปองกันการอุดตันของแผนกรองได (depth filter) ทั้งนี้ อัตราการไหลมีผลกระทบโดยตรงตอเวลาที่
ใชในการกรอง
 การทําความสะอาดและการฆาเชื้อ ตองพิจารณาถึงวัสดุท่ีใชทําแผนกรองและโครงสราง
ภายนอกของตัวกรองวาทนสารเคมีและอุณหภูมิที่ใชในกระบวนการไดมากนอยเพียงใด
เกณฑในการเลือกตัวกรอง ควรพิจารณาดังนี้
1. Compatibility: พิจารณาวามีความทนทานตอสารเคมีที่ใชหรือไม หรือมีการดูดซับเอาตัวอยาง
ที่ตองการเขาไปไวในตัวกรองหรือไม
 Chemical compatibility: ตัวกรองที่ดีตองสามารถทนตอสารเคมีไดในชวงกวาง และไมมี
การดูดซับหรือจับกับสารตัวอยาง
 Fluid Characteristics: พิจารณาคุณสมบัติของสารละลายที่จะใชกรองวาชอบน้ําหรือไม
ชอบน้ํ า เพื่ อ ใช เ ป น เกณฑ ใ นการเลื อ กตั ว กรองแบบ Hydrophilic ซึ่ ง ส ว นมากทํ า มาจาก Cellulose
Materials/ Modified synthetic polymers เชน PVDF, PE มักใชกับสารละลายพวก small volume
parenterals (SVPs), large volume parenterals (LVPs), Ophthalmics หรือแบบ Hydrophobic ซึ่ง
สวนมากทํามาจาก Synthetics polymers เชน PTFE, PVDF มักใชกับสารละลายประเภท Gases, solvent

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 10
 ความสามารถในการทนกรดด า ง ซึ่ ง จะขึ้ น กั บ ชนิ ด วั ส ดุ ที่ ใ ช ทํ า แผ น กรอง (Membrane
Types and pH Compatibility) ดังตารางดานลาง

Membrane Material Hydrophilic/Hydrophobic Typical Compatible pH range


Cellulose Acetate Hydrophilic 4-8
Mixed Cellulose Ester Hydrophilic 4-8
Regenerated Cellulose Hydrophilic 2-13
PVDF Hydrophilic & Hydrophobic 1-10
Polypropylene Hydrophilic 1-14
Nylon Hydrophilic 1-14
PES Hydrophilic & Hydrophobic 1-14
PTFE Hydrophilic & Hydrophobic 1-14

2. Retention: ระยะเวลาที่ผลิตภัณฑอยูในตัวกรองเปนตัวบงบอกถึงสมรรถนะของตัวกรอง ควร


เลือกใชขนาดของตัวกรองที่เหมาะสม โดยกลไกการเกิด Filter Retention อาศัยหลักการ 2 อยาง ไดแก
 การแยกดวยขนาด (Size Exclusion-Plugging) แบงได 2 กลไกยอย คือ การกรองที่ผิวหนา
แผนกรอง: Sieving (Surface) และการกรองในเนือ้ แผนกรอง: Entrapment (Depth)
 การดูดซับ (Adsorption) เปนแรงกระทําระหวางอนุภาคที่กรองกับพื้นผิววัสดุตัวกรอง โดย
ใชแรงทางไฟฟา และไมขึ้นกับขนาดของโมเลกุล
ทั้งนี้กลไกการกรองขึ้นอยูกับชนิดของของเหลวที่จะกรอง สภาวะในการกรอง อนุภาคที่จะกรอง
และชนิดวัสดุ โครงสรางของตัวกรอง
Sterilizing grade filter หมายถึง ตัวกรองที่สามารถทําใหปราศจากเชื้อได โดยในใบรับรองรุน
การผลิต (Certificate) จะตองระบุการทดสอบความสามารถในการลดเชื้อ (bacterial retention test) ตาม
มาตรฐาน GMP/PICs และ PDA TR26
 ลักษณะโครงสรางภายในของตัวกรอง (Filter Media Structure) มีหลายแบบ ไดแก
o Depth filter: มีความหนาและลักษณะเปนเสนใยสานตัวแบบหยาบๆ ใชในงานกรอง
แบบหยาบ วัสดุที่ใชสวนมากเปน Polypropylene, DE Stacks, Microfiber glass
o Surface filter (Pre-filter): ลักษณะเสนใยสานตัวกันแนนมากกวาแบบ Depth filter
วัสดุที่ใชสวนมากเปน Cellulosic, polypropylene
o Membrane filter: ลักษณะเสนใยสานกันแนน บาง และ มีขนาดรูพรุนเล็กกวา 2
แบบขั้นตน วัสดุที่ใชสวนมากเปน PVDF, Cellulosic, Nylon, PES

3. Ease of use: ตัวกรองที่ดีตองงายตอการใชงาน ไมซับซอน


 ชนิดของตัวกรองอาจแบงตามลักษณะภายนอกได 2 ชนิด ไดแก
o Disk Filter and Holder : ลักษณะของตัวกรองเปนแบบแผน มีขนาดเสนผาศูนยกลาง
ประมาณ 13-293 มิลลิเมตร อยางไรก็ตาม ปจจุบันไมนิยมใชเพราะมีขนาดใหญและ
หนัก หากประกอบไมถูกวิธี มีความเสี่ยงจะที่ไมผาน Integrity test

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 11
o Cartridges: ลักษณะตัวกรองเปนแบบแทง แบงออกเปน Depth cartridges ซึ่งใช
วัสดุที่หนาและราคาถูก ใชในงานกรองทั่วไปและงาน particles removal และแบบ
Pleated Cartridges ซึ่งแผนกรองจะมีลักษณะการพับจีบอยูภายใน ราคาจึงสูงกวา
ใชในงานที่เปน Micro-organism removal, Pre-filtration
4. Filtration cost: เพื่อดูความคุมวาควรใชตัวกรองแบบไหนใหคุมคามากที่สุด โดยคํานึงถึง Flow
rate, Capacity และราคาตอกรัมหรือลิตร

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 12
Introduction of Tangential Flow Filtration (TFF); Principle,
Vocabulary, Key process, Parameters and TFF Membrane Module
Miss Karen Chan
บริษัท เมอรค จํากัด

ชนิดของการกรอง แบงตามทิศทางการไหล ไดแก


1. การกรองแบบไหลตรง (Normal Flow Filtration; NFF)
บางครั้งเรียกวา dead-end filtration เปนการไหลตั้งฉากกับตัวกรอง ของเหลวทั้งหมดจะผานเนื้อ
ตัวกรอง (media) อนุภาคที่มีขนาดใหญกวารูพรุนติดคางบน หรือในตัวกรอง (รูปที่ 4)

รูปที่ 4 แสดงทิศทางการกรองแบบไหลตรง

2. การกรองแบบไหลขวาง (Tangential Flow Filtration; TFF)


การไหลขนานกับผิวหนาตัวกรอง ของเหลวจะผานตัวกรองออกไปบางสวน อนุภาคที่ติดคางอยูจะถูก
พัดผานจากผิวหนาตัวกรอง (รูปที่ 5)

รูปที่ 5 แสดงทิศทางการกรองแบบไหลขวาง
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 13
การประยุกตใช Tangential Flow Filtration (TFF) ในอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ
การประยุกตใชตามขั้นตอนการผลิต
1. กระบวนการผลิตตนน้ํา (Upstream Process)
 กระบวนการเก็บเกี่ยวเซลล (Cell harvesting) สําหรับ Intra-cellular product ไดแก การ
เพาะเลี้ยงเซลลแบคทีเรีย หรือยีสต เพื่อแยกเซลลออกจากอาหารเลี้ยงเชื้อ เพื่อนําเซลลไป
แยกโปรตีนที่ตองการในขั้นถัดไป กระบวนการนี้จะทําใหมีความเขมขนเพิ่มขึ้น
 ทําให Cell culture media มีความใสหรือบริสุทธิ์มากขึ้น (Clarification) สําหรับ Extra-
cellular product ไดแก การเพาะเลี้ยงเซลลสัตว หรือยีสต ผลิตภัณฑจะอยูในอาหารเลี้ยง
เซลล ซึ่งจําเปนตองกรองเอาเซลลทิ้งไป
2. กระบวนการผลิตปลายน้ํา (Downstream Process)
 การทําใหโปรตีนมีความเขมขนมากขึ้น (Concentration)
 การแลกเปลี่ยนบัฟเฟอร (Diafiltration)
งานพื้นฐานที่นํา TFF ไปประยุกตใช ไดแก
1. การทําใหใส (Clarification) เมื่อผลิตภัณฑผานตัวกรอง อนุภาคหรือโมเลกุลขนาดใหญจะติดคาง
กับเยื่อตัวกรอง (membrane)
2. การทําใหเขมขน (Concentration) ผลิตภัณฑจะถูกกักไวบนตัวกรอง สวนสารละลาย (บัฟเฟอร)
จะผานเยื่อตัวกรอง ปริมาตรของผลิตภัณฑจะลดลงเรื่อยๆ
3. การแลกเปลี่ยนบัพเฟอร (Diafiltration) ผลิตภัณฑจะถูกกักไวบนตัวกรอง สารละลาย (บัฟเฟอร)
เกาจะผานเยื่อตัวกรองออกไป และมีการเติมบัฟเฟอรใหมเขาสูผลิตภัณฑ
นิยามศัพทและตัวแปรสําคัญที่ใชในกระบวนการกรองแบบไหลขวาง (TFF Vocabulary definitions and
key process parameter)
1. ระบบการกรองแบบไหลขวาง (Generic TFF system) ประกอบดวย (รูปที่ 6)
 Recycle tank หรือ reservoir สําหรับใสของเหลวที่ตองการกรอง
 Feed pump ทําหนาที่ขับเคลื่อนของเหลวใหไหลผานแผนกรอง
 TFF device หรือ holder ตัวยึดจับหรือติดตั้งแผนกรอง
 Buffer tank สําหรับใสบัฟเฟอรที่ตองการเพื่อแลกเปลี่ยน
 Feed tank ทําหนาที่เก็บและเติมของเหลวลงไปเพิ่มใน recycle tank กรณี recycle tank
มีปริมาตรเล็กกวาของเหลวที่เราจะกรอง
 Transfer pump ทําหนาที่ขนถายของเหลวจาก buffer tank หรือ feed tank เติมใสใน
recycle tank
 Pressure sensor เปนตัววัดความดันของระบบการกรอง และเปนตัวแปรสําคัญในระบบ
 Flow sensor เปนตัววัดอัตราการไหลของระบบการกรอง อาจไมจําเปนตองมีก็ได

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 14
รูปที่ 6 สวนประกอบในระบบการกรองแบบไหลขวาง

2. TFF Module ประกอบดวย (รูปที่ 7)


 Feed แสดงทิศทางการไหลของสารสารละลายขาเขาผานหนาแผนกรอง
 Retentate แสดงทิศทางการไหลของสารละลายขาออกผานหนาแผนกรอง
 Permeate แสดงทิศทางการไหลของสารละลายที่ทะลุผานแผนกรอง

รูปที่ 7 ทิศทางการไหลของการกรองแบบไหลขวาง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 15
3. Channel Flow ประกอบดวย (รูปที่ 8)
 Feed flow (QF) หมายถึงอัตราการไหลขาเขาผานหนาแผนกรอง
 Retentate flow (QR) หมายถึงอัตราการไหลขาออกผานหนาแผนกรอง
 Permeate flow (Qf) หมายถึงอัตราการไหลทะลุผานแผนกรอง

รูปที่ 8 ชองทางการไหลผานของของเหลวในแผนกรอง

4. Pressure Drop (รูปที่ 9)


เปนความแตกตางระหวางความดันขาเขากับความดันขาออกจากแผนกรองในดาน feed channel
โดยสามารถแสดงเปนสมการไดดังนี้
∆P [bar or psi] = PF - PR
โดยที่
∆P คือ pressure drop
PF คือ ความดันขาเขา (feed pressure)
PR คือ ความดันขาออก (retentate pressure)
 โดยคา ∆P ความแตกตางของความดันตลอดดาน Feed channel ของแผนกรอง
 แรงตานของการไหลขาเขาในชอง feed channel จะเปลี่ยนแปลงคาไปตามความความหนืด
อัตราการไหลเขา ขนาดและรูปรางของ Feed channel

รูปที่ 9 แสดงความแตกตางของความดันในระบบการกรองแบบไหลขวาง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 16
5. Transmembrane Pressure (TMP) (รูปที่ 10)
แสดงเปนสมการไดดังนี้
TMP [bar or psi] = [(PF + PR)] / 2 - Pf
โดยที่
TMP คือ คาความดันเฉลี่ยที่ผานแผนกรอง (membrane)
PF คือ ความดันขาเขา (feed pressure)
PR คือ ความดันขาออก (retentate pressure)
Pf คือ ความดันหลังผานแผนกรอง (permeate pressure)

รูปที่ 10 แสดงตัวอยางการคํานวณหา TMP

6. Flux (J)
Flux (J) คือ อัตราการไหลผานแผนกรองดาน Permeate ที่ไหลผานตอพื้นที่แผนกรอง เปน
เครื่องบงชี้ “ความสามารถในการผลิต” (Production Capacity) ของแผนกรอง (รูปที่ 11)
แสดงเปนสมการไดดังนี้
J [Lm-2h-1] = Qf/A
โดยที่
J คือ อัตราการไหลตอพื้นที่ผิวแผนกรอง
Qf คือ อัตราการไหลดาน permeate channel
A คือ พื้นที่ผิวของแผนกรอง

รูปที่ 11 แสดงการคํานวณ Flux ที่ไดจากอัตราการไหลดาน permeate channel ตอพื้นที่ผิวทั้งหมดของ


แผนกรอง
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 17
7. Membrane Polarization
คื อปรากฏการณ ค วามแตกต า งของความเขมขน ของโปรตีน ในสารละลายบริเวณกึ่ง กลาง Feed
channel (Cb) กับความเขมขนของโปรตีนบริเวณผิวหนาแผนกรองหรือเมมเบรน (Cw) เมื่อมีการกรองผาน
TFF (รูปที่ 12) โดยปรากฏการณนี้เปนกระบวนการที่ผันกลับได (เปลี่ยนแปลงตามการกําหนดคา TMP) การ
เกิดขึ้นของปรากฏการณนี้เริ่มจากการที่ยังมีความแตกตางของความเขมขนในชวงแรก ไปจนถึงเกิดความ
แตกตางของความเขมขนที่สามารถควบคุมได หรือมีคาคงที่ เมื่อเพิ่ม TMP ไปเรื่อยๆ โปรตีนจะเขมขนมากจน
เกิดสภาวะเจลเคลือบปดผิวหนาแผนกรอง ประสิทธิภาพการกรองในจุดนี้จะลดลง (รูปที่ 13)

รูปที่ 12 แสดงปรากฏการณความแตกตางของความเขมขนของโปรตีนในสารละลายบริเวณกึ่งกลาง Feed


channel (Cb) กับความเขมขนของโปรตีนบริเวณผิวหนาแผนกรองหรือเมมเบรน (Cw) เมื่อมีการกรองผาน TFF

รูปที่ 13 แสดงการเกิดสภาวะเจลเคลือบปดผิวหนาแผนกรอง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 18
8. ความสัมพันธระหวาง Polarization Mechanism และ Flux
เมื่อให Q (feed flow rate) คงที่ คาอัตราการไหลผานแผนกรองตอพื้นที่แผนกรอง (Flux) จะแปร
ผันโดยตรงกับคาความดันเฉลี่ยผานแผนกรอง (TMP) แบบ Linear equation จนกระทั่งถึงจุดๆหนึ่งที่คา
Flux จะเริ่มคงที่หรือไมคอยเปลี่ยนแปลง เนื่องจากเกิดสภาวะ Polarization ทําใหเกิดเจลปดหนาแผนกรอง
แสดงวาแผนกรองเริ่มมีการอุดตัน โดยจุดสุดทายกอนที่ Flux จะมีคาคงที่ เรียกวา Optimal TMP คือจุดที่คา
อัตราการไหลตอพื้นที่มากที่สุด โดยที่ไมทําใหเกิดสภาวะ Polarization และแผนกรองไมอุดตัน (รูปที่ 14)

รูปที่ 14 แสดงความสัมพันธระหวาง Flux และ TMP เพื่อหา optimal TMP

9. ความสัมพันธระหวาง Polarization, TMP และ Feed Flow


การรักษาสมรรถภาพของแผนกรองโดยควบคุมสมดุล Polarization (การตกตะกอนของอนุภาค) หรือ
ถูกขจัดออก
 TMP จะเปนแรงขับเคลื่อนทําใหเกิด Flux
 การไหลผานทําใหเกิดการพัดพาผานหนาพื้นผิวแผนกรอง
 นอกจากนี้ยังไดรับผลกระทบจากอุณหภูมิและความเขมขน

รูปที่ 15 แสดงความสัมพันธระหวาง TMP และ cross flow

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 19
10. Retention & Passage
 Passage คือ ปริมาณของสารที่ผานแผนกรอง
 Retention คือ ปริมาณของสารที่ถูกกักไวบนแผนกรอง
 % passage คือ รอยละของสัดสวนของความเขมขนของสารที่ผานแผนกรองตอความเขมขน
สารที่ถูกกักไว
 % retention คือ รอยละของสารที่ถูกกักไว เปนสวนกลับของ % passage

Retention of protein X = 100 – (1 g/L permeate/100 g/L retentate) x 100


= 99 %
รูปที่ 16 ตัวอยางการคํานวณรอยละของการกักเก็บโปรตีนที่ตองการ

11. Volumetric Concentration Factor (VCF) คืออัตราสวนของปริมาตรกอนกรองและ


หลังกรอง

ตัวอยางการคํานวณ Feedstock 20L ถูกกรองจนเหลือ 2 L อีก 18L ถูกกรองผานแผนกรองเปน Filtrate


เพราะฉะนั้น VCF = 20L/ 2L
= 10 เทาของความเขมขน

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 20
12. Protein Concentration Factor (CF)
ความเขมขนของโปรตีนสุดทาย
𝐶𝐹 =
ความเขมขนของโปรตีนเริ่มตน
ตัวอยางการคํานวณ Feedstock 20L ถูกกรองจนเหลือ 2L อีก 18L ถูกกรองผานแผนกรองเปน Filtrate
เพราะฉะนั้น VCF = 20L / 2L
= 10 เทาของความเขมขน
Feedstock 20L นี้มีผลิตภัณฑ 5 g/L และอีก 48 g/L พบใน Retentate
เพราะฉะนั้น CF = 48 / 5
= 9.6

13. Diafiltration
คือ แยกสารที่สนใจออกจากตัวทําละลายเดิม โดยอาศัยการกรองผานของรูพรุน สารที่มีขนาดเล็ก
ไดแก สารละลายเกลือหรือบัฟเฟอรจะสามารถลอดผานแผนกรองได โดยที่สารที่สนใจยังคงอยู จากนั้นนําตัว
ทําละลายหรือบัฟเฟอรใหมเขามาทดแทน

รูปที่ 17 แสดงการแยกตัวทําละลายออกจากสารที่สนใจ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 21
14. Yield
หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดมาหลังจากสิ้นสุดกระบวนการ ซึ่งระหวางกระบวนการอาจสูญเสียผลิตภัณฑ
ไดจาก
 หลุดรอดไปทาง Permeate
 ถูกแผนกรองดูดซับ
 เกิดการติดคางเนื่องจากขอจํากัดทางเครื่องมือ

การเลือกใชงานตัวกรอง TFF
ประเภทของแผนกรองหรือเมมเบรน TFF แบงตามขนาดรูพรุน ไดแก
1. Microfiltration membrane
ขนาดรูพรุนอยูระหวาง 0.10 - 0.65 µm หรือ Nominal molecular weight limit (NMWL)
500 kD - 3000 kD ใชแยกเซลลและเศษซากเซลลออกจากโปรตีน โดยทั่วไปเนื้อวัสดุมักจะเปนชนิด PVDF
2. Ultrafiltration membrane
ขนาดรูพรุนอยูระหวาง 0.001 – 0.10 µm หรือ NMWL 1 kD – 500 kD ใชแยกโปรตีนจากสิ่ง
ปนเป อนที่ มี น้ํ า หนั ก โมเลกุ ล น อย โดยทั่ว ไปเนื้อ วัส ดุมั ก จะเป น regenerated cellulose และ
polyethersulfone (PES)

ปจจัยที่ใชในการเลือกตัวกรอง ไดแก
 Module type เชน
o Flat-Plate (Cassette): ใชมากใน Bioprocessing โดยเฉพาะ MAbs
o Spiral: เปนตัวเลือกที่มีตนทุนต่ําสําหรับการผลิตขนาดใหญ
o Hollow fiber: ตองใชกับ pump ที่มีอัตราการสูบฉีดสูง เพื่อขนสงมวลสารอยางมี
ประสิทธิภาพ
o Stirred Cell: เหมาะสําหรับการศึกษา Screening studies เทานั้น
 ลั ก ษณะทางเดิ น ของของเหลวภายในแผ น กรอง ทํ า ให เ กิ ด การไหลแบบป น ป ว น (Channel
turbulence promoter (screen))
 ขนาดรูพรุนของแผนกรอง
 ชนิดวัสดุของแผนกรอง
การเลือกขนาดรูพรุนของตัวกรอง ใชหลักการทั่วไป ดังนี้
 กรณีที่ไมตองการใหผลิตภัณฑผานแผนกรอง ใหใชแผนกรองที่มีขนาดรูพรุนเล็กกวา 1 ใน 3 ถึง
1 ใน 5 ของขนาดผลิตภัณฑ
 กรณีที่ตองการใหผลิตภัณฑผานแผนกรอง ใหใชแผนกรองที่มีขนาดรูพรุนใหญกวา 3-5 เทาของ
ขนาดผลิตภัณฑ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 22
ขอควรพิจารณาในการเลือกแผนกรองสําหรับแยกสาร
 ตองทราบ pH, Ionic strength, ความหนืด ของสารละลาย
 สภาวะของกระบวนการ
o Pre filtration/ Pretreatment
o อุณหภูมิ
o เวลาและความถี่
o ขอจํากัดของเครื่องมือ
o การเลือกสารทําความสะอาด
o ขอจํากัดของบุคลากร

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 23
Example of Filtration Process Development of Normal Flow
Filtration: Optimization and scale-up in pre-filtration of
egg-based influenza vaccine production
นาวสาวพรรณรวี โพธิ์เทียนทอง
องคการเภสัชกรรม

Optimization and scale-up in pre-filtration of egg-based influenza vaccine production:


วัตถุประสงค เพื่อกําจัดเศษเซลล และเพื่อปองกันการฉีกขาดของ Ultrafiltration membrane
ในกระบวนการผลิต Influenza vaccine จากไขไก หลังจากที่เลี้ยงไขและสกัดเอา Allantoic fluid
จากไขไก จะมีขั้นตอน Pre-filtration กอนที่จะนําไปทําขั้นตอน Ultracentrifugation เพื่อแยกโปรตีนที่
ตองการออกมา ในขั้นตอนนี้จําเปนตองมีการพัฒนาเพื่อใหได Yield ของโปรตีนที่ตองการในปริมาณสูงและ
ป องกั น การอุ ดตั น ของแผ น กรอง โดยในขั้ น ตอนของการพัฒ นาเทคนิค Pre-filtration นี้ แบงออกเปน 4
ขั้นตอน ดังนี้
1. Characterize fluid properties & Process criteria: ดูปริมาณของไขไกที่เลี้ยงวาสามารถให Fluid
ในปริมาณเทาใด โดยใน Pilot scale จากไขปริมาณ 2,000 ฟอง สามารถให Allantoic fluid ได 20 ลิตร
ในขณะที่เปน Industrial scale ใชไขไก 20,000-50,000 ฟอง จะตองได Fluid 300-500 L (รูปที่ 18)

รูปที่ 18 ภาพรวมการขยายขนาดผลิตวัคซีนจาก pilot scale สู production scale

2. Establish judgment criteria: กําหนดเกณฑมาตรฐานของผลิตภัณฑที่ควรจะมี โดยพิจารณา


จากปริมาณ Product yield ตองมากกวา 95% (HA titer & Protein content), Filter quality วาสามารถ
กรองผลิตภัณฑไดสะอาดมากนอยเทาใด, และ Economics โดยพิจารณาระหวาง Filtration capacity และ
Filtration cost ตองใหมีความคุมคา
3. Screening type of filter available on market: ทําการตรวจสอบหาผลิตภัณฑแผนกรอง
ชนิดตางๆ ที่มีอยูในตลาด โดยวัตถุประสงคสําคัญที่จะนํามาพิจารณาคือ แผนกรองที่ใชตองสามารถขยาย
ขนาดได คือสามารถนําไปผลิตใน Batch ใหญได สามารถปรึกษาขอมูลจากผูผลิตได (รูปที่ 19)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 24
รูปที่ 19 แสดงคุณสมบัติที่แตกตางกันของแผนกรองแตละชนิด

4. Performing the filtration study: เมื่อไดแผนกรองที่ตองการแลว ตอมาจึงเปนการทดสอบ


ความสามารถของแผ น กรองว า สามารถกรองไดต ามเกณฑมาตรฐานที่กํ าหนดไวห รื อไม โดยการทํา การ
คํานวณหา Filter Capacity วาแผนกรองสามารถใชกรอง Fluid ไดเทาไหรกอนที่จะเกิดการ Plugging หรือ
เกิดการอุดตัน โดยใชวิธี Volume endpoint หรือ Constant pressure test เพื่อหาคา Vmax หรือ ปริมาตร
มากสุดที่สามารถกรองไดกอนแผนกรองจะตัน (รูปที่ 20)
5.

รูปที่ 20 ตัวอยางการทดสอบหาขนาดของแผนกรองที่จะใชในการขยายขนาดการผลิต

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 25
Filtration in antiserum manufacturing process
ภญ. ลลิดา สกลภาพ
สถานเสาวภา สภากาชาดไทย

ในกระบวนการผลิต Antiserum ประกอบดวยขั้นตอนของการ Precipitation  Clarification


 Filtrate collection  Diafiltration and concentration  Sterile filtration  Filling and
Capping (รูปที่ 21) ซึ่งในขั้นตอนการผลิตจะมีการใช Utilities ตางๆ เชน Water system, CDA system,
HVAC system, Gas system, Steam system เปนตน รวมถึงมีการใชเครื่องมือตางๆ ไดแก Autoclave,
Freeze dryer, Vial washing machine, Depyrogen oven และ Inspection machine ในกระบวนการ
ดังกลาวจะตองมีแผนกรองเพื่อกรองผลิตภัณฑในแตละขั้นตอนใหสะอาดขึ้น
การเลือกแผนกรองจะตองคํานึงถึง ชนิดของแผนกรองที่ใช วัสดุที่ใชทําแผนกรอง Code no. ขนาด
ของรูพรุน วัตถุประสงคของแผนกรองที่จะนําไปใช ขนาดและเสนผานศูนยกลางของแผนกรอง ปริมาณที่ใชตอ
การผลิตตอป และ Integrity check เพื่อทดสอบความสมบูรณของแผนกรองที่ใช

รูปที่ 21 แสดงขั้นตอนการกรองในกระบวนการทําใหบริสุทธิ์
ในขั้นตอนการเลือกแผนกรองที่เหมาะสมจําเปนตองพิจารณาจากลักษณะของผลิตภัณฑ (Product
characterization) เปน สํ าคั ญว า หลั งจากกรองในขั้น ตอนตางๆแลว ตองการที่จ ะเก็บ Filtrate หรื อ
Precipitate ซึ่งสามารถแยกไดจากมวลโมเลกุล/ รูปราง/ ความขุน/ ความบริสุทธิ์ เปนตน เมื่อไดแผนกรองที่
เหมาะสมแลว จึงทําการหาสภาวะ (Conditions) ตางๆที่เหมาะสมในการใชกรอง เชน Flow rate/ pressure
จากนั้นเมื่อทดสอบใน Trial batch แลว อาจจะตองทดสอบใน Scale-up batch เพื่อใหไดสภาวะที่เหมาะสม
แลวจึงทําการผลิตใน Industrial batch ตอไป ซึ่งโดยสรุปแลว Parameters สําคัญที่ควรมีการคํานึงถึง
สําหรับ Filtration system ไดแก:
 Material: วัสดุที่ใชทําตัวกรอง
 Pore size: ขนาดของรูพรุนในแผนกรอง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 26
 Filtration condition: สภาวะที่ใชในการกรอง
o Flow rate
o Diff Pressure
o Stabilize membrane condition
 Model/Type
o Sheet paper, Cartridge, Capsule
o Single use
 Filter Surface
 Head space of filter system
 Filtration time
 Sterilization method: SIP/Autoclaving
 Cleaning method: CIP
 Validation
o Cleaning validation, Process validation
 Product compatibility/Absorption: เพื่อดูความเขากันไดของแผนกรองและผลิตภัณฑ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 27
Principle of Integrity Test, consideration for automatic
integrity tester
Mr. Somasundaram G.
บริษัท เมอรค จํากัด

Introduction to Integrity Testing Theory


Sterilizing Grade Filter ทําหนาที่กําจัดจุลชีพจากของเหลว และทําใหไดของเหลวปราศจากเชื้อ
คุณสมบัติของ sterilizing grade filter จะถูกกําหนดดวยขนาดรูพรุน และ Bacterial Retention ซึ่งอางอิง
ตามวิธีของ ASTM F838 05 หมายถึงการกักเก็บเชื้อ B. diminuta ไดมากกวา 107 cfu ตอ cm2 ของพื้นที่
การกรอง และทํ า ให ของเหลวที่ กรองได ป ราศจากเชื้อ (sterile filtrate) จุล ชีพที่ส ามารถกรองไดด ว ย
sterilizing grade filter ไดแก แบคทีเรีย ยีสต รา และโปรโตซัว

หลักการของการทํา Bacterial Retention Test

รูปที่ 22 แสดงวิธีทดสอบ bacterial retention ตามมาตรฐาน ASTM F838 05

การตรวจสอบความสมบูรณของแผนกรอง (Integrity Testing)


วัตถุประสงคของการทํา integrity testing
 เพื่อตรวจสอบความถูกตองของการติดตั้ง
o ตรวจสอบการรั่วของระบบที่อาจเกิดจาก O-ring, Gaskets, การ seal ผิดพลาด
 เพื่อยืนยันคุณลักษณะของตัวกรองกับบริษัทผูผลิต
o ใหมั่นใจวาขนาดรูพรุนของตัวกรองถูกตอง
 เพื่อตรวจสอบความสมบูรณภายนอก
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 28
o ใหมั่นใจวาแผนกรองมีความสมบูรณกอนทําใหปราศจากเชื้อ (Sterilization)
o ใหมั่นใจวาหลังการใหไอรอน หรือ Autoclave แผนกรองยังมีความสมบูรณ
 ทําตามขอกําหนดทางกฎหมาย
o เชื่อมโยงระหวางสภาวะที่ทํา Validation และสภาวะการทํางานปจจุบัน
o ขอกําหนดของ GMP และการตรวจสอบ (Audit)
การทดสอบ integrity ของตัวกรองในแตละขั้นตอน โดยมีวัตถุประสงคแตกตางกัน ดังนี้
 ทดสอบกอนนําไป sterilization เพื่อใหทราบวาตัวกรองมีการประกอบกับ Housing ผิดพลาด
หรือตัวกรองไดรับความเสียหายระหวางแกะกลองหรือไม
 ทดสอบกอนใชงาน ใหทราบวาตัวกรองเสียหายจากการ Sterilization หรือไม
 ทดสอบหลังใชงาน ใหทราบวาตัวกรองไดรับความเสียหายระหวางกระบวนการหรือไม
การกรองในแตละขั้นตอนของกระบวนการผลิตชีวผลิตภัณฑ มีขอกําหนดใหทดสอบ integrity เฉพาะ
ในขั้นตอน final sterile filtration เทานั้น สําหรับการกรองในขั้นตอนอื่นใหขึ้นกับการประเมินความเสี่ยง
ขอกําหนดทางกฎหมาย (regulatory requirements) ในการทํา integrity test ไดแก
 EU GMP กําหนดใหทําการทดสอบ integrity ทั้งกอนใชและหลังใชงานตัวกรอง
 US FDA กําหนดใหทําการทดสอบ integrity เฉพาะหลังการใชงานเทานั้น
แนวปฏิบัติในภาคอุตสาหกรรม ไดแก
 PDA TR26 แนะนําใหทํา integrity ทั้งกอนและหลังการกรองปราศจากเชื้อ
 ISO 13408 แนะนําใหทํา integrity ณ จุดใชงาน ในระบบปดกอนการกรอง
ประเภทของการทดสอบ Integrity Tests โดยทั่วไป จําแนกเปน
1. การทดสอบที่ไมทําใหตัวกรองเสียสภาพ (Non-Destructive) ไดแก
 อาศัยแรงดันแคพิรารี่ (Capillary force)
o ไดแก Bubble point, water intrusion
o วิธีการนี้มีความสัมพันธโดยตรงกับขนาดรูพรุนและ bacterial retention
 อาศัยการแพรของกาซ (Diffusion Based)
o ไดแก Diffusion, Forward flow, HydroCorr
o สามารถทํานาย Bacterial Retention ได
o ไวตอการตรวจสอบที่มีการไหลปริมาณมาก
2. การทดสอบที่ทําใหตัวกรองเสียสภาพ (Destructive) ไดแก
 การทดสอบการกักของเชื้อ (Bacterial Retention)
o เปนการทดสอบที่บงชี้ความสามารถของตัวกรองนั้นเปนไปตามรูปแบบการใชงานที่ออกแบบไว
o ทําใหตัวกรองเสียสภาพ ไมสามารถนําไปใชงานตอได ไมสามารถนําไปตรวจสอบ ณ จุดใช
งานไดในทางปฏิบัติ
ตามขอบังคับของ FDA แผนกรองที่จะใชในการทําใหปราศจากเชื้อ จะตองหาความสัมพันธระหวาง
วิธีการทดสอบแบบ non-destructive และวิธีการทดสอบแบบ destructive ตามแนวทางของ PDA TR26
เสมอ
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 29
ประเภทของการทดสอบ Integrity Test ที่นําไปตรวจสอบระหวางกระบวนการผลิต แบงเปน
Hydrophilic Filter (Liquid) Hydrophobic Filters (Gas & Vent)
• Bubble point (BP) • Water Intrusion
• Diffusion (Forward Flow) • Alcohol BP
• Enhanced (Diffusion + BP) • Alcohol Diffusion

การทดสอบ BP, Diffusion และ Water intrusion จะตองมีความสัมพันธกับ Bacterial Retention เสมอ
การทดสอบความสมบูรณของแผนกรอง (Integrity Test) ทางกายภาพ
1. อาศัยหลักการแพรของกาซ (Diffusion)
การทดสอบเริ่มตนจากการทําแผนกรองใหเปยก จากนั้นใหแรงดันที่คาๆหนึ่ง กาซจะละลายใน
ของเหลวที่ อยู ในรู พรุ น ของแผ น กรองที่ถูกทําใหเปย ก ผลที่ไดคือกาซจะแพรผานฝง Upstream ไปยั ง
Downstream ของแผนกรอง จากนั้นวัดอัตราการไหลของกาซที่เกิดขึ้น
2. อาศัยหลักจุดเกิดฟอง (Bubble Point)
การทดสอบเริ่มตนจากการทําแผนกรองใหเปยก น้ําจะถูกดึงเขาไปในรูพรุนดวยแรงดัน Capillary
เมื่อใหแรงดันสูงขึ้นถึงคาๆหนึ่ง จนเพียงพอตอการไลน้ําในรูพรุนออกมาได ถือเปนจุดเปลี่ยน (Transition
point) ของการแพรผานของกาซมาเปนการไหลของกาซผานรูพรุนที่มีขนาดใหญที่สุดกอน ซึ่งคาความดัน ณ
จุดดังกลาวเรียกวา Bubble point
3. อาศัยหลักการแทรกผานของน้ํา (Water Intrusion)
เปนการทดสอบที่ใชกับ Hydrophobic polymer หรือตัวกรองที่ไมยอมใหน้ําผาน Water Intrusion
Pressure เปนคาความดันต่ําสุดที่สามารถผลักน้ําเขาไปยังรูพรุนที่ใหญที่สุดของแผนกรองที่ไมยอมใหน้ําผาน
(Hydrophobic membrane)
ขั้นตอนการทดสอบเริ่มจากติดตั้ง Cartridge ที่แหง จากนั้นเติมน้ําฝง Upstream ใหทวม คอยๆให
ความดันเขาไปและคงความดันคานั้นไว ความดันจะทําใหแผนกรองถูกบีบอัด คาที่ไดจะเปนคาความดันต่ําสุด
ที่สามารถผลักน้ําเขาไปยังรูพรุนที่ใหญที่สุดของแผนกรองได

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 30
ปจจัยที่มีผลตอ Integrity Test แบงตามวิธีทดสอบ ตามตารางดานลาง
Bubble Point Diffusion
• การทําใหแผนกรองเปยก (Wetting) อยาง • การทําใหแผนกรองเปยก (Wetting) อยางทั่วถึง
ทั่วถึง • สารละลายที่ใชทดสอบ (Wetting solution)
• รูปรางของรูพรุน • มีสิ่งกีดขวางรูพรุน
• สารละลายที่ใชทดสอบ (Wetting solution) • กาซที่ใชทดสอบ (Test Gas)
• มีสิ่งกีดขวางรูพรุน • อุณหภูมิ
• ขนาดความกวางของรูพรุน • ความแตกตางของความดัน (Differential
• อุณหภูมิ Pressure)
• ความพรุน (Porosity)
• พื้นที่แผนกรอง
• ความหนืดของสารละลายที่ใชทดสอบ

ปจจัยที่ควรคํานึงถึงเพื่อใหการทดสอบ Integrity มีความนาเชื่อถือ

Test
Selection

Stable
Testing SOP
Environment

First Time
Every Time
Robust
Wetting IT (FTET) Consistent
Test fluids
procedure

Trained Validated
Opeator Equipment

รูปที่ 23 แผนภาพองคประกอบของการทดสอบ integrity ที่ใหความนาเชื่อถือ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 31
การเลือกวิธีทดสอบ (Test Selection) ขึ้นกับ
1. ชนิดของแผนกรอง ไดแก ชนิดของของวัสดุที่ใชทําแผนกรอง พื้นที่ผิว ขนาดรูพรุน และโครงสราง
ของแผนกรอง เปนตน
Hydrophilic Filter (Liquid) Hydrophobic Filters (Gas & Vent)
• Bubble point (BP) • Water Intrusion
• Diffusion (Forward Flow) • Alcohol BP
• Enhanced (Diffusion + BP) • Alcohol Diffusion
2. กระบวนการที่ จ ะนํ า ไปใช ได แ ก การทดสอบทํ า โดยเครื่ อ งทดสอบอั ต โนมั ติ หรื อ manual
สภาพแวดลอมในการทดสอบมีอุณหภูมิคงที่หรือไม
ผูทําการทดสอบ ( Certified Operator)
ผูทําการทดสอบมีความสําคัญตอความนาเชื่อถือของผลทดสอบที่ได ดังนั้นตองไดรับการอบรมอยาง
เขมงวด
วิธีการทําใหแผนกรองเปยก (Robust Wetting Procedure)
 วิธี BP และ Diffusion ตองทําใหแผนกรองเปยกอยางทั่วถึง
o ถากาซผานรูพรุนที่แหง อาจทําใหผลการทดสอบแสดง False Positive
 การทําใหเปยกที่ไมทั่วถึง สวนใหญเกิดจากการไมควบคุมอัตราการไหลของของเหลวที่ทําใหเปยก
และการใชความดันในการชวยไลฟองอากาศที่ไมเหมาะสม
 การกําหนดวิธีการทําใหเปยกขึ้นอยูกับ
o คําแนะนําของบริษัทผูผลิต
o ความเขาใจคุณลักษณะของแผนกรอง
o ความสามารถของกระบวนการ การควบคุมและการตรวจสอบ
อุณหภูมิสภาพแวดลอมคงที่
 ข อ กํ า หนดของผู ผ ลิ ต โดยทั่ ว ไปกํ า หนดให ทํ า การทดสอบที่ อุ ณ หภู มิ ห อ ง (Ambient
temperature) หรือประมาณ 23 องศาเซลเซียส
 ถ ามี การปฏิ บั ติ ง านนอกเหนื อ อุ ณ หภู มิ ห อง ควรตรวจสอบความถู กต อ งของวิ ธี เ พื่ อกํ า หนด
specification ใหม
 เมื่อใชเครื่อง Integrity Test แบบอัตโนมัติ เมื่ออุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลงระหวางการทดสอบ
จะทําใหมีความดันเกิน หรือขาดในฝง Upstream ได ซึ่งเปนผลทําใหการทดสอบผิดพลาด
ตามกฎของกาซในอุดมคติ (Ideal Gas Law): PV = nRT
o เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความดันเพิ่มขึ้น
o เมื่ออุณหภูมิลดลง ความดันลดลง
 ผูปฏิบัติงานที่ผานการอบรมแลวตองสามารถดูผลกระทบของอุณหภูมิจาก Flow curve ได การ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเพียง 1°C ระหวางการทดสอบ อาจทําใหเกิด false negative ได เนื่องจากความดันที่
เปลี่ยนแปลงเกิดจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปแทนที่จะเกิดจากการไหลของกาซ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 32
 สาเหตุที่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง
o การ Stabilization เกิ ดขึ้นไมเพี ย งพอ จากการทํ าใหตั ว กรองเปย กดว ย Water for
Injection ที่รอน
o สภาพแวดลอมระหวางการทดสอบมีการเปลี่ยนแปลง เชน อยูใกลเครื่อง Autoclave, HVAC
ขาออก, ประตูหองเย็น หรือหนาตาง
การตรวจสอบความถูกตองของเครื่องมือ (Validated Equipment)
 Design Specification and Qualification (DQ): เครื่องมือถูกออกแบบและเปนไปตาม
ขอกําหนดของ GMP
 Installation Qualification (IQ): เครื่องมือถูกสรางและติดตั้งเปนไปตามขอกําหนดการ
ออกแบบ
 Operation Qualification (OQ): ระบบสาธารณูปโภคสามารถรองรับได และสามารถปฏิบัติงาน
ไดตามขอกําหนดการออกแบบ
 Process Qualification (PQ): เครื่องสามารถใชงานในกระบวนการที่จําเพาะเจาะจง และทําให
กระบวนการผลิตผลิตภัณฑมีความสม่ําเสมอ ตามขอกําหนดและคุณลักษณะคุณภาพเบื้องตน
คุณลักษณะของของเหลวมีผลตอการทํา Integrity Test
 องคประกอบของของเหลวที่จะกรองมีผลตอแรงตึงผิว และ/หรือ อัตราการแพรของกาซ ซึ่งทํา
ใหผลการทดสอบ Integrity Test มีความแตกตาง เมื่อเปรียบเทียบกับขอกําหนดที่ไดจากบริษัทผูผลิต ซึ่ง
โดยทั่วไปจะใชน้ําในการทดสอบ
 สาเหตุที่ทําใหผลทดสอบไมเหมือนกับผูผลิต
o การปนเปอน (Contamination): เกิดเนื่องจากมีการใชสายซิลิโคนใหม น้ํายาทําความ
สะอาดตกคาง และอื่นๆ
o ผลิตภัณฑที่ตกคาง (Residual Product): สามารถแกปญหานี้ไดดวยการกําหนดคาการ
ทดสอบ Integrity test ใหม โดยใชตัวผลิตภัณฑในการทําใหเปยก หรือกําหนดวิธีการลาง
แผนกรองที่เหมาะสมหลังการใชงาน
Product Specific Integrity Testing
 การใชผลิตภัณฑทําใหตัวกรองเปยกเทียบกับการใชน้ํา ในการทํา Integrity Test
o ผูผลิตตัวกรองแนะนําคาการทดสอบที่จําเพาะกับสารละลายและสภาวะการทดสอบ
o การทดสอบกับสภาวะสารละลายที่ไมจําเพาะ จําเปนตองใชผลิตภัณฑหรือกระบวนการที่มี
คา Parameters ที่จําเพาะ
o การทดสอบรวมไปถึงการตรวจสอบผลกระทบของของเหลว และกระบวนการที่เปลี่ยนแปลง
ผลการทดสอบ Integrity Test และการทําคาเหลานี้ซ้ํา
 หลักการของ Product Specific Test
o เปรียบเทียบน้ําและผลิตภัณฑเมื่อเทียบกับตัวกรองที่เหมือนกัน
o ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะกระทบกับ
• แรงตึงผิว
• ปริมาตรและเวลาที่สัมผัสสาร (contact time/volume)
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 33
• รุนการผลิตของตัวกรอง
• อุณหภูมิ
o วิธี Bubble point ควรทดสอบกับตัวกรองหลายๆรุนการผลิต
o วิธี Diffusion สามารถทําไดหลายครั้งกับตัวกรองตัวเดิม
o การกําหนดขอกําหนดของผลิตภัณฑควรตั้งอยูบนพื้นฐานของผลการทดลองมากกวาการ
คํานวณ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 34
Filter Validation
Mr. Michael Payne
บริษัท เมอรค จํากัด

ในขั้นตอนกระบวนการผลิตมีหลายจุดที่จําเปนตองใช Sterilizing grade filter โดยที่ Sterilizing


grade filter หมายถึง ตัวกรองที่ทําใหเกิดผลิตภัณฑที่ปราศจากเชื้อ (To produce sterilized products) ทั้ง
ในกระบวนการผลิตตนน้ํา (Upstream Process) กระบวนการผลิตปลายน้ํา (Downstream process) และ
ขั้นตอน Final Filtration โดยสามารถประเมินความเสี่ยงออกมาเปนตัวเลขไดจากสมการนี้
ความเสี่ยง (Risk) = Process location x Operation complexity x Product contact
การทํา Filter Validation แบงผูรับผิดชอบออกเปน 2 กลุม ไดแก:
1. ผูผลิตแผนกรอง (Vendor Responsibilities) มีหนาที่ ดังนี้
 Filter Design Qualification
 Filter Fabrication Process Qualification
 Filter Product Quality: Integrity, Temperature resistance, Pressure, Sterilization, In
vivo/ In vitro Toxicity, Non-fiber releasing
2. ผูใชงาน (User Responsibilities) มีหนาที่ในการพิจารณาวาภายใต Worst-case condition
นั้น Filter สามารถทํางานไดอยางปกติหรือไม และตองเปนไปตาม Guideline ที่กําหนด ไดแก
 การตรวจสอบคุณสมบัติผูผลิต (Vendor auditing)
 การเลือกใชแผนกรอง (Filter Selection)
 การศึกษาการกรองดวยผลิตภัณฑจริง (Filter/ Product Validation Studies)
 การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการ (Process Validation) ไดแก System Design,
Validation, Sterilizing, Cleaning, Operator Training
ในกระบวนการผลิตยา Filter ที่จําเปนตองมีการทดสอบคุณภาพ ไดแก
 Sterilizing liquid filter
 Bioburden reduction filter
 Sterilizing gas filtration
โดยทุกตัวกรองนั้นไมจําเปนจะตองมีการทดสอบแบบเดียวกันทั้งหมด สามารถเลือกทดสอบบาง test ที่
เหมาะสมกับงานที่จะใช โดยเลือกการทดสอบตามลําดับความสําคัญที่ควรทําการทดสอบ จากมากไปหานอย ดังนี้
Quality System, Chemical compatibility, Duty, Binding/ Absorption, Integrity testing,
Sterilization, Extractable/ Leachable, Microbiological retention

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 35
ตัวแปรตางๆที่มีผลตอการกรอง (Validation Parameters) ไดแก
1. Products: ปจจัยที่มีผลตอแผนกรองคือ คา pH, Osmolality, Ionic strength, Surfactants,
และ Viscosity
2. Membrane: ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของแผนกรอง ไดแก การกระจายตัวของรูพรุนในแผน
กรอง, Surface Chemistry, Microporous Structure
3. Process: ปจจัยที่มีผลตอแผนกรองคือ Differential pressure, Flow rate, Time และ
Temperature ที่ใชในการกรองสาร
4. Organism: ปจจัยที่มีผลตอแผนกรองคือ ขนาด รูปราง และปริมาณของ organism ที่มีอยูใน
แผนกรอง
ในกระบวนการตรวจสอบคุณภาพของแผนกรอง (Filter Validation) ประกอบดวย 8 ปจจัยหลัก ทั้ง
ซึ่งทั้ง 8 ปจจัยนี้ ตองเปนตัวแทนที่แสดงถึง Worst-case ที่สามารถเกิดไดในการใชแผนกรอง ดังนี้
1. Integrity testing: มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบความสมบูรณของแผนกรองวาสามารถกรองได
อยางสมบูรณหรือมีการรั่วของแผนกรอง หรืออาจมีการรั่วจากการติดตั้งที่ไมดี รวมถึงลดความเสี่ยงของการ
เกิด Batch loss และ non-sterile product
2. Binding: มีวัตถุประสงคเพื่อดูวาผลิตภัณฑที่ผานการกรองนั้นมีความคงที่ของเนื้อผลิตภัณฑ ไม
ถูกดูดซับไวในแผนกรอง และดูคุณภาพของการ Flush และ Rinse แผนกรองกอนที่จะทําการกรองตัวอยาง
3. Duty: เพื่อดูวา Filter ที่เลือกมานั้นมีความเหมาะสมกับงานที่จะใชหรือไม โดยพิจารณาจาก
Physical size, Filter connection, Maximum pressure ที่แผนกรองทนได, อุณหภูมิที่แผนกรองทนได,
Flow rate ที่ใชในงาน, Required pre-filtration, Quality documentation, Operation in required
environment, Filter capacity and safety เปนตน
4. Sterilization: มีวัตถุประสงคเพื่อทดสอบความสามารถในการทําใหปราศจากเชื้อ และเพื่อหา
ตัวชี้วัดทางชีววิทยาที่เหมาะสมในการใชแผนกรอง
5. Extractable/ Leachable: มีวัตถุประสงคเพื่อหาสารประกอบหรือ Compound ที่อาจ
สามารถหลุดออกมาไดจากการสัมผัสผลิตภัณฑที่ใชกรองซึ่งสวนมากจะไดจากการที่ใชตัวทําละลาย (Solvent)
เปนจํานวนมาก และอยูภายใต Aggressive conditions ฉะนั้นการทํา Extractable test ทําใหสามารถหา
สภาวะที่เหมาะสมในการกรอง รวมถึงคา Process residue ที่สามารถยอมรับได หากไมมีการทําการทดสอบ
นี้ อาจทําใหเกิดความเสี่ยงในเรื่องของ Stability, Safety, Toxicity เปนตน
6. Compatibility: มีวัตถุประสงคเพื่อหลีกเลี่ยงการทําใหแผนกรองเกิดความเสียหายหรือฉีกขาด
และหลีกเลี่ยงการปนเปอนจาก Fluid contaminant และทดสอบความเขากันไดของแผนกรองกับสารละลาย
ที่จะใช
7. Retention: มีวัตถุประสงคเพื่อหาโอกาสการเกิด Bacterial-retention ภายใตสภาวะที่เปน
Worst-case conditions โดยตัวกรองที่ใชทดสอบควรเปนชนิดเดียวกับที่ใชในกระบวนการผลิต โดยปริมาณ
เชื้อที่ยอมรับไดควรเปนไปตาม Guideline ที่กําหนด เชน FDA หรือ PDA TR40 ในหัวขอ Retention
Testing Approaches Section 6.0
8. Quality system: มีวัตถุประสงคเพื่อจัดการในดานการเอกสาร โดยใหมีการทํา Validation
Master Plan (VMP) ซึ่ง Validation Master Plan ควรมีลักษณะเปนการรวบรวมขอมูลทั้งหมดที่ใชในการ
Validation และควรเป น เอกสารที่ อา นทํ าความเขาใจงา ย ไดใจความ และประกอบด ว ยข อมู ล หลั ก ๆ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 36
Validation policy, Organizational structure of validation activities, Summary of facilities-
system-equipment-and process to be validated, Documentation format, Planning and
scheduling, Change control, and References existing documents
ในสวนของ Filter Master plan นั้น ควรมีการพิจารณาในดานของ Filter Performance, Filter
process design, Validation of filter process, Stabilities study และ Operator training โดยการ
จัดการเอกสารในการทํา Validation master plan จําเปนตองมีการออก Protocol เพื่อเปนวิธีการในการทํา
Validation ในหัวขอตางๆ จากนั้นเมื่อไดทําการ Validate แลว จะตองมีการบันทึกออกมาเปนรายงาน
(report) เพื่อรายงานผล แลวจึงรวบรวมและจัดเก็บใหเปน Validation Master File หรือ Summary ตอไป

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 37
Experience Sharing & Trouble shooting on filter integrity
test
ภก.บุญรักษ ถาวรรุงโรจน
บริษัท ซาโนฟ ปาสเตอร จํากัด
ภก.ปรัชญา เจตินัย
โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน
บริษัท เมอรค จํากัด

การเลือกชนิด Filter ที่เหมาะสมในการผลิตวัคซีน เกณฑการคัดเลือกแผนกรองที่ดี ไดแก


1. วัสดุที่ใชผลิตตัวกรองตองมีความเขากันไดกับวัคซีน (Compatibility) เชน PVDF, Nylon,
Cellulose acetate เปนตน
2. เลือกพื้นที่ผิวในการกรอง (Filter surface) ขึ้นกับปริมาตรของวัคซีนที่จะกรอง และอัตราการ
กรองทีต่ องการ
3. ลักษณะรูปแบบของ Filter ขึ้นกับพื้นที่ผิวในการกรอง และความเหมาะสมในกระบวนการทําให
ปราศจากเชื้อและกระบวนการผลิตวัคซีน เชน ตัวกรองแบบ Disc มักใชกับวัคซีนปริมาณนอยไมมากและ
เหมาะกับการผลิตวัคซีนที่ในรูปแบบ Single use/ Disposable approach เปนตน
ขอกําหนด GMP Annex 1 ตองการใหกระบวนการกรองใกลกับกระบวนการบรรจุใหมากที่สุดโดย
การกรองปราศจากเชื้อจะเปนสวนหนึ่งที่ใกลกระบวนการบรรจุ ถือเปนจุดที่เสี่ยงมาก (Very Critical) ซึ่งใน
การทํา Integrity test ตองหลีกเลี่ยงไมใหเกิดการปนเปอน และตองดําเนินการดวยเทคนิคปราศจากเชื้อ
(Aseptic Techniques) ตองมีการประเมินผลกระทบตอความปลอดภัยและประสิทธิภาพของวัคซีน โดยทั้งนี้
ตองมีการแจงสํานักงานอาหารและยาดวย
ในการทํา Integrity test สิ่งที่ตองคํานึงใหรอบคอบมีหลายปจจัย ไดแก
 การเลือก Wetting Agent ในการทดสอบ in-line หากเลือกเปนน้ํากลั่นตองมั่นในวาไมทําให
ผลิตภัณฑที่ไดถูกเจือจางและไมทําใหเกิดการปนเปอน
 หากเลือกที่จะทดสอบ Pre-use after autoclave แบบ off-line โดยใชวัคซีนเปน wetting
agent ตองมั่นใจวาการดําเนินการทดสอบจะเปนไปภายใตเทคนิคปราศจากเชื้อ
 หากเลือกที่จะทดสอบ Pre-use after autoclave แบบ in-line โดยใชวัคซีนเปน wetting
agent ตองมีการเตรียม SOP วาหากไมผาน ควรทําอยางไรตอไป
 โดยหลักการของการทํา Integrity test ตองมั่นใจวาชองทางออกของน้ํายากรองไมมีแรงดันมา
ตานระหวางการทดสอบ และตองมั่นใจวาแผนกรองที่ใชกรองอากาศในการทดสอบตองไมตัน (อาจเพราะ
เปยกน้ํายา) มิฉะนั้นจะเกิดการอานผลที่ผิดพลาดได

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 38
ในกรณีที่ทํา Integrity test ไมผาน ควรพิจารณาดังนี้
 สาเหตุอาจมาจากการที่ขอต อขัน ไม ส นิท ยางประเก็น ที่ขอตอแข็งกระดางทําใหอากาศรั่ว
อุณหภูมิของ wetting agent ซึ่งมีผลอยางมากตอการทดสอบเนื่องจาก Surface tension แปรผันตาม
อุณหภูมิ ความดันของ gas ที่ใชทดสอบไมคงที่ เนื้อ filter แตกหรือรั่วหลังการ Autoclave
 เกณฑการพิจารณาเมื่อ Hydrophillic Filter Integrity Test ไมผาน (รูปที่24)

รูปที่ 24 ผังการตัดสินใจ กรณีทดสอบความสมบูรณของแผนกรองชนิดชอบน้ํา

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 39
 เกณฑการพิจารณาเมื่อ Hydrophobic filter integrity test ไมผาน (ดังรูปที่ 25)

รูปที่ 25 ผังการตัดสินใจ กรณีทดสอบความสมบูรณของแผนกรองชนิดไมชอบน้ํา

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 40
Redundant filtration and pre-use post-sterilization integrity
test
Mr. Somasundaram G.
บริษัท เมอรค จํากัด

Redundant Sterilizing Filtration for Bulk and final fill: Design and Implement
Redundant Filtration คือการใชแผนกรองมากกวา 1 ตัวเพื่อลดความเสี่ยงและโอกาสในการ
ปนเปอนของเชื้อในสวนที่เปนจุดวิกฤต (Critical Filtration) โดยเปนการตอตัวกรองแบบอนุกรม (serial
filtration) ซึ่ง Sterilizing-grade filter ตัวที่สองจะทําหนาที่ในการเปนตัวกรองอีกตัวในกรณีที่ตัวกรองตัว
แรกมีปญหา หรือทํา Integrity test ไมผาน ความสําคัญของการทํา Redundant Sterilizing filtration คือ
ตองมีตัวกรองอยางนอยหนึ่งตัวที่ผาน Integrity test
Redundant filtration ไมจําเปนตองทําเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่ปราศจากเชื้อ แตเปนการเพิ่มความ
มั่นใจวา ผลิตภัณฑที่ไดจะไมมีการปนเปอนของเชื้อ ทั้งนี้การปรับเปลี่ยนสภาวะ และตัวแปรตางๆ ลวนมีผลตอ
sterility assurance โดย Redundant filter นั้นสามารถลดความเสี่ยงไดในกรณีที่ critical filter ไมสามารถ
กรองไดอยางมีประสิทธิภาพ ตองมั่นใจวาระยะหาง และระบบที่เชื่อมระหวางสองแผนกรองจะไมมีเชื้อเขาไป
ปนเปอน ปจจุบัน PDA TR26 ไดแนะนําใหทํา Pre-use Post Sterilization Integrity testing (PUPSIT)
เพื่อทดสอบความสมบูรณของแผนกรองหลังจากที่ไดผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อแลว
ขอควรพิจารณาเมื่อตองออกแบบกระบวนการ (Process design considerations) ในขั้นตอนการ
ติดตั้งระบบของการตอแบบ redundant filtration โดยทั่วไปสามารถแบงออกไดเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้
1) ทําใหแผนกรองเปยก (Wetting/Flushing) 2) ปลอยของเหลวทิ้ง (Draining) 3) ทดสอบความสมบูรณ
ของตัวกรอง (Pre-use integrity testing) และ 4) เปาใหแหง (Blow down) โดยสามารถตอเปนอนุกรมได
ทั้งแนวตั้งและแนวนอน

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 41
Wetting : โดยการปลอย wetting agent เขาไปใน Inlet เพื่อใหแผนกรองเปยกอยางทั่วถึง (รูปที่ 26)

รูปที่ 26 แสดงชองทางการทําใหเปยกสําหรับการกรองแบบ redundant

1. Draining : จากนั้นปลอยลมเขาไปใน Inlet ดวยความดัน 5 psi เพื่อดันใหน้ําออกจากแผนกรอง


2. Pre-use integrity testing (Filter-1) : ตอเครื่อง Integrity เขากับ filter ตัวที่ 1(F1) โดยให
Liquid ไหลออกจากระบบจากทางชอง outlet ในขณะที่กาซออกจากระบบทาง air filter ที่ตออยูกับแผน
กรองตัวที่ 2 (F2) ดังรูปที่ 27

Gas Exit

Integrity
tester

Gas entry

Liquid Exit

รูปที่ 27 แสดงทิศทางการตอทอลมที่ใชในการทดสอบแผนกรองตัวที่ 1

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 42
3. Pre-use integrity testing (Filter-2) : ตอเครื่อง Integrity เขากับ filter ตัวที่ 2 (F2) และ
ทําการทดสอบ Integrity test ของ Filter ตัวที่ 2 (F2) ดังรูปที่ 28
Integrity
tester
Gas entry

Gas Exit

รูปที่ 28 แสดงทิศทางการตอทอลมที่ใชในการทดสอบแผนกรองตัวที่ 2

4. Filter Blow down (Filter-1): เปา Filter ตัวที่ 1 ใหแหง (รูปที่ 29)
Gas Exit

Gas entry

Gas and Liquid Exit

รูปที่ 29 แสดงทิศทางการตอทอลมเพื่อเปาแผนกรองตัวที่ 1 ใหแหง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 43
5. Filter Blow down (Filter-2): เปา Filter ตัวที่ 2 ใหแหง (รูปที่ 30)
Gas entry

Gas entry

Gas and Liquid Exit

รูปที่ 30 แสดงทิศทางการตอทอลมเพื่อเปาแผนกรองตัวที่ 2 ใหแหง

ขอควรปฏิ บัติ ใ นการทํ า Integrity test กอนและหลังการใชงานแผนกรองสํา หรับ redundant


filtration
การทดสอบกอนใชงาน (Pre-use Integrity) ควรมีการทดสอบแผนกรองทั้งสองตัวที่ตออยูกับ
ระบบ โดยแผนกรอง F2 (Filter-2) หมายถึงแผนกรองตัวที่อยูใกลกับขั้นตอน Filling มากที่สุด ถือเปน
Primary filter ที่ติดอยูกับขั้นตอนการบรรจุภัณฑและ critical มากที่สุด เพราะฉะนั้นหากทํา Integrity test
แลว ตัวกรอง F2 ไมผานการทดสอบ จึงควรเปลี่ยนแผนกรองใหมทันที (รูปที่ 31)

รูปที่ 31 ผังการตัดสินใจ ในการทดสอบ integrity กอนใชงาน


สถาบันวัคซีนแหงชาติ 44
การทดสอบหลังใชงาน (Post-use Integrity)
ในการทดสอบ Integrity test ของแผนกรองหลังใชงาน อาจทําการทดสอบเพียง F2 หรือทําทั้ง F1
และ F2 ก็ได โดยจะถือวาหาก F2 ทําการทดสอบผานก็แปลวาการผลิตใน batch นั้นผาน แตหาก ทําการ
ทดสอบ F2 ไมผานก็ถือวาการผลิตใน batch นั้นไมผาน (รูปที่ 32)

รูปที่ 32 ผังการตัดสินใจ ในการทดสอบ integrity หลังใชงาน


ขอควรระวังในการทําการทดสอบแผนกรองคือการสับสนระหวางแผนกรอง Primary filter กับ
secondary filter เรื่องการใช wetting agent และ wetting condition ไมเหมาะสม การเปด/ ปดวาลว
ตางๆ ระวังเรื่องการเจือจางของผลิตภัณฑเนื่องจากมีน้ําตกคางจากการทําใหเปยก (product dilution) การ
ปลดปลอยแรงดัน (Pressure release) หลังการทํา Integrity test และการสลายตัวของตัวยาสําคัญ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 45
Hands-on workshop: Introduction to filter sizing
Ms Karen Chan
บริษัท เมอรค จํากัด

กลไกการกรองสารผานแผนกรอง (Particle retention mechanisms)


กลไกการกรองสารขึ้นอยูกับชนิดอนุภาค องคประกอบของสารละลาย ชนิดวัสดุที่ใชทําแผนกรอง
และโครงสรางของแผนกรอง แบงเปน 2 กลไกหลัก ไดแก
1. การแยกดวยขนาด (Size exclusion) จะขึ้นอยูกับขนาดอนุภาคและลักษณะโครงสรางของ
แผนกรอง แบงลักษณะการแยก 2 แบบไดแก
1.1 sieving (surface) อนุภาคมีขนาดใหญกวาผิวหนาแผนกรอง
1.2 entrapment (depth) อนุภาคมีขนาดเล็กกวาผิวหนาแผนกรอง แตเขาไปตกคางภายใน
เนื้อของแผนกรอง
2. การดูดซับ (Adsorption) ไมขึ้นอยูกับขนาดของอนุภาค เปนแรงดึงดูดระหวางอนุภาคกับวัสดุ
ของแผนกรอง ไดแก hydrophobic interaction และ/หรือแรงทางประจุไฟฟา
ปจจัยที่มีผลกระทบตอ retention mechanisms คือ ชนิดของของเหลว (fluid characteristics),
สภาวะที่ใชในการปฏิบัติงาน (operating conditions) ชนิดของอนุภาคและแผนกรอง (particle type and
filter type)
ชนิดของแผนกรอง แบงตามลักษณะโครงสรางและชนิดวัสดุได 3 ประเภท ไดแก
1. membrane filters
2. surface (pre-) filters
3. depth filter
อนุภาคใน biological fluids แบงได 2 ประเภท คือ
1. อนุภาคที่รูปรางคงที่ (non-deformable) ไดแก เม็ดเรซินหรือผงเรซิน ผลึกยา ผงคารบอน
ไดอะตอม เปนตน อนุภาคชนิดนี้จะเกิดตะกอนผิวหนาแผนกรองในลักษณะที่มีรูพรุนที่ยอมใหของเหลวผานได
บางสวน
2. อนุภาคที่เปลี่ยนรูปรางได (deformable) ไดแก โปรตีน ไขมัน สารประกอบน้ําตาลและโปรตีน
เปนตน สามารถผานแผนกรองได และเกิดตะกอนผิวหนาแผนกรองในลักษณะที่ไมยอมใหของเหลวผานได
หากมีการอัดกันแนนของตะกอน

กลไกการเกิดการอุดตันของแผนกรอง (Fouling mechanism) แบงเปน 3 กลไก ดังนี้


1. การเกิดตะกอนผิวหนา (cake formation) เกิดจากอนุภาคที่มีความแข็ง แรงตานทานที่เกิดขึ้น
จะมีลักษณะสัมพันธเปนเสนตรงกับความหนาของชั้นตะกอน

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 46
2. การอุดตันโดยสมบูรณ (complete pore blocking) เกิดจากอนุภาคที่เปลี่ยนรูปรางไปอุดตัน
รูที่ผิวหนาของแผนกรอง มักจะเกิดขึ้นเมื่อไมมีการกรองหยาบกอนนําไปกรองกับแผนกรองที่มีรูพรุนละเอียด
ขึ้น หรืออนุภาคที่ออนนุมมีขนาดใหญกวาขนาดรูพรุนของแผนกรองไมมากนัก
3. การอุดตันแบบคอยเปนคอยไป (gradual pore plugging) เกิดจากอนุภาคหรืออนุภาคที่
เปลี่ยนรูปรางได การอุดตันประเภทนี้มักจะเกิดใน biological fluid
การอุดตันแบบคอยเปนคอยไปและการอุดตันโดยสมบูรณ จะไมมีความสัมพันธเชิงเสนตรงระหวาง
ความดันที่เปลี่ยนไป (∆P) และ capacity สําหรับกรณี cake formation ความดัน (∆P) จะมีความสัมพันธ
เชิงเสนตรงกับ capacity
คุณลักษณะของสมรรถนะของแผนกรอง (Filter Performance Characterization) แสดงได 2
คุณลักษณะ ดังนี้
 ความสามารถในการกรองทั้งหมด (Capacity) ปริมาตรทั้งหมดที่สามารถกรองไดตอพื้นที่ผิว
ของแผนกรอง (L/m2)
 อัตราการไหลผานตัวกรอง (Flow rate) ปริมาตรที่กรองไดตอเวลาตอพื้นที่ผิวของแผนกรอง
2
(L/m /hr = LMH)
สมรรถนะของแผนกรองจะขึ้นอยูที่การเลือกใชแผนกรองไดถูกตอง ตัวแปรของกระบวนการ และ การ
optimizing pressure, flow rate, time และ area
การหาสมรรถนะของแผนกรองดวยการทดสอบระดับหองปฏิบัติการ (Small-scale test methodologies)
1. Constant pressure (Vmax) : ของเหลวถูกกรองผานแผนกรองดวยความดันคงที่ แลวสังเกต
คา อัตราการไหลซึ่งจะลดลงตามการอุดตัน เปนวิธีดั้งเดิมโดยยึดหลักการ gradual pore plugging model
2. Constant flow rate (Pmax/Tmax) : ของเหลวถูกกรองผานแผนกรองดวยอัตราการไหล
คงที่ แลวสังเกตคา ∆P ซึ่งจะเพิ่มขึ้นตอเวลาเมื่อเริ่มมีการอุดตัน หรือคาความขุน (turbidity) ที่เพิ่มขึ้นตอเวลา
ยึดหลักการ small-scale process simulation with empirical data fitting
เทคนิคการเลือกวิธีในการหาขนาดของแผนกรอง
1. เลือกจากกลไกที่ทําใหเกิดการเกิดการอุดตัน (Fouling mechanism basis) (รูปที่ 33)
 Tmax เปนวิธีที่ใชไดเฉพาะสารที่ทําใหเกิดการอุดตันดวยกลไกการดูดซับเทานั้น ไดแก ของเหลว
ที่มีการปนเปอนของสารชีวโมเลกุลขนาดใหญ ไดแก cell debris เปนตน
 Pmax วิธีนี้สามารถใชไดกับการเกิดการอุดตันแบบสมบูรณ การเกิดตะกอนผิวหนา และการอุด
ตันแบบคอยเปนคอยไป ซึ่งทั้งหมดอาศัยหลักการของการคัดเลือกดวยขนาด
 Vmax วิธีนี้ใชไดกับการเกิดการอุดตันแบบคอยเปนคอยไปเทานั้น

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 47
รูปที่ 33 แสดงการเลือกวิธีเพื่อการขยายขนาดตามกลไกการอุดตัน

2. เลือกจากประเภทของแผนกรอง (Filter type basis) (รูปที่ 34)


ตามปกติ ตัวกรองต า งๆ มั กถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานเฉพาะดานตามคุณสมบัติดานวัสดุและ
โครงสรางภายในของแผนกรอง ทั้งนี้ วิธีการทดสอบเพื่อหาขนาดจึงขึ้นกับคําแนะนําของผูผลิตแตละราย
 Depth filter สามารถใชวิธี Tmax และ Pmax ได
 Pre-filter สามารถใชวิธี Pmax และ Vmax
 Sterilizing-grade filter สามารถใชวิธี Pmax และ Vmax

รูปที่ 34 แสดงการเลือกวิธีเพื่อการขยายขนาดตามชนิดของตัวกรอง

วิธีการหาขนาดพื้นที่ผิวที่ตองกรองดวยวิธีศึกษาการอุดตันแบบคอยเปนคอยไป (Vmax)
Filter Plugging Models คือแบบจําลองเพื่อทํานายการอุดตันของแผนกรอง โดยใชสมการ
ดังตอไปนี้
t/v = t/Vmax + Qi
โดยที่ t = เวลาที่ใชกรอง
V = ปริมาตรสะสม ณ เวลาที่ใชกรอง
Vmax = ปริมาตรสูงสุดที่สามารถกรองได ณ เวลาอนันต
Qi = อัตราการไหลเริ่มตน
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 48
การทดลองหา Vmax (Constant pressure)
เทคนิคการหาพื้นที่ผิวของแผนกรองที่จะใชขยายขนาดโดยประมาณ เปนการคาดการณปริมาตรสูงสุด
ที่แผนกรองสามารถกรองได โดยสามารถทราบทั้ง capacity (Vmax (L/m2)) และ Flux decay profile (Q
(L/min))
อุปกรณที่ใชในการทดลอง (รูปที่ 35)
1. อุปกรณใหความดันพรอมติดตั้งตัวควบคุมความดัน นิยมใชแกสไนโตรเจน
2. ถังใสของเหลวที่ตองการทดสอบ
3. อุปกรณยึดจับแผนกรอง
4. กระบอกตวงวัดปริมาตรหรือเครื่องชั่งน้ําหนัก

รูปที่ 35 แสดงการตออุปกรณในการทดสอบหา Vmax


การหาคา Vmax จากการทดลอง
1. ใหคาความดันที่ตองการใชในการกรอง
2. บันทึกปริมาตรที่ไดในแตละนาที
3. ใหพลอตกราฟระหวางคา t/V กับเวลา t (รูปที่ 36)
4. คํานวณหา Vmax ไดจาก 1/slope และ Qi ไดจาก 1/y-intercept

t/V
1/Qi
[min/L]

Slope =1/Vmax

t [min]

รูปที่ 36 การพลอตกราฟระหวาง t/v (min/L) ตอ t (min) เพื่อหาคาความชัน (1/vmax)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 49
สมการที่ใชในการหาพื้นที่ผิวเมื่อไดคา Vmax จากการทดลอง
เมื่อไดคา Vmax จากการทดลองแลว สามารถนํามาเขาสูตรคํานวณหาพื้นที่ผิวที่ตองใชได ดังนี้
กรณีที่ 1: ทราบเฉพาะขนาดการผลิตที่ตองการ (Batch volume, VB )
𝑉𝐵
𝐴𝑚𝑖𝑛 =
𝑉𝑚𝑎𝑥
คาพื้นที่ผิวที่ไดจากการคํานวณยังไมมีการคิดระยะความปลอดภัย (safety factor) ควรแนใจวาพื้นที่
ผิวคํานวณไดจากสูตรนี้ ยังใหเวลาในการกรองที่เหมาะสมอยู

กรณีที่ 2: ทราบขนาดการผลิตและเวลาที่ตองการในการกรอง (batch time, tB)


𝑉𝐵 𝑉𝐵
𝐴𝑚𝑖𝑛 = +
𝑉𝑚𝑎𝑥 𝑄𝑖 ×𝑡𝐵

กรณีที่ 3: ทราบขนาดการผลิต เวลาที่ตองใช และอัตราการกรองที่ตองการ (minimum flow rate,


Qmin)
𝑄𝑚𝑖𝑛 𝑉𝐵
1−� =
𝑄𝑖 ×𝐴𝑚𝑖𝑛 𝑉𝑚𝑎𝑥 ×𝐴𝑚𝑖𝑛

สมการนี้จําเปนตองแกสมการเพื่อใหได Amin สามารถใชสมการในกรณีที่ 2 ประเมินไดในเบื้องตน


การแปลผลวิเคราะห
เลือกชวงที่ใหกราฟเปนเสนตรงและได r2 > 0.99 กรณีได r2 < 0.99 จะทําใหการคํานวณหาคา
Capacity ไมนาเชื่อถือ และเพื่อใหคา r2 ที่นาเชื่อถือ ตองไดจากขอมูลอยางนอย 6 คา และควรทําการทดลอง
จนเริ่มเห็นการอุดตันของแผนกรองที่อัตราการไหลลดลงเหลือ 80% ของคาตั้งตน (flow decay)
ขอดีของวิธี Vmax
1. เปนวิธีที่สะดวกรวดเร็ว งาย ไมซับซอน
2. แปลผลงาย
3. ใชของเหลวในการทดสอบนอย (นอยกวา 1 ลิตร)
ขอจํากัดของวิธี Vmax
1. ไมสามารถบอกไดวาแผนกรองชนิดไหนตองใชวิธีนี้ทดสอบ ตองอาศัยประสบการณและประวัติ
การใชงานเดิม
2. ไมสามารถบอกถึงคุณภาพของของเหลวที่กรองได
3. ไมสามารถจําลองไดทั้งกระบวนการ มีความจําเปนตองทดสอบเพื่อยืนยันในระดับกึ่งอุตสาหกรรม
4. เปนวิธีที่อางอิงเฉพาะ gradual pore plugging model
วิธี Pmax และ Tmax
เป น วิ ธี ในการหาพื้ น ที่ ผิ ว ของแผ น กรองสํ าหรั บ กระบวนการทําใหใส (clarification) ซึ่ง อยู ใ น
กระบวนการชวงตนของการทําบริสุทธิ์

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 50
หลั ก การที่ สํ า คั ญ ของการพั ฒ นากระบวนการการศึ ก ษา คื อ การออกแบบกระบวนการในระดั บ
หองปฏิบัติการ ควรจําลอง หรือมีความใกลเคียงกับกระบวนการจริงในระดับอุตสาหกรรมใหไดมากที่สุด
กระบวนการที่เหมาะสมในการทําใหใส (clarification process optimization) ขึ้นกับ
1. ลักษณะและความซับซอนของของเหลวที่ทําการแยก
2. การเลือกใชเทคโนโลยีในการแยกที่เหมาะสม
3. การใชเทคโนโลยีในการแยกรวมกันเพื่อใหไดกระบวนการที่เหมาะสม
1. ลักษณะและความซับซอนของของเหลวที่ทําการแยก
สวนประกอบในของเหลวชีวภาพ ไดแก
 ของแข็ง (ขนาดมากกวา 1µm)
o สามารถกําจัดออกไดดวยการกรองหยาบ หรือการปนเหวี่ยง
 เซลลและสวนประกอบของเซลล (ขนาดอนุภาคระหวาง 0.2-50 µm)
o เซลลของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีลักษณะคอนขางบอบบาง ไมทนตอแรงกระทําที่รุนแรง เมื่อ
เซลลแตกจะปลอยสารที่ทําใหแผนกรองอุดตันได
o เซลลอื่นๆ ไดแก แบคทีเรีย ยีสต แมลง พืช
 คอลลอยด (ขนาดอนุภาคระหวาง 0.01-1.0 µm) อนุภาคสามารถเปลี่ยนรูปรางได และมีความ
เหนียว (sticky) ปกติจะมีประจุลบ และมักจะทําใหเกิดการอุดตันในกระบวนการผลิตปลายน้ํา
 สารที่ละลายได ไดแก
o โปรตีน ตัวอยางเชน อาหารเลี้ยงเซลล ของเหลวที่ไดจากการแตกเซลล โปรตีนจากพลาสมา
o เกลือ ไดแก บัฟเฟอร
o วัตถุกันเสีย มักเติมลงในตํารับยาตา
o สารตานการเกิดฟอง มักเติมลงในอาหารเลี้ยงเซลล
2. การเลือกใชเทคโนโลยีในการแยกที่เหมาะสม การทําใหใสสามารถทําไดหลายเทคนิค ไดแก
เทคโนโลยี การประยุกตใช ขอดี ขอจํากัด
NFF Clarification - งายตอการขยายขนาดและ - แผนกรองไมสามารถใชซ้ํา
Prefiltration การใชงาน ทําใหสิ้นเปลืองคาใชจาย
- มีชนิดของแผนกรองใหเลือก - ไมสามารถใชกับการกรอง
หลากหลาย ของแข็งในปริมาณมาก
TFF Clarification - วิธีการมีประสิทธิภาพสูง - เงินลงทุนสูง
Concentration - สามารถใชในการแยก - ยากในการใชงานและการ
Cell recovery ของแข็งในปริมาณมากได ตรวจสอบความถูกตอง
- แผนกรองสามารถใชซ้ําได
Mechanical Clarification - คาใชจายในการดําเนินงานถูก - เงินลงทุนสูง
Separators - ไมมีคาวัสดุสิ้นเปลือง - สูญเสีย yield มาก
- อุปกรณใชงานซ้ําได - ยากตอการขยายขนาด
ทําความสะอาดงาย

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 51
3. การใชเทคโนโลยีในการแยกรวมกันเพื่อใหไดกระบวนการที่เหมาะสม
บางครั้งการทําใหใสอาจจําเปนตองใชหลายเทคนิครวมกันเพื่อใหไดกระบวนการที่เหมาะสม โดย
พิจารณาจากขอดีขอเสียในขอ 2 มาชวยในการตัดสินใจ (รูปที่ 37)

รูปที่ 37 แสดงการเลือกใชเทคนิคในการแยกระหวางความหนาแนนของเซลลกับการมีชีวิตของเซลล

การเลือกใชแผนกรองสําหรับทําใหใสโดยทั่วไป
อาศัยคาความขุนของของเหลวและสวนประกอบในของเหลวเปนตัวชวยเลือก
คาความขุนของของเหลว สวนประกอบในของเหลว ประเภทของแผนกรองที่แนะนํา
< 20 NTU คอลลอยดหรืออนุภาคขนาดเล็ก Protected sterile filter
(0.45/0.22 µm)
20-100 NTU คอลลอยดหรืออนุภาคขนาดเล็ก Membrane, pre-filter
100-300 NTU คอลลอยดหรือเศษซากเซลล Small pore depth filter
(2nd clarification)
> 300 NTU เซลล อนุ ภ าคของแข็ ง เศษซาก Larger pore depth filter
เซลล
(1st clarification)

ความสามารถในการกรองเพื่อทําใหใส (capacity)
เปาหมายเพื่อตองการใหของเหลวผานตัวกรองใหมากที่สุดเทาที่ทําได เพราะฉะนั้นความสามารถใน
การกรองคือปริมาตรที่กรองไดที่ความดันหรือความขุนสูงสุด มีหนวยเปนปริมาตรตอพื้นที่ผิวของแผนกรอง
(L/m2)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 52
การทดสอบ Pmax/Tmax (constant flow)
เปนวิธีทดสอบในระดับหองปฏิบัติการเพื่อจํ าลองกระบวนการสําหรับ หาปริมาตรสูงสุดที่กรองได
สําหรับการกรองเพื่อทําใหใส โดยปกติจะควบคุมอัตราการไหลใหคงที่โดยใช peristaltic pump และหา
ปริมาตรสูงสูดที่กรองได 2 แบบ คือ
 Pressure Limited Capacity (Pmax)
 Filtrate Quality Capacity (Tmax)
คํานวณคาความตานทาน (resistance) ตอปริมาตรที่กรองได
อุปกรณที่ใชในการทดลอง (รูปที่ 38)
1. Peristaltic pump เพื่อควบคุมอัตราการไหลใหคงที่
2. Pressure gauge สําหรับวัดความดัน
3. อุปกรณยึดจับแผนกรอง
4. กระบอกตวงวัดปริมาตรหรือเครื่องชั่งน้ําหนัก
5. เครื่องวัดความขุน (สําหรับ Tmax)

รูปที่ 38 แสดงรูปอุปกรณและการติดตั้งระบบเพื่อการทดลอง Pmax/Tmax

วิธีการทดลอง
1. ใหกรองของเหลวดวยอัตราการไหลที่คงที่จนความดันเพิ่มไปจนแผนกรองมีการอุดตัน
2. บันทึกคาระหวางความดันและเวลาหรือปริมาตรที่กรองได
3. พลอตกราฟระหวาง resistance ซึ่งอยูในรูปความดันตออัตราการไหลตอพื้นที่ (psi/LMH) กับ
ปริมาตรที่ไดตอพื้นที่ผิว (L/m2)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 53
การวิเคราะหผลทดสอบ
1. หาสมการความสัมพันธดวยการใช 2nd หรือ 3rd order polynomial โดยเลือกที่ใหผล fit ดีที่สุด
ซึ่งตองอาศัยประสบการณ
2. หาคาจากสมการโดยกําหนดคา batch volume (VB) และ batch time (TB) (รูปที่ 39)

รูปที่ 39 แสดงการ fit กราฟ เพื่อหาสมการในการคํานวณคา

3. ใหประมาณการพื้นที่ผิวที่จะใชในเบื้องตน และกําหนดความดันที่ตองการ (∆Plimit)


4. คํานวณ flux ไดจาก Javg = VB/AtB
5. คํานวณ resistance ไดจาก Rcalc. = ∆P/Javg
6. ตรวจสอบคาระหวาง Rcalc และ Ractual ถาคาเทากัน แสดงวาพื้นที่ผิวที่เลือกเหมาะสมที่จะใช แต
ถา Rcalc นอยกวา Ractual ใหทําการเพิ่มคาพื้นที่ผิวใหมจนกวา Rcalc และ Ractual (รูปที่ 40)

รูปที่ 40 ตัวอยางการคํานวณหาพื้นที่ผิวโดยใชวิธี Pmax และ Tmax

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 54
ขอดีของวิธี Pmax/Tmax
1. การนําไปใชไมไดขึ้นกับแบบจําลองการอุดตัน (plugging model) สามารถวิเคราะหขอมูลไดโดย
ไมจําเปนตองใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร
2. แปลผลงาย
 Pmax คือ ปริมาตรของเหลวมากที่สุดที่กรองไดกอนที่ความดันจะเกินคากําหนด (L/m2)
 Tmax คือ ปริมาตรของเหลวมากที่สุดที่กรองไดกอนที่คุณภาพของของเหลวจะเปลี่ยนไป (L/m2)
3. ใหความแมนยําสูงเมื่อตองการขยายขนาด
ขอเสียของวิธี Pmax/Tmax
1. ไดจากการทดลองเพียงอยางเดียว ไมไดใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร
2. ตองใชเวลาทดสอบนานใกลเคียงกับเวลาที่ตองใชในกระบวนการจริง ไมสามารถทํานายผลไดเมื่อ
มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณการกรอง
3. ตองทําการตรวจสอบสมการที่ไดเพื่อยืนยันความถูกตองของ resistance curve
การพิจารณาเลือกชวงการกรองที่ปลอดภัย (safety factors consideration)
หลักในการเลือกชวงการกรองที่ปลอดภัยโดยทั่วไปมักจะกําหนดพื้นที่ผิวใหใหญกวาที่คํานวณไดอยาง
นอย 1.5 เทา ทั้งนี้ยังขึ้นอยูกับ
 จํานวนและคุณภาพของขอมูลที่ได
 ความแปรปรวนที่อาจเกิดขึ้นจากของเหลวที่ตองการกรอง
 ความแปรปรวนที่อาจมาจากแผนกรอง
 เครื่องมือที่ใช
 ขนาดที่ตองการขยาย (scaling factor)
ถาใชพื้นที่ผิวในการกรองนอยไป แมจะประหยัดคาใชจายในภาพรวม แตมีความเสี่ยงที่จะทําใหการ
ผลิตเสียหายหรือได yield ต่ํา ถาใชพื้นที่ผิวในการกรองมากเกินไป จะเพิ่มคาใชจายในภาพรวม แตการสูญเสีย
จากการผลิตต่ํากวา
ในแตละ unit operation มีความแปรปรวนและ cost ratio ที่แตกตางกัน ซึ่งจะเปนตัวกําหนด
safety factor ของแตละ unit operation นั้นๆ เพราะฉะนั้นการเลือกชวงปลอดภัยแบบทั่วไปอาจไม
เพียงพอ
บทสรุปในการขยายขนาดการกรอง
1. การขยายขนาดที่ดีควรมาจากการทดลองที่ออกแบบไวรัดกุม มีการทดลองซ้ําหลายครั้ง เลือก
กระบวนการในการทดสอบที่เหมาะสม
2. จํ า เป น ต อ งมี ก ารทดลองที่ ร ะดั บ กึ่ ง อุ ต สาหกรรมซ้ํ า อี ก ครั้ ง ก อ นขยายขนาดไปยั ง ระดั บ
อุตสาหกรรม
3. ควรพิจารณาปจจัยอื่นรวมดวยนอกเหนือจากการมองผลลัพธของ capacity เพียงอยางเดียว
ไดแก
 การเลือกชวงปลอดภัยที่เหมาะสม
 เวลาในการทํางาน
 ขอจํากัดของอุปกรณที่มี
สถาบันวัคซีนแหงชาติ 55
 ตองทํา SIP หรือไม
 การทดสอบความสมบูรณของแผนกรอง

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 56
ภาคผนวก

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 57
ภาคผนวก ก : กําหนดการจัดอบรม
กําหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการ
Filtration Techniques for Downstream Purification and Formulation
วันที่ 15 – 17 พฤษภาคม 2560
***************************
วันที่ 15 พฤษภาคม 2560
ณ โรงแรมรามาการเดนส กรุงเทพมหานคร
08.30-08.45 น. Registration
08.45-09.00 น. Opening
ดร.นพ.จรุง เมืองชนะ
ผูอํานวยการสถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)
09.00-09.30 น. Introduction to the course/ program/ Objectives/ Evaluation
ดร.อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ
นักวิชาการวัคซีนเชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)
09.30-10.30 น. Overview of bioprocess and Regulatory Requirements for Filtration of biological
Products (Part I)
Mr.Michael Payne, Principal Technical Consultant, Process Solutions Australia
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน บริษัท เมอรค จํากัด
10.30-10.45 น. Coffee Break
10.45-12.15 น. Regulatory Requirements for Filtration of biological Products (Part II)
Mr.Michael Payne, Principal Technical Consultant, Process Solutions Australia
12.15-13.15 น. Lunch
13.15-14.15 น. Normal flow filtration: Fundamentals of filter selection for biopharmaceutical process.
Filter types and structures, and sterilizing-grade filter
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน บริษัท เมอรค จํากัด
14.15-15.15 น. Examples of filtration processes
น.ส.พรรณรวี โพธิ์เทียนทอง องคการเภสัชกรรม
ภญ.ลลิดา สกลภาพ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
ดร.พนิต กิจสุบรรณ โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
15.15-15.30 น. Coffee Break
15.30-16.30 น. Filter Validation
Mr.Michael Payne, Principal Technical Consultant, Process Solutions Australia
16.30-17:00 น. Q&A & End of Seminar

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 58
วันที่ 16 พฤษภาคม 2560
ณ โรงแรมรามาการเดนส กรุงเทพมหานคร
08.30-08.45 น. Registration
08.45-09.00 น. Wrap up day I
09:00-10.20 น. Principle of Integrity Test, consideration for automatic integrity tester
Mr.Somasundaram G. Associate Director, South East Asia & Oceania
Technology Management, Singapore
10.20-10.35 น. Coffee Break
10.35-11.15 น. Good Practice of Integrity test and troubleshooting
Mr.Somasundaram G. Associate Director, South East Asia & Oceania
Technology Management, Singapore
11.15-12.15 น. Share Experience about Integrity test and troubleshooting
ภก.ปรัชญา เจตินัย โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
ภก.บุญรักษ ถาวรรุงโรจน บริษัท ซาโนฟ ปาสเตอร จํากัด
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน บริษัท เมอรค จํากัด
12.15-13.15 น. Lunch
13.15-14.15 น. Redundant filtration and pre-use post-sterilization integrity test
Mr.Somasundaram G. Associate Director, South East Asia & Oceania
Technology Management, Singapore
14.15-15.15 น. Introduction of Tangential Flow Filtration (TFF); Principles, Vocabulary,
Key Process, Parameters and TFF Membrane Module
Ms.Karen Chan, Process Engineer , Technology Management- MSAT, Life Science,
Process Solutions, Singapore
15:15-15:30 น. Coffee Break
15:30-16:30 น. Quiz & Answer
16.30-17:00 น. แนะนําวิทยากร และแบงกลุมเพื่อปฏิบัติการ

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 59
วันที่ 17 พฤษภาคม 2560
ณ ภาควิชาวิทยาการเภสัชกรรมและเภสัชอุตสาหกรรม คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
08.30-09.30 น. Workshop introduction
Ms.Karen Chan, Process Engineer , Technology Management- MSAT, Life
Science, Process Solutions, Singapore
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน บริษัท เมอรค จํากัด
09.30-09.45 น. Coffee Break
09.45-11:45 น. Hands-on workshop (Divided into 3 group; 1.5 hr/session)
Group 1: Filter sizing - Vmax experiment การทดลอง Vmax
Ms.Karen Chan, Process Engineer , Technology Management- MSAT, Life
Science, Process Solutions, Singapore
ดร.ภก.วันชัย จงเจริญ คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Group 2: Manual integrity test (BP, Diff) การทดสอบ integrity วิธีดั้งเดิม
Mr.Somasundaram G. Associate Director, South East Asia & Oceania
Technology Management, Singapore
ภก.พรหมฉัตร เจริญพัฒน สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
ภก.ปรัชญา เจตินัย โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
Group 3: IT tests (BP, Diff, WIT) using automatic integrity tester การทดสอบ integrity
โดยใชเครื่องมืออัตโนมัติ
ดร.ณัฐวัฒน ประภาวรรัตน บริษัท เมอรค จํากัด
ดร.พนิต กิจสุบรรณ โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
นางสาวธารินี คันทโร องคการเภสัชกรรม
11.45-12.45 น. Lunch
12:45-14:15 Hands-on workshop (cont.)
14.15-15.45 น. Hands-on workshop (blind sample tests) 3 groups
15.45-16.00 น. Coffee Break
16.00-16.30 น. Interpretation and Conclusion
16.30-17.00 น. Evaluation and Certification
ดร.อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ
สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 60
ภาคผนวก ข : รายนามผูเ ขาอบรม

รายชื่อผูเขาอบรมเชิงปฏิบัติการ
Filtration technique for downstream purification and formulation
ลําดับที่ ชื่อ-สกุล สถานที่ปฏิบัติงาน
1 นางสาวฑิวัญญา เชยสูงเนิน คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
2 อ.ดร.ภก.วันชัย จงเจริญ คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3 ผศ.ดร.ภก.วิสฐิ ตั้งเคียงศิริสิน คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
4 ทนพญ.ผาณิตา โกมลมาลย สถาบันวัคซีนแหงชาติ (องคการมหาชน)
5 นางสาวธิชากร จิตตาวุฒิโภคา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
6 นางสาววรศมน จินตนา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
7 นางสาวไพรินทร ผิวตองออน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
8 นางสาวณัฐชา ชัชวาลรัตน สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
9 นายสิทธินนท อุสมาณิย สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
10 ภก.นิมิตร ไกรพิณดากุล บริษัท โรงงานเภสัชกรรมเกรทเตอรฟารมา จํากัด
11 ภญ.อรสิตา ศิริบรรจง บริษัท โรงงานเภสัชกรรมเกรทเตอรฟารมา จํากัด
12 ภญ.ประภัสสร ธนะผลเลิศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
13 ภญ.เกศราพร ตนไมทอง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
14 ภญ.อชิรญา ไพรสุวรรณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
15 นางสาวมนัสวี เหลี่ยมสมบัติ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
16 ภญ.ณฐพร เอี่ยมชลวิเลิศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
17 ภก.กรกต ยศเรืองศรี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
18 ภก.กฤษณ เหลืองวัฒนพงศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
19 ภก.ไพโรจน โอสถาภิรัตน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
20 ภก.ศรัณย นิ่มวรพันธุ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
21 ภญ.มนชนก มงคลพันธุ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
22 ภก.ศักดิ์กมล เพ็งสกุล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
23 ภก.ธันวา พิทักษมงคลกุล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
24 ภก.ธนานันท ทรัพยเจริญ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
25 นางสาวจุฑาสินี ศรีรักษา องคการเภสัชกรรม
26 นางสาวกนกพร โพธิสมุทรโยธิน องคการเภสัชกรรม
27 นางสาวชมพูนุท ภักดีเจริญ องคการเภสัชกรรม
28 ภญ.นันทวรรณ ไชยมงคล องคการเภสัชกรรม
29 นางสาวกมลลักษณ ศรทอง องคการเภสัชกรรม

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 61
ลําดับที่ ชื่อ-สกุล หนวยงาน
30 ภก.วรกมล สมพันธุ องคการเภสัชกรรม
31 นางสาวกะชามาศ กลั่นเสนาะ องคการเภสัชกรรม
32 นางสาวอภิญญา นามสาย องคการเภสัชกรรม
33 นางสาวบุษบา ศรีมี องคการเภสัชกรรม
34 นายปริญญา จันทรหลาฟา องคการเภสัชกรรม
35 นางจันทรเพ็ญ ชาญสิกขกร องคการเภสัชกรรม
36 นางสาวอริยาภรณ มุงพูนกลาง องคการเภสัชกรรม
37 นางสาวณัฐธยาน กิตติสุขเจริญ องคการเภสัชกรรม
38 ภญ.จุฑารัตน สมนึก องคการเภสัชกรรม
39 ภก.จิรศักดิ์ กุศลวิริยะวงศ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต
40 นางสาวอริศรา พิมใจ โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
41 นางสาวภักดิ์ฤดี โลหะพรม โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
42 นางสาวศิรินภา พันธะไชย โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
43 นายชานนท สัตยารมณ โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
44 นางสาวภารวี กิจธํารงวรกุล โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
45 นายอวิรุทธ สุรภาพวดี โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
46 นางสาวทัศนีย สายวิชัย โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
47 ภญ.ดาลัด วโรภาสตระกูล โรงงานตนแบบผลิตยาชีววัตถุแหงชาติ
48 ภญ.อนงคนุช เนตยกุล บริษัท ซาโนฟ ปาสเตอร จํากัด
49 นางชลดา เพ็ชรไทย สถาบันชีววัตถุ
50 นางสาวจินตนา อินนุพัฒน BioNet-Asia Co.,Ltd.
51 ภญ.อรนุช กลิ่นเพชร สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
52 ภก.ธรรมนูญ ดวงโสน สถานเสาวภา สภากาชาดไทย
53 ภญ.รจนา ศรีชุมพวง บริษัท องคการเภสัชกรรม-เมอรริเออรชีววัตถุ จํากัด
54 ภญ.รติยา คูเขตพิทักษวงศ บริษัท องคการเภสัชกรรม-เมอรริเออรชีววัตถุ จํากัด
55 ภญ.ชลธิชา ภูมิสุข บริษัท องคการเภสัชกรรม-เมอรริเออรชีววัตถุ จํากัด

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 62
ภาคผนวก ค : ภาพบรรยากาศการอบรมภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ

บรรยากาศการจัดอบรมภาคบรรยาย

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 63
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวาผูเขาอบรม

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 64
บรรยากาศการจัดอบรมภาคปฏิบัติ
กลุมที่ 1 : Filter sizing - Vmax experiment การทดลอง Vmax

กลุมที่ 2 : Manual integrity test (BP, Diff) การทดสอบ integrity

กลุมที่ 3 : : IT tests (BP, Diff, WIT) using automatic integrity tester

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 65
การมอบรางวัลสําหรับผูที่มีผลสอบสูงสุด การมอบรางวัลสําหรับผูที่มีผลสอบสูงสุด
ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2

นางสาวณัฐชยา ชัชวาลรัตน นางสาวธิชากร จิตตาวุฒิโภคา


สถาบันวิจัยจุฬาภรณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ

การมอบรางวัลสําหรับผูที่มีผลสอบสูงสุด การมอบรางวัลสําหรับผูที่มีผลคะแนนตางสูงสุด
ลําดับที่ 3

นางสาวไพรินทร ผิวตองออน ภญ.อรนุช กลิ่นเพชร


สถาบันวิจัยจุฬาภรณ สถานเสาวภส สภากาชาดไทย

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 66
ผูบริหารสถาบันวัคซีนแหงชาติและวิทยากรถายภาพรวมกับผูที่มีผลสอบสูงสุดลําดับที่ 1, 2 และ 3 และผู
ที่มีผลคะแนนตางสูงสุด

ผูบริหารสถาบันวัคซีนแหงชาติและวิทยากรถายภาพรวมกับผูผานการเขาอบรม
Filtration techniques for downstream purification and formulation

สถาบันวัคซีนแหงชาติ 67
สถาบันวัคซี นแห่งชาติ
เลขที่ 38 อาคาร 4 ชั้น 5 สถาบันบําราศนราดูร ตลาดขวัญ เมืองนนทบุรี นนทบุรี 11000
www.nvi.go.th

You might also like