You are on page 1of 23

โครงงานวิทยาศาสตร์

เรือ่ ง การศึกษาความเข้มข้นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ทมี่ ผี ลต่อดัชนีการงอกของ


เมล็ดถั่วเหลืองที่มเี ชือ้ ราปนเปื้อน

จัดทาโดย
เด็กชายปัณณวิชญ์ โกวิทวนาวงษ์ ม.3/2 เลขที่ 14
เด็กชายสุวิจักขณ์ ขจีสวัสดิการ ม.3/2 เลขที่ 22
เด็กชายวายุ เกิดผล ม.3/2 เลขที่ 29
เด็กชายฉัฏฐิราช รงค์ภักดี ม.3/2 เลขที่ 31

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรือ่ ง การศึกษาความเข้มข้นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ทมี่ ผี ลต่อดัชนีการงอกของ
เมล็ดถั่วเหลืองที่มเี ชือ้ ราปนเปื้อน

จัดทาโดย
เด็กชายปัณณวิชญ์ โกวิทวนาวงษ์ ม.3/2 เลขที่ 14
เด็กชายสุวิจักขณ์ ขจีสวัสดิการ ม.3/2 เลขที่ 22
เด็กชายวายุ เกิดผล ม.3/2 เลขที่ 29
เด็กชายฉัฏฐิราช รงค์ภักดี ม.3/2 เลขที่ 31

ครูที่ปรึกษา
ครูกฤษฎาภรณ์ ธีระวงศ์
ครูมนตรี มะลิกุล
ครูณัฐพล ตฤณเกศโกศล
ครูดวงกลม น้อยเอียด

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564

บทคัดย่อ

ในการเก็บเมล็ดถั่วเหลืองเพื่อรอการนาไปเพาะนั้น พบปัญหาการเก็บเมล็ดในที่ชื้นซึ่งทาให้
เกิดเชื้อราที่ผิวเมล็ดถั่วเหลือง ซึ่งเชื้อราอาจมีผลทาให้เมล็ดถั่วเหลืองไม่สามารถนาไปปลูกต่อและ
ขยายพันธุไ์ ด้ โดยปกติแล้วเกษตกรจะทาการทิ้งเมล็ดเหล่านี้ไป ผู้จัดทาได้ศึกษางานวิจัยผลของ
การใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ในการแช่เมล็ดต่อการงอกและความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ถั่วหร้า
โดยนาถั่วหร้ามาแช่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่ความเข้มข้นต่างๆ และพบว่าสารละลายอิเล็กโทร
ไลต์สามารถเพิ่มความงอกของถั่วหร้าได้ ผู้จัดทาจึงต้องการศึกษาผลของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่
ความเข้มข้น 25%, 50%, 75%, 100% และน้ากลั่นมาแช่เมล็ดถั่วเหลืองที่มีเชื้อราอยู่เป็นเวลา 5
วัน และได้พบว่าสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีความเข้มข้น 75% สามารถทาให้เมล็ดมีดัชนีการงอก
มากที่สุด ซึ่งมีดัชนีการงอก 9.50 เนื่องจากสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่ความเข้มข้น 75% เป็น
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ทสี่ ามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ และเป็นสารละลายเกลือที่มี
ความเข้มข้นเหมาะสม โดยเกลือจะทาการกัดผิวของเมล็ดถั่วเหลืองทาให้อากาศและน้าซึมเข้า
ภายในเมล็ดถั่วเหลืองได้ดีขึ้น และทาให้ผิวของเมล็ดถั่วเหลืองอ่อนลง ทาให้รากสามารถแทงออก
จากเมล็ดได้ง่ายขึ้น

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดาเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหา
ข้อมูลการทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทาโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงาน
สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ตลอดระยะเวลาดังกล่าวคณะผู้จัดทาโครงงานได้รับความช่วยเหลือและ
คาแนะนาในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับกาลังใจจากบุคคลหลายท่าน คณะผู้จัดทาตระหนักและ
ซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆ ท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆ ท่าน ดังนี้
กราบขอบพระคุณ ครูกฤษฎาภรณ์ ธีระวงศ์ ครูมนตรี มะลิกุล ครูณัฐพล ตฤณเกศโกศล
ครูดวงกลม น้อยเอียด ครูที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ผู้ให้คาแนะนาและได้เมตตาให้ความ
ช่วยเหลือในทุกๆ ด้าน ตลอดจนช่วยแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ จนโครงงานนี้ประสบความสาเร็จ
ขอขอบคุณ เพื่อนๆ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและคุณแม่ ผู้เป็ นที่รัก ผู้ให้กาลังใจและให้โอกาส
การศึกษาอันมีค่ายิ่ง

คณะผู้จัดทาโครงงาน

สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
สารบัญตาราง จ

บทที่ 1 บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ 1
จุดประสงค์ 1
สมมติฐาน 1
ตัวแปร 2
นิยามเชิงปฏิบัติการ 2
ขอบเขตการศึกษา 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีดาเนินการทดลอง 7
บทที่ 4 ผลการทดลอง 10
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 12
เอกสารอ้างอิง 14
ภาคผนวก 16

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

ภาพที่ 2.1 เมล็ดถั่วเหลือง 3


ภาพที่ 2.2 สารอิเล็กโทรไลต์ 4
ภาพที่ 2.3 กรดไฮโปคลอรัส 4
ภาพที่ 2.4 การงอกของเมล็ด 5
ภาพที่ 3.1 การให้ความชื้นกับเมล็ด 7
ภาพที่ 3.2 การแบ่งชุดการทดลอง 8
ภาพที่ 3.3 การแช่เมล็ดในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 8
ภาพที่ 3.4 การนาสารละลายอิเล็กโทรไลต์ออกจากแก้วพลาสติก 9

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนค่าเฉลี่ยของเมล็ดถั่วเหลือง 10


ที่งอกในแต่ละชุดเป็นเวลา 5 วัน
ตารางที่ 4.2 แสดงดัชนีการงอกของเมล็ดถั่วเหลืองในแต่ละชุดการทดลอง 11
ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนเมล็ดถั่วเหลืองทั้งหมดที่งอกในแต่ละวัน 16
1

บทที่ 1
บทนา

1.1 ทีม่ าและความสาคัญ

เนื่องจากปกติแล้ว เกษตรกรจะทาการเก็บเมล็ดเพื่อรอนาไปเพาะปลูก แต่เมื่อเกษตรกรเก็บเมล็ดในที่


ที่มีความชื้นจะพบว่าเมล็ดที่ถูกเก็บไว้ก่อนนามาเพาะ จะมีเชื้อราปนเปื้อนที่เกิดจากความชื้นซึ่งไปลดการงอก
ของเมล็ด และโดยปกติแล้ว เกษตรกรจะทิ้งเมล็ดเหล่านั้นไป และทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากร
จากการศึกษางานวิจัย เรื่องผลของการใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ในการแช่เมล็ดต่อการงอกและ
ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ถั่วพร้า ของนางสาวขนิษฐา โพธิ์นิยม (2554) และ การผลิตกรดไฮโปคลอรัสของ
ร.ศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร (2564) พบว่า การแช่เมล็ดด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์สามารถเพิ่มดัชนีการงอกของ
เมล็ดที่มีเชื้อราปนเปื้อนได้
ดังนั้น ทางผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจศึกษาความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีผลต่อดัชนีการ
งอกของเมล็ดถั่วเหลือง เพื่อทาให้เมล็ดถั่วเหลืองที่มีเชื้อราปนเปื้อนสามารถนามาเพาะปลูกได้ตามปกติ

1.2 จุดประสงค์

เพื่อศึกษาความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เหมาะสมและมีผลต่อดัชนีการงอกของเมล็ดถั่ว
เหลืองที่มีเชื้อราปนเปื้อน

1.3 สมมติฐาน

ถ้าสารละลายอิเล็กโทรไลต์สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ ดังนั้นเมื่อแช่เมล็ดถั่วเหลืองที่มี
เชื้อราปนเปื้อนในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีค่าความเข้มข้นเหมาะสม จะมีดัชนีการงอกมากที่สุด
2

1.4 ตัวแปร

ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่แตกต่างกัน
ตัวแปรตาม ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดถั่วเหลืองที่มีเชื้อราปนเปื้อน
ตัวแปรควบคุม ปริมาณเมล็ด, สายพันธุ์ของเมล็ด, อายุของเมล็ด, ระยะเวลาการแช่เมล็ด,
ปริมาณสารละลายอิเล็กโทรไลต์

1.5 นิยามเชิงปฏิบตั กิ าร

การงอกของเมล็ด หมายถึง การที่มีรากแทงออกมาจากเมล็ดถั่วเหลือง


ดัชนีการงอก หมายถึง ผลรวมของจานวนเมล็ดถั่วเหลืองที่งอกทั้งหมดในแต่ละวันต่อจานวนวันหลัง
เพาะเมล็ดถั่วเหลือง
จานวนเมล็ดที่งอกในแต่ละวัน
โดยมีสมการคือ ดัชนีการงอกของเมล็ด = Σ
จานวนวันหลังเพาะ

1.6 ขอบเขตการศึกษา

เมล็ดถั่วเหลืองที่ใช้คือ สายพันธุ์สุโขทัย 2 และสารอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ คือ กรดไฮโปคลอรัส


3

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง

2.1 เมล็ดถัว่ เหลือง

ถั่วเหลืองมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Glycine max เป็นถั่วเมล็ดแห้ง ที่มีอุดมด้วยสารอาหารหลายชนิด


โดยสะสมอยู่ในส่วนของใบเลี้ยง ซึ่งเป็นส่วนเนื้อในของถั่วเหลืองประกอบด้วยโปรตีนสูง และน้ามันสูง เมื่อ
เปรียบเทียบกับถั่วเมล็ดแห้งชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีวิตามินและแร่ธาตุ ถั่วเหลืองยังเป็นพืชล้มลุกทั้งยังเป็น
พืชเศรษฐกิจ มีรูปร่างค่อนข้างกลมรี มีลักษณะเว้า ขนาดของเมล็ดแตกต่างกันตามพันธุ์ , ฤดูกาลปลูก, ความ
อุดมสมบูรณ์ของดิน และปริมาณน้าที่ได้รับ โดยทั่วไปมีขนาดเมล็ด 100 เมล็ดมีน้าหนัก 5-20 กรัมสูง 0.3-0.9
เมตร ล าต้นมีขนปกคลุม ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มี 3 ใบย่อย ถั่วเหลืองของไทยส่วนมากปลูกแถบ
ภาคเหนือ และภาคกลางตอนบน นิยมเรียกกันในภาษาไทยโดยทั่ว ๆ ไปหลายชื่อเช่น ถั่วพระเหลือง ถั่วแระ
ถั่วแม่ตาย ถั่วเหลือง มะถั่วเน่า เป็นต้น

ภาพที่ 2.1 เมล็ดถั่วเหลือง

2.2 เชื้อราที่เกิดจากความชื้นในเมล็ดถั่วเหลือง
จากงานวิ จ ั ย ของ นางสาวจี ร ภา มาตทอง (2539) พบว่ า Fusaruim sp., Phomopsis sp.,
Macrophomina sp. และ Collectotrichum sp. เป็นเชื้อราบนเมล็ดถั่วเหลืองที่ลดการงอกของเมล็ดถั่ว
เหลืองและทาให้เมล็ดถั่วเหลืองมีการเน่าได้ โดยอาจเกิดได้จากขั้นตอนการเก็บเกี่ยวและเก็บรักษาที่ผิดวิธี หรือ
อาจเกิดจากเปอร์เซ็นความชื้นที่สูงเกินไป
4

2.3 สารอิเล็กโทรไลต์

สารที่ีเมื่อละลายในน้าจะนาไฟฟ้าได้ เนื่ืองจากมีไอออนซึ่งอาจจะเป็นไอออนบวก หรือไอออนลบ


เคลื่อนที่ีอยู่ในสารละลาย สารละลายอิเล็กโทรไลต์นี้อาจเป็นสารละลายกรด เบส หรือเกลือก็ได้

ภาพที่ 2.2 สารอิเล็กโทรไลต์

2.3 กรดไฮโปคลอรัส

Hypochlorous Acid หรือ กรดไฮโปคลอรัส มีสูตรทางเคมีคือ HOCl นั้น เป็นกรดอ่อน ๆ ชนิดหนึ่งที่


ถูกผลิตขึ้นโดยธรรมชาติโดยเซลล์เม็ดเลือดขาวในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดเพื่อการรักษาแลการปกป้อง
ร่างกาย ซึ่งกรดไฮโปคลอรัสมีคุณสมบัติในการกาจัดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา รวมไปถึงสปอร์ของเชื้อราได้
โดยการเข้าไปท าลายเยื้อหุ้มเซลล์ของเชื้อราและแบคทีเรีย เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อเหล่ านั้น
เนื่องจากกรดไฮโปคลอรัส (HOCl) เป็นกรดชนิดเดียวกันกับที่อยู่ในระบบภูมิคุ้มกัน ในเม็ดเลือดขาวของ
ร่างกายมนุษย์ จึงปลอดภัย ไม่เป็นอัน ตรายต่อผิว บอบบาง หรือดวงตา ไม่ท าให้เกิดอาการแสบ และมี
ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคมากกว่าสารฟอกขาวประเภทคลอรีนถึง 80-120 เท่า

ภาพที่ 2.3 กรดไฮโปคลอรัส


5

2.4 การงอกของเมล็ด

2.4.1. การเจริญเติบโตของเอมบริโอซึ่งอยู่ภายในเมล็ด งอกออกจากเมล็ดเป็นต้นใหม่ โดย


ส่วนประกอบของเมล็ดที่โผล่พ้นเมล็ดเป็นอันดับแรกคือ รากแรกเกิด (radicle)

ภาพที่ 2.4 การงอกของเมล็ด

2.4.2 การวัดดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์โดยอาศัยหลักการที่ว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงสูงจะงอก
ได้เร็วกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความแข็งแรงต่า ทาได้โดยนาเมล็ดพันธุ์จากแหล่งใดแหล่งหนึ่งที่ต้องการตรวจสอบมา
เพาะแล้วนับจานวนเมล็ดที่งอกทุกวันแล้วนามาคานวIหาค่าดัชนีการงอก โดยมีสูตรคือ ดัชนีการงอกคือ
ผลบวก(จานวนเมล็ดที่งอกในแต่ละวัน/จานวนวันหลังเพาะ)

2.4.3 ปัจจัยการงอกของเมล็ด

1.) น้าหรือความชื้น เมื่อเมล็ดได้รับน้า เปลือกหุ้มเมล็ดจะอ่อนตัวลง ทาให้น้าและออกซิเจนผ่านเข้า


ไปในเมล็ดได้มากขึ้น เมล็ดจะดูดน้าเข้าไปทาให้เมล็ดพองตัว ขยายขนาด และมีน้าหนักเพิ่มขึ้น น้าจะเป็น
ตัวกระตุ้นปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่างๆ ภายในเมล็ดมีการกระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อย่อยสลายสารอาหารที่
สะสมในเมล็ด
2.) ออกซิเจน เมล็ดขณะงอกมีอัตราการหายใจสูง ต้องการออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการสลาย
สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานซึ่งจะนาไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆของเซลล์ แต่มีพืชบางชนิด เช่น
พืชน้า สามารถงอกได้ดีในออกซิเจนต่า ความชื้นสูง เพราะสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้ แต่เมล็ด
หลายชนิด จะไม่งอกเลยถ้าออกซิเจนไม่เพียงพอแม้ความชื้นจะสูง
6

3.) แสง เป็นปัจจัยหนึ่งที่ควบคุมการงอกของเมล็ด พืชต้องการแสงแดดมาใช้ในการสร้างอาหาร ถ้า


ขาดแสงแดด พืชจะแคระแกรน ใบจะมีสีเหลืองหรือขาวซีดและตายในที่สุด พืชแต่ละชนิดต้องการแสงไม่
เท่ากันพืชบางชนิดต้องการแสงแดดจัด แต่พืชบางชนิดก็ต้องการแสงราไร
4.) อุณหภูมิ เมล็ดพืชแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกแตกต่างกัน เช่น เมล็ดพืชเขต
หนาวจะงอกได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส

2.5 ระยะเวลาการแช่เมล็ดในสารละลายทีเ่ หมาะสม

จากการวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีการเกษตร (2562) พบว่า ในการแช่น้า


ของเมล็ดระหว่าง 6, 12, 24 และ 48 ชั่วโมง การแช่น้า 24 ชั่วโมงจะทาให้เมล็ดมีดัชนีการงอกมากที่สุด
7

บทที่ 3
วิธดี าเนินการทดลอง

3.1 วัสดุอปุ กรณ์

แก้วพลาสติก
เครื่องชั่งน้าหนัก
เมล็ดถั่วเหลือง

3.2 สารเคมี

กรดไฮโปคลอรัส (HOCl)
น้ากลั่น (H₂O)

3.4 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน

1.) นาเมล็ดไปวางในที่ที่มีความชื้นสูงเพื่อให้เกิดเชื้อรา

ภาพที่ 3.1 การให้ความชื้นกับเมล็ด


8

2.) เมื่อเมล็ดขึ้นราแล้ว แยกการทดลองเป็น 5 ชุด โดยแต่ละชุดมีเมล็ดถั่วเหลืองที่มีเชื้อรา 25 เมล็ด

ภาพที่ 3.2 การแบ่งชุดการทดลอง

ชุดที่หนึ่งแช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยน้ากลั่น
ชุดที่สองแช่ด้วย HOCl 25% m/v
ชุดที่สามแช่ด้วย HOCl 50 % m/v
ชุดที่สี่แช่ด้วย HOCl 75% m/v
ชุดที่ห้าแช่ด้วย HOCl 100% m/v
โดยใช้ปริมาณสารละลายไฮโปคลอรัส
ชุดละ 100 ml และทาการทดลองชุดละ 3 ครั้ง

ภาพที่ 3.3 การแช่เมล็ดถั่วเหลืองในสารละลายอิเล็กโทรไลต์


9

3.) เมื่อแช่เมล็ดถั่วเหลือง 24 ชั่วโมงแล้ว นาสารละลายอิเล็กโทรไลต์ออกจากแก้วพลาสติก

ภาพที่ 3.4 การนาสารละลายอิเล็กโทรไลต์ออกจากแก้วพลาสติก

4.) วางแก้วที่มีเมล็ดถั่วเหลืองไว้ในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อสังเกตการงอกของเมล็ดเป็นเวลา 5


วัน และคานวณหาดัชนีการงอกของเมล็ดถั่วเหลือง
10

บทที่ 4
ผลการทดลอง

จากการทดลองศึกษาความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีผลต่อดัชนีการงอกของ
เมล็ดถั่วเหลืองโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 5 ชุด ทาชุดละ 3 ครั้ง ได้ผลทดลองดังตารางดังนี้

ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนค่ำเฉลี่ยของเมล็ดถั่วเหลืองที่งอกในแต่ละชุดเป็ นเวลำ 5 วัน

จากตารางที่ 4.1 พบว่า ชุดการทดลองที่แช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 50% และชุด


การทดลองที่แช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 75% มีจานวนเมล็ดถั่วเหลืองที่งอกเฉลี่ยมากที่สุด
คือ 10 เมล็ด ชุดการทดลองที่แช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 25% มีจานวนเมล็ดถั่วเหลืองที่
งอกเฉลี่ยคือ 9 เมล็ด ชุดการทดลองที่แช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 100% มีจานวนเมล็ดถั่ว
เหลืองที่งอกเฉลี่ยคือ 5 เมล็ด และชุดการทดลองที่แช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยน้ากลั่นมีจานวนเมล็ดถั่วเหลืองที่งอก
เฉลี่ยคือ 1 เมล็ด
11

ตารางที่ 4.2 แสดงดัชนีการงอกของเมล็ดถั่วเหลืองในแต่ละชุดการทดลอง

จากตารางที่ 4.2 พบว่า การแช่เมล็ดด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 75% m/v มีดัชนีการงอกเฉลี่ยมาก


ที่สุด คือ 9.50, การแช่เมล็ดด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 25% m/v มีดัชนีการงอกเฉลี่ยคือ 9.24, การแช่เมล็ด
ด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 50% m/v มีดัชนีการงอกเฉลี่ยคือ 8.03, การแช่เมล็ดด้วยสารละลายอิเล็กโทร
ไลต์ 100% m/v มีดัชนีการงอกเฉลี่ยคือ 5.89, การแช่เมล็ดถั่วเหลืองด้วยน้ากลั่นมีดัชนีการงอกเฉลี่ยคือ 0.76
12

บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

จากการทดลองศึกษาความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีผลต่อดัชนีการงอกของเมล็ด
ถัว่ เหลืองที่มีเชื้อราปนเปื้อน สรุปผลการทดลองได้ดังนี้

5.1 สรุปผลการทดลอง

จากการทดลอง การแช่เมล็ดถั่วเหลืองในน้ากลั่น และสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีความเข้มข้น 25%,


50%, 75% และ 100% พบว่าเมล็ดถั่วเหลืองมีดัชนีการงอก 0.76, 9.24, 8.03, 9.50 และ 5.89 ตามลาดับ
โดยค่าดัชนีการงอกที่มีค่ามากที่สุดคือ 9.50 เมื่อแช่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์เข้มข้น 75% โดยมวลต่อ
ปริมาตร

5.2 อภิปรายผล

จากผลการทดลองพบว่าการแช่เมล็ดที่มีเชื้อราด้วยสารอิเล็กโทรไลต์ สามารถเพิ่มดัชนีการงอกของ
เมล็ดถั่วเหลืองได้เมื่อเทียบกับการแช่เมล็ดด้วยน้ากลั่น โดยสารอิเล็กโทรไลต์จะไปยับยั้งการเจริญเติบโตของ
เชื้อราและทาให้เมล็ดมีดัชนีการงอกมากขึ้น
การแช่เมล็ดสารอิเล็กโทรไลต์ 75% สามารถทาให้ดัชนีการงอกของเมล็ดถั่วเหลืองมีค่ามากที่สุด เนื่อง
สารอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ และมีเกลือเป็นส่วนประกอบ และเกลือ
สามารถไปกัดผิวของเมล็ดถั่วเหลืองทาให้เกิดช่องว่างให้อากาศและน้าสามารถซึมเข้าไปในเมล็ดได้ดีขึ้นและทา
ให้ผิวของเมล็ดอ่อนลงจึงทาให้ปลายรากสามารถแทงออกมาจากเมล็ดถั่วเหลืองได้ดีขึ้น (นางสาวขนิษฐา
โพธิ์นิยม) แต่เมื่อแช่ด้วยสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 100% แม้ว่าจะเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่มีความเข้มข้น
สูง และสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ดีที่สุด แต่ก็เป็นสารละลายเกลือที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป
จึงเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อของเมล็ดถั่วเหลือง ซึ่งทาให้เมล็ดมีความงอกและความแข็งแรงลดลง และยังทาให้โปรตีน
ภายในเมล็ดเสื่อมสถาพและถูกทาลายลง และสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 25% และ 50% อาจมีความเข้มข้นต่า
13

เกินไป จึงมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได้น้อย ทาให้ใช้เวลามากขึ้นในการงอก และ


ส่งผลให้มีดัชนีการงอกน้อย

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1) การใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์สามารถทดลองโดยใช้ความเข้มข้นอื่นๆ เพื่อให้ผลการทดลองมี


ความแม่นยามากขึ้น
5.3.2) ไม่ควรเก็บเมล็ดถั่วเหลืองในบริเวณที่มีความชื้นนานเกินไป เนื่องจากทาให้เชื้อราเจริญเติบโต
ได้ดีและอาจทาลายเมล็ดจนไม่สามารถนาไปปลูกต่อได้
14

เอกสารอ้างอิง

กนกกาญจน์ ธุระเสร็จ, นภาพร รุ่งสว่าง, นวียา จักไม้, และ ธนกร เชื้อทอง. (ม.ป.ป). การงอกของเมล็ด.
(ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://sites.google.com/site/suxsngserimkarreiynru/khna-phu-
cad-tha
ขนิษฐา โพธิ์นิยม. (2554). ผลของการใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ในการแช่เมล็ดต่อการงอกและความแข็งแรง
ของเมล็ดพันธุ์ถั่วหร้า (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.lib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/
Horticulture/2554/Bs/KanitthaPo/chapter1.pdf
จีรภา มาตทอง. (2539). การตรวจเชื้อบนเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและการควบคุมโดยใช้สารเคมี. (ออนไลน์).
สืบค้นจาก : https://www.lib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Plant_Pathology/2539/Bs
/JeerapaMa/
ธัชวีร์ ขวัญแก้ว, อมรรัตน์ ชุมทอง, พินิจ ดารงเลาหพันธ์, และ จินตนาภา ดากลึง. (2562). การกระตุ้นการ
งอกเมล็ดพันธุ์ด้วยวิธี hydropriming ต่อคุณภาพและความแข็งแรงเมล็ดพันธุ์ถั่วหรั่งพันธุ์สงขลา 1.
(ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/
sjps/fulltexts/file_1577864278202001018931.pdf
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (2553). Soybean / ถั่วเหลือง. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1359/soybean-%E0%B8%96%E0
%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%
B7%E0%B8%AD%E0%B8%87
วิกีพีเดีย. (2564). ถั่วเหลือง. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%
E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8
%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87#:~:text=%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%
B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87
%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B
8%8A%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%81
%20%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87,%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7%
20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%204.5%2D10%20%E0%B9%8
15

0%E0%B8%8B%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%
B8%95%E0%B8%A3
วิกีพีเดีย. (2564). อิเล็กโทรไลต์. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD
%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B
8%97%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%8C
ออล์เกษตร. (2559). การงอกของเมล็ด (seedgermination). (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://www.allkaset.com/contents/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8
%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%
E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94%20(seedgermination)-50.php
Babygift. (2556). Hypochlorous Acid กรดไฮโปคลอรัส คืออะไร. (ออนไลน์). สืบค้นจาก :
https://www.babygiftretail.com/hypochlorous-acid--%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0
%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%84%E0%B8%A
5%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0
%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/
NGThai. (2561). การเจริญเติบโตของพืช : การงอกของเมล็ด. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://ngthai.com
/science/15713/plantgermination/
Post Today. (2564). นักวิจัยม.อ.ผลิตน้ายาฆ่าเชื้อโควิด-19 พร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน. (ออนไลน์).
สืบค้นจาก : https://www.sci.psu.ac.th/wp- content/uploads/2021/05/%E0%B8%
99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0
%B8%A2%E0%B8%A1-%E0%B8%AD-%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0
%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%8
6%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%
B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%94-19-
%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%96%E0%
B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AD
%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B
8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88
%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99-.pdf
16

ภาคผนวก

ภาคผนวกที่ 1 : ตารางแสดงจานวนเมล็ดถัว่ เหลืองทัง้ หมดทีง่ อกในแต่ละวัน

You might also like