You are on page 1of 58

โครงงานวิทยาศาสตร์

์ ้านอนุมูลอิสระของ
เรื่อง การศึกษาฤทธิต
สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วย
วิธี DPPH assay

โดย

นายกุลบุรุษ เซอร์เกอร์

นายภูมิ บุญเลิศ

นายภูรินท์ เงินถม

ครูที่ปรึกษา

นางวราภรณ์ ปฏิโค

นายพิทยา ปฏิโค
รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการนำเสนอโครงงานนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 6
ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ง
แวดล้อม ปี การศึกษา 2564
ตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของ สสวท.
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

โครงงานวิทยาศาสตร์

์ ้านอนุมูลอิสระของ
เรื่อง การศึกษาฤทธิต

สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วย

วิธีDPPH assay

โดย

นายกุลบุรุษ เซอร์เกอร์

นายภูมิ บุญเลิศ

นายภูรินท์ เงินถม
รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการนำเสนอโครงงานนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 6
ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ง
แวดล้อม ปี การศึกษา 2564
ตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของ สสวท.
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

ชื่อโครงงาน ์ ้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืช
การศึกษาฤทธิต
วงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay

ชื่อผู้จัดทำ นายกุลบุรุษ เซอร์เกอร์


นายภูมิ บุญเลิศ
นายภูรินท์ เงินถม
ชื่อครูที่ปรึกษา นางวราภรณ์ ปฏิโค
นายพิทยา ปฏิโค

สถานศึกษา โรงเรียนเบญจมราชูทศ
ิ จังหวัดจันทบุรี
เลขที่ 10 ถ.ศรียานุสรณ์ ต.วัดใหม่ อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000
โทรศัพท์ 0-3931-1170 โทรสาร 0-3931-3555

บทคัดย่อ
์ ้านอนุมูลอิสระของ
จากการทำโครงงานเรื่อง การการศึกษาฤทธิต

สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay มีวัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละจากผลของ พริกไทย ผลของดีปลี

ใบของพลู และใบของชะพลู ที่สกัดด้วยอะซิโตน เอทานอล 95% และน้ำ

กลัน
่ พบว่า พริกไทย พลูและชะพลูมีผลได้ร้อยละ คือ 1.11, 4.03 และ

4.23 ตามลำดับ โดยดีปลีไม่มีผลได้ ร้อยละเนื่องจากผลที่ได้เป็ นผลแห้ง


์ ้า นอนุมูลอิสระของสารสกัดจาก
ไม่ได้ผ่านการอบ และเพื่อศึก ษาฤทธิต

ผลของพริกไทย ผลของดีปลี ใบของพลู และใบของชะพลู ด้วยวิธี DPPH

assay จากผลการทดลอง พบว่า ค่า EC50 ของพริก ไทย ดีปลี พลู และ

ชะพลูเท่า กับ 0.106 , 0.140 , 0.061 และ 0.051 มิล ลิก รัม /มิล ลิล ิต ร

ตามลำดับ ดังนัน
้ สารสกัดจากชะพลูจงึ มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูล

อิสระดีที่สุด รองลงมาคือ พลู พริกไทย และดีปลี ตามลำดับ ประโยชน์

จากการทำโครงงานนีท
้ ี่ผ ู้ศึกษาคาดหวังคือ การนำพริก ไทย ซึ่งเป็ นพืช

ท้องถิ่น และพืชวงศ์ Piperaceae ซึ่งเป็ นพืชวงศ์เดียวกับพริกไทย ได้แก่

ดีปลี พลู และชะพลู มาใช้ประโยชน์ เพื่อเป็ นทางเลือกสำหรับผูบ


้ ริโภคที่

ใส่ใจสุขภาพและเป็ นแนวทางในการนำมา พัฒนาเป็ นยาหรือผลิตภัณฑ์


อาหารเสริมที่เป็ นประโยชน์ต่อสุขภาพ อีกทัง้ ยังเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจ

อุตสาหกรรมในผลิตภัณฑ์แปรรูป

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่องนีป
้ ระกอบด้ว ยการดำเนิน งานหลายขัน
้ ตอน นับ

ตัง้ แต่การศึกษาหาข้อมูล การทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง การ

จัดทำรูปเล่มโครงงาน จนกระทั่งโครงงานนีส
้ ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตลอด

ระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทำโครงงานได้รับความช่วยเหลือและคำ

แนะนำในด้านต่างๆ ตลอดจน ได้รับกำลังใจจากบุคคลหลายท่าน คณะ

ผู้จัดทำตระหนักและซาบซึง้ ในความกรุณาจากทุกท่านเป็ นอย่าง ยิ่ง ณ

โอกาสนีข
้ อขอบคุณทุกๆ ท่านดังนี ้

กราบขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัด

จันทบุรี นายสุวรรณ ทวีผล ที่ได้ ให้ความอนุเคราะห์และให้ความช่วย

เหลือในด้านต่างๆ นางวราภรณ์ ปฏิโค และนายพิทยา ปฏิโค คุณครู ที่

ปรึกษาโครงงาน และคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี ทุกท่าน ที่คอยให้

คำแนะนำและคำปรึกษาในการทำโครงงานในครัง้ นีต
้ งั ้ แต่การคิดหัวข้อ
โครงงาน การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การทำการทดลองตลอดจนการทำ

รูปเล่ม จนโครงงานนีส
้ ำเร็จลุล่วง

กราบขอบพระคุณ นางวราภรณ์ ปฏิโ ค ผู้ใ ห้ค ำแนะนำและได้

เมตตาช่ว ยเหลือ ในการใช้เ ครื่อ งมือ รวมถึง สารเคมีอ ย่า งถูก วิธ ีแ ละ

ปลอดภัย ตลอดจนเอื้อเฟื้ อห้องปฏิบัติการ และเครื่องมือต่างๆในการ

ทำ โครงงานครัง้ นีจ
้ นประสบความสำเร็จ ขอขอบคุณ เพื่อน ๆ ที่ได้ให้

ความร่ว มมือ และช่ว ยเหลือ ในการทำ โครงงาน ท้า ยที่ส ุด ขอกราบ

ขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่ ผู้เป็ นที่รัก ผู้ให้กำลังใจและโอกาสทางการ

ศึกษา อันมีค่ายิ่ง

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
หน้

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญรูปภาพ จ
บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญ 1
จุดประสงค์ของโครงงาน 2
สมตติฐาน 2
ตัวแปรที่ศึกษา 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
นิยามเชิงปฏิบัติการ 3
ขอบเขตของการดำเนินงาน 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
บทที่ 3 วิธีดำเนินการทดลอง 11
บทที่ 4 ผลการทดลอง 15
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 25
เอกสารอ้างอิง 27
ภาคผนวก
ก การสกัดสารสกัดจากพืช 29
ข การทดสอบสารอัลคาลอยด์ในสารสกัด 31
ค การทดสอบการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดด้วยิ 33
วธี DPPH assay

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า

ตารางที่ เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช ก่อนและหลังอบ 15


4.1 เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช หลังระเหยด้วยตัว 16
ตารางที่ ทำละลาย
4.2 เทียบกับปริมาณพืนที่นำมาสกัด 16
เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช ก่อนอบและหลัง 17
ตารางที่ ระเหยตัวทำละลาย 18
4.3 ผลการทดสอบสารสกัดกับสารละลายแวกเนอร์
ตารางที่ แสดงค่า percent radical scavenging ของสาร 19
4.4 สกัดจากพริกไทยที่ความเข้มข้นต่างๆ
ตารางที่ แสดงค่า percent radical scavenging ของสาร 20
4.5 สกัดจากดีปลีที่ความเข้มข้นต่างๆ
แสดงค่า percent radical scavenging ของสาร 21
ตารางที่ สกัดจากพลูที่ความเข้มข้นต่างๆ
4.6 แสดงค่า percent radical scavenging ของสาร 22
สกัดจากชะพลูที่ความเข้มข้นต่างๆ
ตารางที่ แสดงค่า percent radical scavenging ของ 22
4.7 สารละลายมาตรฐานที่ความเข้มข้นต่างๆ
แสดงค่า EC50 ของสารสกัดเปรียบเทียบกับสาร
ตารางที่ มาตรฐาน (ascorbic acid)
4.8

ตารางที่
4.9

ตารางที่
4.10

สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า

ภาพที่ 2.1 ภาพแสดงโครงสร้างของอนุมูลอิสระ DPPH 4


ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงโครงสร้างของพริกไทย 5
ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงโครงสร้างของดีปลี 6
ภาพที่ 2.4 ภาพแสดงโครงสร้างของพลู 7
ภาพที่ 2.5 ภาพแสดงโครงสร้างของชนะพลู 8
์ ้านอนุมูลอิสระ
ภาพที่ 4.1 กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต 23
ของพริกไทย ดีปลี พลู และชะพลูในแต่ละความเข้ม
ข้น 23
ภาพที่ 4.2 กราฟแสดงแนวโน้มสมการเส้นตรงระหว่าง percent
radical scavenging กับความเข้มข้นของสารสกัด 24
จากพริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู
์ ้านอนุมูลอิสระ
ภาพที่ 4.3 กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
ของสารมาตรฐานในแต่ละความเข้มข้น
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ
ในปั จจุบน
ั ประชากรส่วนใหญ่ให้ความสนใจเกี่ยวกับสุขภาพ
และการบริโภคอาหารมาก ขึน
้ เนื่องจากมีหลายปั จจัยที่พบในการ
ดำเนินชีวิตประจำวันที่ก่อให้เกิดอนุมูลอิสระ เช่น การรับ แสงจาก
ดวงอาทิตย์เป็ นเวลานาน ควันจากบุหรีห
่ รือท่อไอเสียรถยนต์และ
มลพิษทางอากาศ โดย อนุมูลอิสระเป็ นสาเหตุส ำคัญของการเสื่อม
สภาพของเซลล์รา่ งกายซึ่งทำให้เซลล์ที่เกิดความ เสื่อมสภาพถูก
เปลี่ย นเป็ นเซลล์ม ะเร็ง ในปี พุท ธศัก ราช 2563 ประเทศไทยมีผ ู้
ป่ วยจากโรคมะเร็ง 120000 คน ซึ่ง มีผ ู้ป่ วย 20671 คน มาจาก
การเป็ นมะเร็ง ตับ และท่อ น้ำดีใ นจำนวนนีม
้ ีผ ู้เ สีย ชีว ิต ทัง้ หมด
15912 คน (กรมการแพทย์, 2563) โดยสาเหตุหลักของโรคมะเร็ง
ตับ และท่อ น้ำดีม าจาก การที่เ ซลล์เ กิด ความผิด ปกติจ งึ ส่ง ผลให้
สามารถติด เชื้อ จากกลุ่มไวรัส ตับ อัก เสบ และเกิดจากพฤติก รรม
การบริโภคอาหารที่มีสารก่อมะเร็ง เช่น อาหารที่มีการปนเปื้ อนสา
รอะฟลาทอกซิน โดยปกติเ ซลล์ร ่า งกายจะมีเ อนไซม์ท ี่ส ามารถ
เปลี่ยนอนุมูลอิสระให้กลายเป็ นโมเลกุลที่ไม่เป็ น อันตรายต่อเซลล์
นอกจากเซลล์ท ั่ว ไปในร่า งกายมีส ารที่เรียกว่า “แอนติอ อกซิแ ด
นท์” ที่สามารถ เปลี่ยนอนุมูลอิสระให้เป็ นสารที่ไม่เป็ นอันตรายต่อ
เซลล์ส ารแอนติอ อกซิแ ดนท์ท ี่ส ามารถ พบได้โ ดยทั่ว ไป ได้แ ก่
วิตามินอี, วิตามินซี, และเบตาแคโรทีน
การรับประทานอาหารที่มีสารแอนติออกซิแดนท์จึงสามารถ
ป้ องกันอันตรายจากสาร อนุมูลอิสระที่มีผลต่อเซลล์ได้ ผู้บริโภค
ส่วนใหญ่นิยมรับประทานอาหารเสริมหรือยาที่มี ส่วนประกอบของ
สารแอนติออกซิแดนท์จากธรรมชาติ จากการค้นคว้าเอกสารทาง
วิชาการ พบว่า พืชวงศ์ Piperaceae บางชนิด เช่น พริกไทย ดีปลี
์ ้าน อนุมูลอิสระและเป็ นพืชที่สามารถ
พลู และชะพลูมีสารที่มีฤทธิต
หาได้งา่ ยภายในจังหวัดจันทบุรี ผู้วิจัยเห็นว่าหากได้ศึกษา ส่วน
ประกอบพืชที่อยู่ในวงศ์ Piperaceae ทัง้ 4 ชนิดเพื่อนำมาศึกษา
์ ารต้านอนุมูล
องค์ประกอบทางเคมีของ ส่วนสกัดที่แสดงฤทธิก
อิสระและนำไปเปรียบเทียบผลได้ร้อยละและประสิทธิภาพ การ
ต้านอนุมูลอิสระ เพื่อนำมาซึง่ ข้อมูลหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่
สามารถนำไปใช้เป็ นแนวทาง ในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารเสริม,
ช่วยเพิ่มมูลค่าของพืชท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรีและสามารถนำ
ประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมเภสัชในอนาคต

2
1.2 จุดประสงค์ของโครงงาน
1.2.1 เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละของสารสกัด
จากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิด ได้แก่ พริกไทย ดีปลี
พลู และชะพลู
1.2.2 เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้าน
อนุมูลอิสระของสารสกัดจาก พืชวงศ์ Piperaceae 4
ชนิดได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู

1.3 สมมติฐาน
1.3.1 ผลได้ร้อยละของสารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae
ทัง้ 4 ชนิดมีคา่ แตกต่างกัน 1.3.2 สารสกัดจากชะพลูมี
ประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระดีที่สุด

1.4 ตัวแปรที่ศึกษา
ตอนที่ 1 การศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละของสาร
สกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิดได้แก่ พริกไทย ดีปลี
พลู และชะพลู
ตัวแปรต้น พืชวงศ์ Piperaceae ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู
ตัวแปรตาม ผลได้ร้อยละของสารสกัดของพืชแต่ละชนิด
ตัวแปรควบคุม น้ำหนักเริ่มต้นของพืชแต่ละชนิด วิธีการสกัด
กระบวนการอบ
ตอนที่ 2 การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้าน
อนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืช วงศ์ Piperaceae 4 ชนิด
ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู
ตัวแปรต้น สารสกัดพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิด ได้แก่ พริก
ไทย ดีปลี พลู และชะพลู ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพการต้าน
อนุมูลอิสระ DPPH
ตัวแปรควบคุม ความเข้มข้นของสารสกัด สารมาตรฐานการ
เปรียบเทียบ ชนิดของตัวทำละลาย ความเข้มข้นของ DPPH ที่ใช้
ทดสอบ

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
1.5.1 สารสกัด คือ สารที่ได้จากการสกัดพืช 4 ชนิดด้วย อะซิ
โตน, เอทานอล 95% และน้ำกลั่น จากนัน
้ นำไประเหยให้แห้ง
1.5.2 ประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ คือ ประสิทธิภาพใน
การกำจัดอนุมูลอิสระ DPPH โดย วัดค่าเป็ น percent radical

scavenging และ EC50

1.5.3 สารละลายแวกเนอร์ คือ สารละลายที่ใช้ตรวจสอบ


สารอัลคาลอยด์ ประกอบด้วย โพแทสเซียมไอโอไดด์และ
ไอโอดีนละลายในน้ำ
์ ้านอนุมูลอิสระ ที่ใช้ใน
1.5.4 สารมาตรฐาน คือ สารที่มีฤทธิต
การเทียบหาความสามารถในการ ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัด
ในที่นใี ้ ช้วิตามินซี (ascorbic acid)

1.6 นิยามเชิงปฎิบัติการ
Percent radical scavenging หมายถึง เปอร์เซ็นต์ความ
สามารถในการยับยัง้ อนุมูลอิสระ ของสารสกัด เทียบกับสาร
มาตรฐาน

Percent radical scavenging =

โดยที่ A = ค่าการดูดกลืนแสงของสารชุดควบคุม
(สารละลาย DPPH ผสมเมทานอล)
B = ค่าการดูดกลืนแสงของชุดทดสอบ (สาร
ตัวอย่างผสม DPPH)

EC50 หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารสกัดที่สามารถยับยัง้ อนุมูล


อิส ระได้ 50 เปอร์เ ซ็น ต์ หาได้ จากการสร้า งกราฟระหว่า ง
percent radical scavenging และความเข้ม ข้น ของสารสกัด
แล้ว หาความเข้มข้นบนกราฟที่มี percent radical scavenging
เป็ น 50 เปอร์เซ็นต์

1.7 ขอบเขตของการดำเนินงาน
1.7.1 พืชที่นำมาศึกษา ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู ในจังหวัด
จันทบุรี
1.7.2 สถานที่ คือ ห้องปฏิบัติการโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัด
จันทบุรี
4

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

จากการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาและเปรียบเทียบสารสกัด

จากพืชวงศ์ Piperaceae ที่มีฤทธิ ์ ต้านอนุมูลอิสระ คณะผูจ


้ ัดทำมีการ

ศึกษาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามหัวข้อต่อไปนี ้

2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

2.1.1 การวัดความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH


ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก ำ จ ัด อ น ุม ูล อ ิส ร ะ DPPH (2,2-diphenyl-1-

picrylhydrazyl) DPPH คือ อนุม ูล อิส ระที่ม ีค วามเสถีย ร (stable

free radical) เป็ นสารที่นิยมนำไปใช้เป็ นตัวชีว้ ัดความสามารถ ในการ

ต้า นอนุม ูล อิส ระของสารที่ส นใจ ใช้ห ลัก การของ DPPH ในรูป ของ

อนุมูลอิสระ ที่อยู่ในสารละลาย จะมีสีม่วงเข้ม และดูดกลืน คลื่นแสงที่

ความยาวคลื่น 515 นาโนเมตร การสูญ เสีย อิเ ล็ก ตรอนอิส ระให้ก ับ

โมเลกุลอื่น โดยมีตัวรับอิเล็กตรอนคือสารต้านอนุมูลอิสระหรือสารสกัด

จากสมุนไพร จะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยู่ในรูปออกซิไดซ์ (DPPH) ซึง่


การลดลงของอนุมูลอิสระดังกล่าวจะสังเกตได้จากการจาง ลงของสีม่วง

ในสารละลาย สามารถวัด การค่า การดูด กลืน คลื่น แสงที่ล ดลงที่

ความยาวคลื่น ที่ 515 นาโน เมตร เป็ นตัว ชีว้ ัด ของปฏิก ิร ิยาที่เ กิด ขึน

หรือก็คือการลดลงของ DPPH ที่มีผลมาจากสารต้านอนุมูลอิสระ

ภาพที่ 2.1 ภาพแสดงโครงสร้างของอนุมูลอิสระ DPPH

ที่มา : วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีที่


3 ฉบับที่ 1 (2560)
5

2.1.2 พริกไทย

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Piper Nigrum L.

ชื่อวงศ์ : Piperaceae

ชื่อสามัญ : Black Pepper


ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์ของพริกไทย

1) ลำต้น ข้อโป่ งนูนมีรากฝอยตามข้อเถาเพื่อใช้ยึดเกาะ

เถายาว 2-4 เมตร มีข้อปล้อง เห็นได้ชัด

2) ใบ เป็ นใบเดี่ยว ออกสลับ ใบออกตามข้อหรือยอดเถา

ใบรูปไข่ โคนมนหรือเบีย
้ วไม่ เท่ากัน ปลายแหลม ขอบ

ใบเรียบ ผิวเรียบมัน เนื้อใบหนา

3) ดอก ออกเป็ นช่อตรงข้า มกับ ใบที่ข ้อเถา ไม่มีก้านดอก

ออกบนช่อแกน ยาว 7-15 เซนติเมตร แต่ละช่อมี 50-

150 ดอก ดอกย่อยสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้ 2 อัน ดอก

ลักษณะกลม ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก

4) ผล เป็ นผลสด รูปกลม ขนาด 0.3-0.5 เซนติเมตร ออก

เป็ นพวง ผลอ่อนสีเขียว เมื่อ สุกสีแดง เมื่อแห้งสีดำและ

มีผิวย่น ภายในผลหนึง่ ๆจะมี1 เมล็ด

5) เมล็ดสีขาวนวล แข็ง ค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง

ประมาณ 3-4 มิลลิเมตร เมล็ด มีกลิ่นฉุนและมีรสเผ็ด

ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงผลของพริกไทย

ที่มา : medthai (2560)


6

2.1.3 ดีปลี

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Piper retrofractum Vahl

ชื่อวงศ์ : Piperaceae

ชื่อสามัญ : Long Pepper

ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์ของดีปลี

1) ลำต้น ไม้เถามีรากฝอยออกบริเวณข้อเพื่อใช้ยึดเกาะ

และเลื้อยพัน เถาค่อนข้าง เหนียวและแข็ง มีข้อนูน

แตกกิง่ ก้านสาขามาก

2) ใบดีปลี มีใบเป็ นใบเดี่ยว ลักษณะเป็ นรูปไข่แกมขอบ

ขนาน ใบมีสีเขียวเข้มเป็ นมัน ปลายใบแหลม โคนใบมน

ขอบใบเรียบเป็ นคลื่นเล็กน้อย

3) ดอกดีปลี หรือ ผลดีปลี ผลสดมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะ

เปลี่ยนเป็ นสีแดง ลักษณะของ ผลอัดกันแน่นเป็ นช่อรูปทรง

กระบอก โคนใหญ่กว่าปลายไม่มาก ปลายเล็ก 4) ผลมีความ

ยาวประมาณ 2.5-7.5 เซนติเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง

ประมาณ 5-8 เซนติเมตร ผิวของผลค่อนข้างหยาบ และมี

เกสรตัวเมียติดอยู่ ผลย่อยมีเมล็ดเดียว โดยเมล็ดมีขนาด


เล็กมาก ลักษณะกลมและแข็ง ผงของผลมีสีน้ำตาล มีกลิน

หอม เฉพาะตัว มีรสเผ็ดร้อน ขมปร่า

ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงผลของดีปลี

ที่มา : medthai (2560)


7

2.1.4 พลู

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Piper bette L.

ชื่อวงศ์ : Piperaceae

ชื่อสามัญ : Betel Pepper

ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์ของพลู

1) ลำต้น เลื้อยยาว ลักษณะของลำต้นอวบน้ำ มีร่องเล็ก ๆ

สีน้ำตาลยาวขนานไปตลอด ลำต้น สันร่องมีสเี ขียว มีข้อ


และปล้องชัดเจน มีรากออกรอบข้อไว้ยึดเกาะ ทุกส่วนมี

กลิ่นหอมเฉพาะ

2) ใบ เป็ นใบเดี่ยว ติดกับล าต้นแบบสลับ ลักษณะใบรูป

ไข่หรือรูปหัวใจคล้ายใบโพธิ ์ ปลายใบแหลม ผิวใบ

เรียบ ผิวแผ่นใบมันและมีสีเข้มกว่าผิวท้องใบ ขอบใบ

เรียบ ใบ อ่อนจะเป็ นสีเขียวและใบแก่สีจะเข้มขึน


้ และ

มีกลิ่นฉุน

3) ดอก ออกเป็ นกลุ่มเรียงอยู่บนก้านช่อดอก ดอกเพศผู้

และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่ คนละดอก

4) ผล ลักษณะผลรูปกลม อัดแน่นเป็ นช่อ เนื้อนุ่ม เมื่อสุกมีสี


แดง

ภาพที่ 2.4 ภาพแสดงใบของพลู

ที่มา : disthai (2560)


8

2.1.5 ชะพลู
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Piper sarmentosum Roxb.

ชื่อวงศ์ : Piperaceae

ชื่อสามัญ : Wildbetal leafbush

ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์ของชะพลู

1) ลำต้น มีลก
ั ษณะตั่งตรง สูงประมาณ 30-50

เซนติเมตร สีเขียวเข้ม มีข้อเป็ นปม แตกกอออกเป็ น

พุ่ม เติบโตได้ดีในพื้นที่ดินชุ่ม

2) ใบ มีสีเขียวสดถึงเขียวแก่ ก้านใบยาว 1-3 เซนติเมตร

ลักษณะใบเป็ นใบเดี่ยว คล้าย รูปหัวใจ ใบกว้าง 5-10

เซนติเมตร ยาว 7-15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบ

เว้า ผิวมันออกมัน แทงใบออก 2 ใบตรงข้ามกัน มีเส้นใบ

ประมาณ 7 เส้น แทงออกจาก ฐานใบ

3) ดอก เป็ นช่อ ทรงกระบอก ชูตงั ้ ขึน


้ ดอกอ่อนมีสีขาว

เมื่อแก่จะออกสีเขียว รูป ทรงกระบอก แทงดอก

บริเวณปลายยอด และช่อใบ

4) ผล เจริญบนช่อดอก มีลักษณะเป็ นผลสีเขียว ผิวมัน มี

ลักษณะกลมเล็กฝั งตัวในช่อ ดอกหลายเมล็ด มัก

ออกดอกมากในฤดูฝน
ภาพที่ 2.5 ภาพแสดงใบของชะพลู

ที่มา : medthai (2560)


9

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
์ ้านอนุมูลอิสระของสาร
จากการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาฤทธิต

สกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay มีกระบวนการ

สกัดสารที่สอดคล้องกับงานวิจัยดังนี ้

ผศ.ดร.นิวัติ แก้วประดับ และนศภ.นิธิกาญจน์ ขันติวรพงศ์,

(2543) เมื่อนำสารสกัด อะซิโตน สารสกัด 95% ethanol และสาร

สกัดน้ำของพริกไทย (Piper nigrum) 2 ชนิด คือพริกไทยดำ (Black


์ ้าน
pepper) และพริกไทยล่อน (White pepper) มาทดสอบฤทธิต

อนุมูลอิสระโดยใช้วิธี DPPH radical scavenging assay พบว่า สาร

์ ้านอนุมูลอิสระดีที่สุดโดยมีค่า EC50 =
สกัดน้ำของพริกไทยดำมีฤทธิต

32.56 µg/ml รองลงมาคือสารสกัด 95% ethanol ของพริกไทยดำมี

ค่า EC50 = 61.20 µg/ml ในขณะ ที่สารสกัด acetone ของพริก

์ ้านอนุมูลอิสระ
ไทยดำ และสารสกัดทัง้ 3 ชนิดของพริกไทยล่อนมีฤทธิต
ต่ำมาก ( EC50 > 100 µg/ml)

จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัด 95% ethanol ของ

พริกไทยดำสามารถแยกได้ แอลคาลอยด์ 2 ชนิดคือ piperine และ

piperylin ซึ่งมีคา่ scavenging activity ที่มีความเข้มข้น 100 µg/ml

์ ้านอนุมูลอิสระค่อนข้างต่ำ)
ประมาณ 6% และ 30% ตามลำดับ (มีฤทธิต

อย่างไรก็ตามพบว่าส่วน

สกัด (fraction) ที่มีความเป็ นขัว้ สูงซึง่ ปราศจาก piperine และ

์ ้านอนุมูล อิสระที่ดีโดยมีค่า EC50 = 26.31


piperylin กลับแสดงฤทธิต

µg/ml สำหรับองค์ประกอบทางเคมีของส่วนสกัดนี ้ และสารสกัดน้ำ

(water extract) ของพริกไทยดำ พบว่าเป็ นสารที่มี hydroxyl group


์ ้านอนุมูลอิสระ
เป็ นองค์ประกอบซึ่งน่าจะเป็ นสาร ที่แสดงฤทธิต

์ ้านอนุมูลอิสระของสาร
จากการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาฤทธิต

สกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay มีกลไกระดับ

โมเลกุลในการต้านมะเร็งของสารของ พิเพอรีน ที่สอดคล้องกับ งาน

วิจัยดังนี ้

ศิริพร หมาดหล้า, ปร.ด. และ พจนพร ไกรดิษฐ์, ปร.ด. (2560) พิเพ

อรีน (C17H19NO3) เป็ น สารอัลคาลอยด์กลุ่ม พิเพอริดีน พบมากในเมล็ด

พริกไทย (Piper nigrum) และดีปลี (Piper longum) ใน พริกไทยดำมี

สารพิเพอรีนอยู่ ประมาณร้อยละ 5–9 และมีรายงานว่าสารพิเพอรีนมี

์ ี่สำคัญและเป็ น ประโยชน์จำนวนมาก เช่น แก้ท้องเดิน


ฤทธิท

(antidiarrheal) รักษาโรคลมชัก (anticonvulsant) ลดไขมันใน กระแส


เลือด (hypolipidemic) ต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ต้านการ

อักเสบ (anti inflammation)

10

ต้านการกลายพันธุ์ (antimutagen) ลดอาการซึมเศร้า

(antidepressant) และยับยัง้ การเจริญของ เซลล์มะเร็ง ดังจะเห็นได้ว่า

ส่วนต่างๆ ของพืช ในสกุล Piper ได้ถูกน า มาใช้เป็ นยาแผนโบราณใน

การ รักษา เนื้องอกและมะเร็งในหลายประเทศมาเป็ นเวลานาน เช่น

ประเทศไทย อินเดีย เม็กซิโก โมร็อกโก ไนจีเรีย โบลิเวีย ปาปั วนิวกินี

แคเมอรูน และหมู่เกาะคุก เป็ นต้น


11

บทที่ 3
วิธีดำเนินการทดลอง

์ ้านอนุมูลอิสระของ
ในการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาฤทธิต
สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay มีวิธีดำเนิน
การทดลองตามขัน
้ ตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือพิเศษ


3.1.1 วัสดุอุปกรณ์
ชนิดของวัสดุอุปกรณ์
จำนวน

กรวยกรอง 3 อัน
กระดาษกรอง 10 อัน
ขวดรูปชมพู่ ขนาด 250 มิลลิลิตร 3 อัน
หลอดทดลองขนาดเล็ก 4 หลอด
หลอดทดลองขนาดกลาง 4 หลอด
โกร่งบดสาร 1 อัน
บีกเกอร์ ขนาด 250 มิลลิตร 6 อัน
ขวดปรับปริมาตร 100 มิลลิตร 5 อัน
ขวดปรับปริมาตร 500 มิลลิลิตร 5 อัน
แท่งแก้วคนสาร 6 อัน
หลอดหยด 6 อัน
เทอร์โมมิเตอร์ 1 อัน

พืนที่นำมาศึกษา
พริกไทย 100 กรัม

ดีปลี 100 กรัม

พลู 100 กรัม

ชะพลู 100 กรัม

12
3.1.2 เครื่องมือพิเศษ
ชนิดเครื่องมือ
จำนวน

ตู้อบความร้อน 1
เครืองชัง่ ทศนิยม 2 ตำแหน่ง อัน
เครื่อง UV-Visible Spectrophotometer 1
Hot plate อัน
1
อัน
2
อัน

3.2 สารเคมี
ชื่อสารเคมี
ปริมาณ

อะซิโตน 500
เอทานอล (Ethanol 95%) มิลลิลิตร
น้ำกลั่น 500
ผงไอโอดีน มิลลิลิตร
โพแทสเซียมไอโอไดด์ 1000
กรดไฮโดรคลอริก (Hydrocholric 1.5% v/v) มิลลิลิตร
เมทานอล (Methanol) 2 กรัม
อนุมูลอิสระ DPPH (2,2-diphenyl-1- 6 กรัม
picrylhydrazyl) 100
วิตามินซี (Ascorbic Acid) มิลลิลิตร
ยา Atropine Sulfate 3000
มิลลิลิตร
250
มิลลิกรัม
2
มิลลิลิตร
2
มิลลิลิตร

3.3 ขัน
้ ตอนการดำเนินงาน
ตอนที่ 1 เตรียมสกัดพืชตัวอย่าง
1) นำใบพลู ใบชะพลู และผลพริกไทย มาล้างทำความสะอาด แล้วตาก
ให้แห้ง
2) เมื่อแห้งแล้ว นำมาชั่งน้ำหนัก 100 กรัม
3) นำพืชที่ชั่งน้ำหนักแล้วไปอบทีค
่ วามร้อน 100 องศา
เซลเซียสเป็ นเวลา 90 นาที 4) นำพืชไปบดให้ละเอียด
แล้วชั่งน้ำหนักหลังอบ เพื่อหาผลได้ร้อยละ

13

ตอนที่ 2 สกัดด้วยอะซิโตน เอทานอล และน้ำกลั่น


1) นำผงพืชจากขัน
้ ตอนที่ 1 มาชั่งน้ำหนัก 20 กรัม
2) สำหรับดีปลี ให้ขา้ มตอนที่ 1 นำผลมาบดให้ละเอียด แล้วชัง่
น้ำหนัก 20 กรัม |
3) นำผงพืชที่ชงั่ น้ าหนักแล้วเทใส่บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร
จากนัน
้ เทอะซิโตน มิลลิลิตรตาม ลงไป แช่ทงิ ้ ไว้ 48 ชั่วโมง
4) เมื่อครบ 48 ชั่วโมง นำอะซิโตนออก ใส่เอทานอล 95% 150
มิลลิลิตรลงไปแทน แช่ทงิ ้ ไว้ 48 ชั่วโมง
5) เมื่อครบ 48 ชั่วโมง นำเอทานอล 95% ออก เติมน้ำกลั่น
150 มิลลิลิตรลงไปแทน แช่ทงิ ้ ไว้ 48 ชั่วโมง
ตอนที่ 3 ระเหยเพื่อเอาสารสกัด
1) เมื่อแช่น้ ากลั่นครบ 48 ชม. กรองนำผงพืชออก ถ่ายน้ำใส่บีก
เกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร โดยชั่ง น้ำหนักบีกเกอร์เปล่าก่อน
2) นำบีกเกอร์ไปตัง้ บน Hot plate ระเหยจนกว่าน้ำจะระเหย
หมด จับเวลาที่ใช้ในการระเหย 3) ชัง่ น้ำหนักบีกเกอร์รวมกับ
สารสกัดที่เหลือติดกับบีกเกอร์ เพื่อหาน้ำหนักของสารสกัดที่ได้
ตอนที่ 4 ทดสอบสารกับสารละลายแวกเนอร์
1) ฉีดน้ำกลั่นปริมาณเล็กน้อยลงในบีกเกอร์ที่มีสารสกัดอยู่ เพื่อให้
ส า ม า ร ถ น ำ ส า ร ส ก ัด อ อ ก ม า ไ ด ้
2) ผสมสารละลายแวกเนอร์ โดยละลายไอโอดีน 2 กรัม และ
โพแทสเซียมไอโอไดด์ 6 กรัมในน้ำ 100 มิลลิลิตร
3) ดูดสารสกัดด้วยหลอดหยดมาใส่หลอดทดลอง 2-3 หยด จาก
นัน
้ หยดสารละลายกรดไฮโดร คลอริกความเข้มข้น 1.5
เปอร์เซนต์ โดยปริมาตร 2-3 หยด
4) ถ้ามีตะกอนเกิดขึน
้ ให้กรองทิง้ นำมาเฉพาะสารละลายที่เป็ น
ของเหลว
5) ดูดสารละลายแวกเนอร์ใส่หลอดทดลองที่มีสารสกัด จากนัน

เขย่า โดยทำในบีกเกอร์ใส่น้ าที่ วางบน Hot plate ใช้
เทอร์โมมิเตอร์คุมอุณหภูมิที่ 60 องศาเซลเซียส
6) ตัง้ ทิง้ ไว้ให้เย็น ถ้ามีตะกอนเกิดขึน
้ แสดงว่ามีสารสกัดมีสา
รอัลคาลอยด์
7) ถ้าของเหลวที่ได้ในขัน
้ ตอนสุดท้ายมีสีเข้มทำให้สังเกต
ตะกอนได้ยาก ให้ผสมน้ำในหลอด ทดลองจนสารละลายมีสี
จางลงแล้วสังเกตตะกอน

14

์ ้านอนุมูลอิสระด้วย DPPH
ตอนที่ 5 ทดสอบประสิทธิภาพฤทธิต
assay
1) เตรียมสารสกัดจากพริกไทย ดีปลี พลู และชะพลูให้มีความเข้ม
ข้น 7 ระดับ (0.8, 0.4, 0.2, 0.1, 0.05, 0.025, 0.0125 มิลลิกรัม
ต่อมิลลิตร) ในตัวทำละลายเมทานอล
2) เตรียมสารละลายมาตรฐานวิตามินซี (ascorbic acid) ที่ความ
เข้มข้น 0.0125 - 0.1 มิลลิกรัม ต่อมิลลิลิตร
3) เตรียมสารละลาย DPPH ความเข้มข้น 0.05 มิลลิกรัมต่อ
มิลลิลิตร ในตัวทำละลายเมทานอล
4) นำสารละลาย ascorbic acid และสารสกัดจากพืชที่ความเข้ม
ข้นต่างๆ มาผสมกับสารละลาย DPPH ในอัตราส่วน 1:1 แล้วนำ
ไปบ่มในที่มืดที่อุณภูมิห้องเป็ นเวลา 30 นาที
5) วัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลายในข้อ 4) ด้วย UV-Visible
Spectrophotometer ที่ ความยาวคลื่น 515 nm โดยมี blank
เป็ นเมทานอล
6) น าค่าที่วัดได้มาหาค่า percent radical scavenging จากสูตร

Percent radical scavenging =

โดยที่ A = ค่าการดูดกลืนแสงของสารชุดควบคุม
(สารละลาย DPPH ผสมเมทานอล)
B = ค่าการดูดกลืนแสงของชุดทดสอบ (สารตัวอย่างผสม
DPPH)
7) สร้างกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง percent
radical scavenging กับ ความเข้มข้นของสารสกัด

8) ค านวณหาค่า EC50 จากกราฟโดยสร้างสมการเส้นตรง


จากกราฟข้อ 7) แล้วแทนค่า y = 50 ในสมการเพื่อหาค่า
x
9) บันทึกค่าในตารางแล้วเปรียบเทียบความสามารถในการต้านอนุมูล
อิสระของสารสกัดแต่ละตัว
15

บทที่ 4
ผลการทดลอง

์ ้านอนุมูลอิสระของ
จากการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาฤทธิต
สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay ได้ผลการ
ทดลองดังนี ้

4.1 การศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละของสารสกัด
จากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิดได้แก่ พริกไทย ดีปลี
พลูและชะพลู
เมื่อนำพืชที่นำมาศึกษาทัง้ สี่ชนิด ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู
และชะพลู มาสกัดด้วยอะซิโตน เอทานอล 95% และน้ำกลั่น พบ
ว่าได้ผลได้ร้อยละของพืชในขัน
้ ตอนการสกัด ดังตารางที่ 4.1, 4.2
และ 4.3

ตารางที่ 4.1 เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช ก่อนและหลังอบ

พืชที่น ามา ปริมาณก่อน ปริมาณหลัง ผลได้ร้อย


ศึกษา อบ(กรัม) อบ(กรัม) ละ

พริกไทย 100.00 24.22 24.22


พลู 100.00 28.72 28.72

ชะพลู 100.00 27.66 27.66

16

ตารางที่ 4.2 เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช หลังระเหยตัวทำละลาย เทียบ


กับปริมาณพืชที่นำมาสกัด

พืชที่นำมา ปริมาณพืช ปริมา ปริมาณสาร ผลได้ร้อย


ศึกษา ที่นำมา สารละลาย สกัดที่ได้ หลัง ละ

สกัด(กรัม) ก่อน ระเหย (กรัม)


ระเหย(กรัม
)

พริกไทย 20.00 142.26 0.92 4.60

ดีปลี 20.00 127.17 2.85 14.25

พลู 20.00 138.60 2.81 14.05

ชะพลู 20.00 148.85 3.06 15.30


ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบผลได้ร้อยละของพืช ก่อนอบและหลังระเหยตัวทำ
ละลาย

พืชที่นำมาศึกษา ผลได้ร้อยละหลัง ผลได้ร้อยละหลัง ผลได้ร้อยละรวม


อบ ระเหย

พริกไทย 24.22 4.60 1.11

ดีปลี -* 14.25 -

พลู 28.72 14.05 4.03

ชะพลู 27.66 15.30 4.23

*เนื่องจากดีปลีไม่มีการอบเพื่อหาผลได้ร้อยละ

จากตารางแสดงผลได้ร้อยละของพืชทัง้ 4 ชนิด พบว่าชะพลูมีผล


ได้ร้อยละมากที่สุด รองลงมาคือ พลู และพริกไทย ตามลำดับ

17

ตารางที่ 4.4 ผลการทดสอบสารสกัดกับสารละลายแวกเนอร์

พืชที่นำมาศึกษา ผลการทดสอบกับสารละลายแวก
เนอร์

พริกไทย เกิดตะกอน

ดีปลี เกิดตะกอน
พลู เกิดตะกอน

ชะพลู เกิดตะกอน

น้ำกลัน
่ ไม่เกิดตะกอน

Atropine Sulfate (สารอัลคา เกิดตะกอน


ลอยด์)

จากตารางแสดงผลการทดสอบสารสกัดกับสารละลายแวกเนอร์
พบว่า สารสกัด จากพืช ทัง้ สี่ช นิด และ Atropine Sulfate มีก ารตก
ตะกอนเกิดขึน
้ ในขณะที่น้ำกลั่นไม่ตกตะกอน แสดงว่า สารสกัดจากพืช
ทัง้ สี่ชนิดมีสารอัลคาลอยด์เป็ นองค์ประกอบ

18

4.2 การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้าน
อนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืช วงศ์Piperaceae 4 ชนิด
ได้แก่ พริกไทย ดีปลีพลูและชะพลู
เมื่อนำพืชที่นำมาศึกษาทัง้ สี่ชนิด ได้แก่ พริกไทย ดีปลีพลูและ
ชะพลูมาตรวจสอบประสิทธิภาพ ในการต้านอนุมูลอิสระ พบว่าได้ผล
การทดสอบ ดังตารางที่ 4.5, 4.6, 4.7, 4.8 และ 4.9

ผลการทดลองค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิ ์
ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจาก พริกไทย

ตารางที่ 4.5 แสดงค่า percent radical scavenging ของสารสกัดจากพริก


ไทยที่ความเข้มข้นต่างๆ

ความเข้มข้นของสารสกัด ค่าการดูดกลืน percent radical


( mg/mL ) แสง scavenging

DPPH + Methanol (ชุด 1.214 -


ควบคุม)

DPPH + พริกไทย 0.0125 1.044 14.003


mg/mL

DPPH + พริกไทย 0.025 0.957 21.170


mg/mL

DPPH + พริกไทย 0.05 0.753 37.973


mg/mL

DPPH + พริกไทย 0.1 0.671 44.728


mg/mL
DPPH + พริกไทย 0.2 0.488 59.802
mg/mL

DPPH + พริกไทย 0.4 0.308 74.629


mg/mL

DPPH + พริกไทย 0.8 0.153 87.397


mg/mL

19

์ ้านอนุมูล
ผลการทดลองค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
อิสระของสารสกัดจากดีปลี

ตารางที่ 4.6 แสดงค่า percent radical scavenging ของสารสกัดจากดีปลี


ที่ความเข้มข้นต่างๆ

ความเข้มข้นของสารสกัด ค่าการดูดกลืน percent radical


( mg/mL ) แสง scavenging

DPPH + Methanol (ชุด 1.223 -


ควบคุม)

DPPH + ดีปลี 0.0125 1.133 7.359


mg/mL

DPPH + ดีปลี0.025 mg/mL 1.050 14.146

DPPH + ดีปลี 0.05 mg/mL 0.915 25.184


DPPH + ดีปลี 0.1 mg/mL 0.786 35.732

DPPH + ดีปลี 0.2 mg/mL 0.332 50.123

DPPH + ดีปลี 0.4 mg/mL 0.424 65.331

DPPH + ดีปลี 0.8 mg/mL 0.327 73.262

20

์ ้านอนุมูล
ผลการทดลองค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
อิสระของสารสกัดจากพลู

ตารางที่ 4.7 แสดงค่า percent radical scavenging ของสารสกัดจากพลูที่


ความเข้มข้นต่างๆ

ความเข้มข้นของสารสกัด ค่าการดูดกลืน percent radical


( mg/mL ) แสง scavenging

DPPH + Methanol (ชุด 1.219 -


ควบคุม)

DPPH + พลู 0.0125 mg/mL 0.876 28.138


DPPH + พลู 0.025 mg/mL 0.735 39.705

DPPH + พลู 0.05 mg/mL 0.623 48.893

DPPH + พลู 0.1 mg/mL 0.459 62.346

DPPH + พลู 0.2 mg/mL 0.348 71.452

DPPH + พลู 0.4 mg/mL 0.073 94.011

DPPH + พลู 0.8 mg/mL 0.038 96.883

21

์ ้านอนุมูล
ผลการทดลองค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
อิสระของสารสกัดจากชะพลู

ตารางที่ 4.8 แสดงค่า percent radical scavenging ของสารสกัดจากชะพลู


ที่ความเข้มข้นต่างๆ

ความเข้มข้นของสารสกัด ค่าการดูดกลืน percent radical


( mg/mL ) แสง scavenging
DPPH + Methanol 1.221 -

DPPH + ชะพลู 0.0125 0.799 34.561


mg/mL

DPPH + ชะพลู 0.025 0.694 43.161


mg/mL

DPPH + ชะพลู 0.05 mg/mL 0.599 50.942

DPPH + ชะพลู 0.1 mg/mL 0.429 64.864

DPPH + ชะพลู 0.2 mg/mL 0.321 73.710

DPPH + ชะพลู 0.4 mg/mL 0.066 94.894

DPPH + ชะพลู 0.8 mg/mL 0.027 97.789

22

์ ้านอนุมูล
ผลการทดลองค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
อิสระของ ascorbic acid
ตารางที่ 4.9 แสดงค่า percent radical scavenging ของสารละลาย
มาตรฐานทีค
่ วามเข้มข้นต่างๆ

ความเข้มข้นของสารสกัด ค่าการดูด percent radical


( mg/mL ) กลืนแสง scavenging

DPPH + Methanol 0.604 -

DPPH + ascorbic acid 0.0125 0.442 31.821


mg/mL

DPPH + ascorbic acid 0.025 0.364 39.735


mg/mL

DPPH + ascorbic acid 0.05 0.197 52.284


mg/mL

DPPH + ascorbic acid 0.1 0.059 67.232


mg/mL

ตารางที่ 4.10 แสดงค่า EC50 ของสารสกัดเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน


(ascorbic acid)

สารสกัด ค่า EC50 (mg/ml)

พริกไทย 0.1064

ดีปลี 0.1401

พลู 0.0612

ชะพลู 0.0518
Ascorbic acid 0.0525

23

์ ้านอนุมูลอิสระของพริก
ภาพที่ 4.1 กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต
ไทย ดีปลี พลู และชะพลูในแต่ละ ความเข้มข้น

ภาพที่

4.2 กราฟแสดงแนวโน้มสมการเส้นตรงระหว่าง percent radical


scavenging กับความเข้มข้น ของสารสกัดจากพริกไทย ดีปลี พลู และ
ชะพลู
ค่า EC50 ของพริกไทย ดีปลี พลู และชะพลู เท่ากับ 0.01064 ,
0.1402 , 0.0612 และ 0.0518 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ

24

์ ้านอนุมูลอิสระของ
ภาพที่ 4.3 กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การออกฤทธิต

ascorbic acid ในแต่ละความเข้มข้น ค่า EC50 ของ ascorbic


acid เท่ากับ 0.0525 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
25

บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

์ ้านอนุมูลอิสระของ
จากการท าโครงงานเรื่อง การศึกษาฤทธิต
สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ด้วยวิธี DPPH assay สามารถสรุป
ผลการทดลอง อภิปรายผล และมีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี ้

5.1 สรุปผล

ตอนที่ 1 : การศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละของสารสกัด
จากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิด ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และ
ชะพลู
จากการศึกษาผลได้ร้อยละของสารสกัดจาก พริกไทย ดีปลี พลู
และชะพลู พบว่า สารสกัดจาก ชะพลูมีผลได้ร้อยละมากที่สุดรองลงมา
คือพลู และพริกไทย ตามลำดับ โดยเมื่อเปรียบเทียบผลได้ร้อยละ ก่อน
และหลังอบแล้ว พบว่าพลูมีผลได้ร้อยละมากที่สุด และเปรียบเทียบผล
ได้ร้อยละก่อนและหลังระเหย พบว่าชะพลูมีผลได้ร้อยละมากที่สุด

ตอนที่ 2 : การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้านอนุมูล
อิสระของสารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิดได้แก่ พริก
ไทย ดีปลี พลูและชะพลู
จากการศึกษาประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจาก
พริกไทย ดีปลี พลูและชะพลู พบว่า เมื่อทดสอบสารสกัดจากพืชทัง้ 4
ชนิดด้วยสารละลายแวกเนอร์ ผลการทดสอบเกิดตะกอนทัง้ หมด เมื่อนำ
์ ้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH
สารสกัดจากพืชทัง้ 4 ชนิดมาหาฤทธิต
assay พบว่า สาร สกัดจากชะพลู มีประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระสูง
ที่สุด โดยมีค่า EC50 ที่ 0.0518 มิลลิกรัมต่อ มิลลิลิตร ซึ่งใกล้เคียงกับค่า

EC50 ของสารมาตรฐานที่ 0.0525 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร รองลงมาคือ พลู


พริกไทย และดีปลี และสารสกัดทัง้ 4 ชนิดมีความสามารถในการต้าน
อนุมูลอิสระเพิ่มขึน
้ ตามความเข้มข้น ที่ช่วงความเข้มข้น 0.0125-0.8
มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
26

5.2 อภิปรายผล

ตอนที่ 1 : การศึกษาและเปรียบเทียบผลได้ร้อยละของสารสกัด
จากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิด ได้แก่ พริกไทย ดีปลี พลู และ
ชะพลู
จากการศึกษาผลได้ร้อยละของสารสกัดจาก พริกไทย ดีปลี พลู
และชะพลู พบว่า สารสกัดจาก พืชมีผลได้ร้อยละแตกต่างกัน เนื่องจาก
มีสารองค์ประกอบภายในแตกต่างกัน โดยหลังอบ พลูมีผลได้ร้อย ละ
มากที่ส ุด แสดงว่า มีอ งค์ป ระกอบที่เ ป็ นน้ำหรือ สารที่ร ะเหยง่า ยน้อ ย
ที่สุด เมื่อเปรียบเทียบผลได้ร้อยละ ก่อนและหลังระเหย ชะพลูมีผลได้
ร้อยละมากที่สุด แสดงว่ามีสารเคมีที่สกัดได้จากตัวทำละลายอะซิโตน
เอทานอล และน้ำเป็ นองค์ประกอบมากที่สุด

ตอนที่ 2 : การศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้านอนุมูล
อิสระของสารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae 4 ชนิดได้แก่ พริก
ไทย ดีปลี พลูและชะพลู
จากการศึกษาประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจาก
พริกไทย ดีปลี พลูและชะพลู พบว่า เมื่อทดสอบสารสกัดจากพืชทัง้ 4
ชนิดด้วยสารละเลยแวกเนอร์ ผลการทดสอบเกิดตะกอนทัง้ หมด แสดง
ว่าในสารสกัดจากพืชทัง้ 4 ชนิดมีสารอัลคาลอยด์เป็ นองค์ประกอบ ซึ่ง
์ ้านอนุมูลอิสระได้
อาจมีฤทธิต
์ ้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี
เมื่อนำสารสกัดจากพืชทัง้ 4 ชนิดมาหาฤทธิต
DPPH assay พบว่า สาร สกัดจากพืชทัง้ 4 ชนิดมีประสิทธิภาพการ
ต้านอนุมูลอิสระต่างกันโดยสารสกัดจากชะพลู มีประสิทธิภาพ การ
ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด และสารสกัดจากชะพลู และพลูมี
ประสิทธิภาพแตกต่างกันน้อย ซึ่งอาจบ่ง บอกถึงองค์ประกอบทางเคมี
ที่ใกล้เคียงกัน

5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ควรหาผลดีปลีสดมาสกัดเนื่องจากจะทำให้เปรียบเทียบ
ผลได้ร้อยละของดีปลีได้ด้วย 5.3.2 ควรศึกษาประสิทธิภาพการต้าน
อนุมูลอิสระของสารสกัดจากส่วนต่างๆของพืชเพิ่มเติม 5.3.3 ควร
ศึกษาประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืชโดยใช้วิธี
การสกัดที่ แตกต่างกัน
5.3.4 ควรมีการวิเคราะห์องค์ประกอบทางพฤกษเคมีของสารสกัดจาก
พืชเพิ่มเติม

27

เอกสารอ้างอิง

์ งวาณิช. (2555). การทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดจากใบ


กุลรัศมิค
์ ้าน
หม่อนต่อการต้านอนุมูลอิสระ ปริยานุช อินทร์รอด. (2551). ฤทธิต
ออกซิเดชัน และปริมาณสารประกอบฟี นอลของส่วนสกัดจากต้น เร่ว
หอมและว่านสาวหลง
์ ารต้านอนุมูลอิสระของเปลือกต้นวงศ์
พรรณีเด่นรุ่งเรือง. (2550). ฤทธิก
อบเชย. ส านักวิจยการจัดการป่ า ไม้และผลิตผลป่ าไม้, กรมป่ าไม้
สุชาดา มานอก, ปวีนา ลิม ์ ้านอนุมูล
้ เจริญ. (2558). การวิเคราะห์ฤทธิต
อิสระโดยวิธีDPPH, ABTS, และ FRAP และปริมาณสารประกอบฟี นอ
ลิกทัง้ หมดของสารสกัดสมุนไพรในตำรับยาหอมเทพจิตร.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย
คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฎ
สมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
ผศ.ดร.นิวัติแก้วประดับ และนศภ.นิธิกาญจน์ขันติวรพงศ์. (2543). การ
์ ้านอนุมูลอิสระของ สารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae
ศึกษาฤทธิต
ด้วยวิธีDPPH assay วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต คณะ
เภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประกิต ไชยธาดา, อารีรัตน์จันทรมาศ, รัตนพร ดำแท้, เเละเสาวณีย์
เมืองจันทร์บุรี.(2562). การสกัด สารอัลคาลอยด์ด้วยวิธีการสกัดแบบ
์ ้าน
สารละลายน้ำสองวัฏภาคตามด้วยการสกัดด้วยตัวทำละลาย ฤทธิต
อนุมูลอิสระ DPPH และฤทธิย์ ับยัง้ เอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสจากใบขี ้
เหล็ก.สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80280, ภาควิชาชีว
เวชศาสตร์คณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จงั หวัด
สงขลา 90100
ศิริพร หมาดหล้า, พจนพร ไกรดิษฐ์, (2559). สารอัลคาลอยด์จากพืช
และกลไกการออกฤทธิร์ ะดับ โมเลกุลในการต้านมะเร็ง. ภาควิชาชีว
เวชศาสตร์2 ห้องปฏิบัติการวิจัยสู่ความเป็ นเลิศด้านชีวโมเลกุลของมะเร็ง
คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
90110 ประเทศไทย
อัจฉรา นิยมเดชา, มงคล คงเสน (2557 ๗ วิตามินและแร่ธาตุต่อ
บทบาทการเป็ นสารแอนติออกซิ แดนท์และการตอบสนองของ
ระบบภูมิคุ้มกันโรคสำหรับสัตว์วารสารมหาวิทยาลัย นราธิวาส
ราชนครินทร์

28

พจนพร ไกรดิษฐ์, เยาวภา สุขพรมา, ฐาปนาวรรณ์นาสมยนต์, พันธ์


วศรีแสงสุวรรณ (2555) ฤทธิ ์ ต้านมะเร็งเต้านมเเละต้านอนุมูล
อิสระในเซลล์เพาะเลีย
้ งของสารสกัดจากพืชสกุลพริกไทย
29

ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ก : การสกัดสารสกัดจากพืช
30
31

ภาคผนวก ข

ภาคผนวก ข : การทดสอบสารอัลคาลอยด์ในสารสกัด
32
33

ภาคผนวก ค

ภาคผนวก ค : การทดสอบการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัด
ด้วยวิธี DPPH assay
34
การคำนวณ EC50
นำค่าความเข้มข้นในช่วงที่เหมาะสมมาหาค่า EC50 โดยใช้สมการ
กราฟแนวโน้ม(กราฟเส้นตรง) ของแต่ละเส้นแล้วแทนค่า y = 50 ใน
แต่ละสมการ ดังนี ้
สมการแนวโน้มของพริกไทย คือ
y = 345x + 13.30 จะได้x = 0.1064
สมการแนวโน้มของดีปลีคือ
y = 315x + 5.84 จะได้x = 0.1402
สมการแนวโน้มของพลูคือ
y = 363x + 27.80 จะได้x = 0.0612
สมการแนวโน้มของชะพลูคือ
y = 328x + 33.00 จะได้x = 0.0518

ดังนัน
้ ค่า EC50 ของพริกไทย ดีปลีพลูและชะพลูเท่ากับ
0.01064 , 0.1402 , 0.0612 และ 0.0518 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
ตามล าดับ
สมการแนวโน้มของ ascorbic acid คือ
y = 394x + 29.30 จะได้x = 0.0525

ดังนัน
้ ค่า EC50 ของ ascorbic acid เท่ากับ 0.0525 มิลลิกรัมต่อ
มิลลิลิตร

You might also like