You are on page 1of 96

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน

้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบงานสังเกตก่อนเรียน 1
เรื่อง กลุ่มสิ่งมีชีวิต

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

จุดประสงค์
จำแนกสิ่งมีชีวิตตามเกณฑ์ที่กำหนดได้

ขัน
้ ตอน
1. สังเกตสิ่งมีชีวิตในบริเวณบ้าน
2. บันทึกลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สังเกตได้
3. จำแนกสิ่งมีชีวิตเป็ นกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด

บันทึกผล
ลักษณะ
สิ่งมี
มีใบสี เคลื่อนที่ มีการ มีการเจริญ ตอบสนอง
ชีวิต
เขียว เองได้ หายใจ เติบโต ต่อสิ่งเร้า

คำถามประกอบกิจกรรม
1. สิ่งมีชีวิตที่สังเกตมีลักษณะใดเหมือนกันบ้าง
2. สิ่งมีชีวิตที่สังเกตมีลักษณะใดแตกต่างกันบ้าง

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 1
เรื่อง การจำแนกสิ่งมีชีวิต

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
แหล่งเรียนรู้/อุปกรณ์
1. บริเวณโรงเรียน
2. แว่นขยาย 1 อัน
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 – 4 คน
2. สำรวจสิ่งมีชีวิตบริเวณโรงเรียน
3. สังเกตลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิตที่สำรวจได้แล้วบันทึกผล
4. จำแนกสิ่งมีชีวิตเป็ นกลุ่มจากลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต
5. อภิปรายและสรุปผลการสังเกต

บันทึกผล
ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้
สิ่งมีชีวิต กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็ น
มีใบสีเขียว เคลื่อนที่เองได้
อาหาร

อภิปรายผล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. สิ่งมีชีวิตที่สังเกตมีลักษณะเฉพาะใดเหมือนกันบ้าง
2. จากการปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนใช้ลักษณะใดเป็ นเกณฑ์ และจำแนกสิ่งมี
ชีวิตได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง

3. การจำแนกสิ่งมีชีวิตต้องมีการกำหนดเกณฑ์เพราะอะไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
แหล่งเรียนรู้/อุปกรณ์
บัตรภาพ 12 ใบ
ขัน
้ ตอน
1. สังเกตสิ่งมีชีวิตในบัตรภาพที่ได้รับและสืบค้นข้อมูลลักษณะของสิ่งมี
ชีวิตเหล่านัน

2. จำแนกสิ่งมีชีวิตเป็ นกลุ่ม โดยใช้การสร้างอาหารเองได้และการ
เคลื่อนที่เองได้เป็ นเกณฑ์
3. นำเสนอผลการจำแนกสิ่งมีชีวิตหน้าห้องเรียนพร้อมให้เหตุผลของการ
จำแนกสิ่งมีชีวิตเหล่านัน

บัตรภาพ

กระรอก แบคทีเรีย พริก

ดอกไม้ทะเล ตำแยแมว ลิน


้ มังกร

ปู รา ดาวทะเล

สะระแหน่ ด้วง เห็ด

คำถามประกอบกิจกรรม
1. กลุ่มพืชมีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง
2. กลุ่มสัตว์มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง

3. กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์มีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง

4. สิ่งมีชีวิตทัง้ หมดมีกี่กลุ่ม และสิ่งมีชีวิตกลุ่มใดมีจำนวนมากที่สุด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบงานสำรวจก่อนเรียน 2
เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______
จุดประสงค์
จำแนกพืชตามเกณฑ์ที่กำหนดได้

ขัน
้ ตอน
1. สังเกตพืชในบริเวณบ้าน
2. บันทึกลักษณะของพืชที่สงั เกตได้
3. จำแนกพืชเป็ นกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด

บันทึกผล
ลักษณะ
พืช
ใบ ลำต้น ดอก

คำถามประกอบกิจกรรม
1. พืชที่สงั เกตมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน

2. ถ้านักเรียนต้องจำแนกพืชที่สังเกต นักเรียนจะใช้เกณฑ์อะไร และแบ่งเป็ นกี่


กลุ่ม
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 2
เรื่อง การเปรียบเทียบต้นเฟิ นกับต้นมะลิ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ต้นเฟิ น 1 กระถาง
2. ต้นมะลิ 1 กระถาง
3. แว่นขยาย 1 อัน

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. แต่ละกลุ่มนำกระถางที่ปลูกต้นเฟิ นและต้นมะลิมาสังเกตลักษณะของ
ราก ลำต้น ใบ และดอก บันทึกผล
3. เปรียบเทียบลักษณะของต้นเฟิ นกับต้นมะลิ
หมายเหตุ อาจใช้ต้นผักแว่น บัวบก หรือย่านลิเภา แทนต้นเฟิ น

บันทึกผล

ชนิด ต้นเฟิ น ต้นมะลิ


พืช
ลักษณะ
ราก
ลำต้น
ใบ
ดอก

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. ต้นเฟิ นกับต้นมะลิมีลักษณะใดที่แตกต่างกัน

2. ถ้าต้องการจำแนกประเภทของต้นเฟิ นกับต้นมะลิจะใช้อะไรเป็ นเกณฑ์

3. เกณฑ์ที่กำหนดในข้อ 2 เหมาะสมเพราะอะไร
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง เปรียบเทียบจำนวนใบเลีย
้ งของพืชใบเลีย
้ งเดี่ยวและพืชใบเลีย
้ งคู่

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. เมล็ดถั่วเขียว 5 เมล็ด
2. เมล็ดข้าวโพด 5 เมล็ด
3. แก้วใส่น้ำ 1 ใบ
4. กระถางพร้อมดิน 2 ใบ
5. บัวรดน้ำขนาดเล็ก 1 ใบ
ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. แต่ละกลุ่มสังเกตลักษณะของเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพด
3. นำเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดแช่น้ำไว้ 1 คืน
4. นำเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดปลูกลงในกระถางใบที่ 1 และใบที่
2 ตามลำดับ รดน้ำทัง้ 2 กระถางทุกวัน
5. สังเกตจำนวนใบเลีย
้ งและรากที่งอกจากเมล็ดของพืชทัง้ 2 ชนิด
บันทึกผล

คำถามประกอบกิจกรรม
1. เมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดแตกต่างกันลักษณะใด

2. ใบเลีย
้ งที่งอกจากเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดมีลก
ั ษณะใด

3. รากที่งอกจากเมล็ดถั่วเขียวและเมล็ดข้าวโพดมีลักษณะใด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง พืชใกล้ตัว

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
แหล่งเรียนรู้/อุปกรณ์
1. บริเวณโรงเรียน
2. แว่นขยาย 1 อัน
3. สีไม้ 1 กล่อง
4. กระดาษ 1 แผ่น
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. ออกสำรวจใบของพืชบริเวณโรงเรียน
3. บันทึกผลการสำรวจและวาดรูปใบของพืชที่สำรวจได้ ระบุช่ อ
ื ต้นไม้
จำแนกเป็ นพืชใบเลีย
้ งเดี่ยวหรือพืชใบเลีย
้ งคู่

บันทึกผล

ชื่อ ประเภท ชื่อ ประเภท


. .

ชื่อ ประเภท ชื่อ ประเภท


. .

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. นักเรียนใช้อะไรเป็ นเกณฑ์ในการจำแนกพืชเป็ นพืชใบเลีย
้ งเดี่ยวและพืชใบ
เลีย
้ งคู่

2. พืชใบเลีย
้ งเดี่ยวและพืชใบเลีย
้ งคู่มีลักษณะใบแตกต่างกันอย่างไร

3. ยกตัวอย่างพืชใบเลีย
้ งเดี่ยวและใบเลีย
้ งคู่มาอย่างละ 3 ชนิด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบงานสังเกตก่อนเรียน 3
เรื่อง ส่วนประกอบของพืช
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

จุดประสงค์
สังเกตส่วนประกอบของพืชได้

ขัน
้ ตอน
1. สังเกตพืชในบริเวณบ้าน
2. บันทึกส่วนประกอบของพืช

บันทึกผล
ส่วนประกอบ
พืช
ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล

คำถามประกอบกิจกรรม
1. นักเรียนรู้จักพืชชนิดใดบ้าง

2. พืชมีส่วนประกอบที่สำคัญอะไรบ้าง
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การทดลอง
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ต้นเทียน 1 ต้น
2. แก้วน้ำ 1 ใบ
3. น้ำสีแดง (สีผสมอาหาร) 1 แก้ว
4. มีด 1 เล่ม
5. แว่นขยาย 1 อัน
6. กระจกสไลด์ 2 แผ่น
7. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
8. สีไม้ 1 กล่อง
ขัน
้ ตอนการทดลอง
ปั ญหา

กำหนดสมมุติฐาน
ทดลอง
3
1. ใส่น้ำสีแดง (สีผสมอาหาร) ลงในแก้วที่เตรียมไว้ประมาณ 4 แก้ว
2. ใส่ต้นเทียนที่มีรากติดอยู่ (ซึง่ ได้ล้างน้ำให้สะอาดแล้ว) ลงไปในแก้วที่มี
น้ำสีแดง จากนัน
้ ตัง้ ทิง้ ไว้ประมาณ 30 นาที
3. สังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ กับต้นเทียน
4. ใช้มีดตัดลำต้นของต้นเทียนตามแนวขวาง (ก) หลังจากนัน
้ เฉือนเป็ นแผ่
นบางๆ วางบนกระจกสไลด์แล้วใช้แว่นขยายส่องดู สังเกตลักษณะของลำต้น
และวาดรูป
5. ใช้มีดตัดลำต้นของต้นเทียนตามยาว (ข) แล้วใช้แว่นขยายส่องดู สังเกต
ลักษณะของลำต้นและวาดรูป

บันทึกผล

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ รูปวาดลำต้นของต้นเทียน
เมื่อแช่ต้นพืชลงในน้ำสี ตามแนวขวาง ตามแนวยาว
แดง
แปลความหมายข้อมูล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. ต้นเทียนเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด

2. นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง เมื่อใช้แว่นขยายส่องดูลำต้นที่ตัดตามแนว
ขวางและแนวยาว

3. นักเรียนสามารถสรุปทิศทางการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชได้หรือไม่
และสังเกตจากอะไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง การลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ดอกไม้สีขาว 3 ดอก
2. ขวดปากกว้าง 3 ใบ
3. สีผสมอาหารสีแดงสีม่วง และสีฟ้า สีละ 1 ขวด
4. กรรไกรตัดกิ่ง 1 เล่ม
5. หลอดหยด 3 อัน
ขัน
้ ตอนการทดลอง
1. เติมน้ำลงในขวด 3 ใบที่เตรียมไว้จนเกือบเต็ม แล้วหยดสีผสมอาหารสี
แดง สีม่วง และสีฟ้า ขวดละ 1 สี ประมาณขวดละ 3 – 4 หยด
2. ใช้กรรไกรตัดปลายก้านดอกไม้สีขาว 3 ดอก แล้วนำไปแช่ในขวดน้ำ
ผสมสีขวดละ 1 ดอก
3. ตัง้ ดอกไม้ไว้ 1 คืน สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีดอกไม้และบันทึกผล

แช่ก้านดอกไม้ในน้ำสีดอกละ 1 สี
คำถามประกอบกิจกรรม
1. ถ้าไม่มีดอกไม้สีขาว นักเรียนจะใช้ดอกไม้สีใดแทน เพราะอะไร

2. ดอกไม้ของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงสีหรือไม่ เพราะอะไร

3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการทำกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 5
เรื่อง การคายน้ำของพืช

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______
ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ต้นไม้ที่ปลูกในกระถาง 1 ต้น
2. ถุงพลาสติกใสขนาด 20 × 30 ซม. 2 ใบ
3. เชือกยาวประมาณ 25 ซม. 2 เส้น
4. น้ำ 1 ถ้วย
5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

ปั ญหา

ขัน
้ ตอนการทดลอง
1. นำต้นไม้ที่ปลูกในกระถางมา 1 ต้น แล้วทำการเด็ดใบออกจากกิ่งไม้ 1
กิ่ง
2. นำถุงพลาสติกใสที่แห้งครอบกิ่งไม้ที่มีใบ และอีกใบหนึง่ ครอบกิ่งไม้ที่
เด็ดใบออกและผูกรวบถุงพลาสติกใสแต่ละใบด้วยเชือกบริเวณโคนให้แน่น
3. รดน้ำต้นไม้เล็กน้อยแล้วนำกระถางวางไว้กลางแดดเป็ นเวลา 30 นาที
4. วาดรูปที่สังเกตได้เมื่อเริ่มวางกระถางไว้กลางแดด
5. สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ ภายในถุงพลาสติกใสทุกๆ 10 นาที
และวาดรูป
บันทึกผล
รูปวาดจากการสังเกต (นาทีที่)
กิ่งไม้
0 10 20 30

มีใบ

เด็ดใบออก

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ แสดงถึงการกำจัดน้ำของพืชได้หรือไม่ สังเกตจาก
อะไร

2. จากการปฏิบัติกิจกรรม สรุปได้ว่าพืชกำจัดน้ำทางใด สังเกตจากอะไร

3. การคายน้ำมีความสัมพันธ์กับการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุหรือไม่ ลักษณะใด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 6
เรื่อง คลอโรฟิ ลล์จำเป็ นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การทดลอง
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. แป้ งชนิดต่างๆ เช่น แป้ งมัน หรือแป้ งข้าวเจ้า 5
กรัม
2. จานหลุม 1 ใบ
3. ใบด่าง เช่น ชบาด่าง ใบเงิน หรือใบทอง 3
ใบ
4. สีเทียน/สีไม้ 1 กล่อง
5. บีกเกอร์ขนาด 250 ลบ.ซม. 2 ใบ
6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 หลอด
7. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กน
ั ้ ลมและตะแกรงลวด 1
ชุด
8. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
9. ปากคีบ 1 อัน
10. จานแก้ว 1 ใบ
11. หลอดหยด 1 อัน
12. เอทานอล 50 มล.
13. สารละลายไอโอดีนเข้มข้น 1% 1 ขวด
14. น้ำกลั่น 1 ลิตร
ขัน
้ ตอนการทดลอง
ปั ญหา

กำหนดสมมุติฐาน

ทดลอง
1. ใส่แป้ งจำนวนเล็กน้อยลงในจานหลุม 3 ช่อง แล้วหยดสารละลาย
ไอโอดีน สังเกตและบันทึกผล
2. นำใบด่างมาวาดรูปและระบายสีตามที่เห็นจริง
1
3. เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่เตรียมไว้ประมาณ 2 ของบีกเกอร์ ต้มจน
เดือดแล้วจึงใส่ใบด่าง ต้มต่อประมาณ 3 – 4 นาที
4. นำใบที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองที่บรรจุเอทานอล จากนัน
้ นำไปใส่ใน
บีกเกอร์อีกใบที่บรรจุน้ำเดือด ต้มจนกว่าใบจะซีดเป็ นสีขาว
5. นำใบที่ต้มจนซีดขาวแล้วมาล้างน้ำสะอาดและวางบนจานแก้ว คลี่ใบ
ออก ใช้หลอดหยดดูดสารละลายไอโอดีน แล้วหยดลงบนใบให้ทั่ว ทิง้ ไว้สักครู่
วาดรูปและระบายสีการเปลี่ยนแปลง

บันทึกผล
การหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้ ง

รูปวาดลักษณะของใบด่าง
ชื่อพืช
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

แปลความหมายข้อมูล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้ งเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
2. เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบด่างเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด

3. คลอโรฟิ ลล์เป็ นปั จจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ สังเกตจากอะไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 7
เรื่อง แสงจำเป็ นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การทดลอง
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ต้นไม้ในกระถาง 1 ต้น
2. กระดาษสีดำ 1 แผ่น
3. แป้ งชนิดต่างๆ เช่น แป้ งมัน หรือแป้ งข้าวเจ้า 5 กรัม
4. จานหลุม 1 ใบ
5. สีเทียน/สีไม้ 1 กล่อง
6. บีกเกอร์ขนาด 250 ลบ.ซม. 2 ใบ
7. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 หลอด
8. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กน
ั ้ ลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
9. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
10. ปากคีบ 1 อัน
11. จานแก้ว 1 ใบ
12. หลอดหยด 1 อัน
13. เทปใส 1 ม้วน
14. กรรไกร 1 เล่ม
15. เอทานอล 50 มล.
16. สารละลายไอโอดีนเข้มข้น 1% 1 ขวด
17. น้ำกลัน่ 1 ลิตร
ขัน
้ ตอนการทดลอง
ปั ญหา

กำหนดสมมุติฐาน

ทดลอง
1. ใส่แป้ งจำนวนเล็กน้อยลงในจานหลุม 3 ช่อง แล้วหยดสารละลาย
ไอโอดีน สังเกตและบันทึกผล
2. นำใบมาวาดรูปและระบายสีตามที่เห็นจริง
3. ตัดกระดาษสีดำเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1 แผ่น กว้าง 1.5 เซนติเมตร
และความยาวให้พันรอบใบได้
4. ติดกระดาษสีดำเข้ากับใบ 3 ใบ ดังรูป ให้กระดาษแนบกับใบให้สนิท
รดน้ำแล้วจึงนำต้นไม้ไปรับแสงแดดเป็ นเวลา 3 ชั่วโมง
1
5. เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่เตรียมไว้ประมาณ 2 ของบีกเกอร์ ต้มจน
เดือดแล้วจึงใส่ใบที่แกะกระดาษสีดำออก แล้วต้มต่อประมาณ 3 – 4 นาที
6. นำใบที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองที่บรรจุเอทานอล จากนัน
้ นำไปใส่ใน
บีกเกอร์อีกใบที่บรรจุน้ำเดือด ต้มจนกว่าใบไม้จะซีดเป็ นสีขาว
7. นำใบไม้ที่ต้มจนซีดขาวแล้วมาล้างน้ำสะอาดและวางบนจานแก้ว คลี่ใบ
ออก ใช้หลอดหยดดูดสารละลายไอโอดีน แล้วหยดลงบนใบให้ทั่ว ทิง้ ไว้สักครู่
วาดรูปและระบายสีการเปลี่ยนแปลง
บันทึกผล
การหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้ ง

รูปวาดลักษณะใบพืช
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

แปลความหมายข้อมูล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้ งเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด

2. ส่วนใดของใบที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง สังเกตจากอะไร
3. แสงเป็ นปั จจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ สังเกตจากอะไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 8
เรื่อง ส่วนประกอบของดอก

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ดอกของพืชที่สนใจตัวอย่างละ 1 ดอก
2. แว่นขยาย 1 อัน
ขัน
้ ตอนการทดลอง
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. สมาชิกแต่ละคนช่วยกันนำดอกของพืชมาสังเกตส่วนประกอบ
3. สังเกตลักษณะของกลีบเลีย
้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย
ของแต่ละดอก บันทึกข้อมูล

บันทึกผล

เกสรเพศ
ลักกษณะ กลีบเลีย
้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้
เมีย
ชื่อพืช

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. พืชที่นำมาสังเกตมีส่วนประกอบของดอกครบทุกส่วนหรือไม่
2. ดอกของพืชทุกชนิดต้องมีส่วนประกอบครบทัง้ 4 ส่วนหรือไม่

3. พืชที่นำมาสังเกตจำแนกได้เป็ นกี่กลุ่ม โดยใช้เกณฑ์ใด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 9
เรื่อง เปรียบเทียบโครงร่างสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ปลาทู กุ้ง และหอยแมลงภู่ที่นึ่งสุกแล้วชนิดละ 1 ตัว
2. ช้อนและส้อม 1 คู่
3. ถาด 1 ใบ
ขัน
้ ตอนการทดลอง
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. แต่ละกลุ่มนำปลาทู กุ้ง และหอยแมลงภู่ที่นึ่งสุกแล้ว มาอย่างละ 1 ตัว
3. ใช้ช้อนและส้อมเขี่ยแยกเนื้อออกจากโครงร่างของสัตว์ที่นำมาสังเกต
4. สังเกตเปรียบเทียบโครงร่างและวิเคราะห์ว่าเป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลัง
หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

การสังเกตโครงร่างของสัตว์
บันทึกผล
สัตว์ ลักษณะโครงร่าง ประเภท
ปลาทู
กุง้
หอยแมลงภู่
สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. สัตว์ที่นักเรียนนำมาสังเกตชนิดใดเป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลังและชนิดใดเป็ น
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสังเกตจากอะไร

2. ยกตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่นักเรียนรู้จัก
มาอย่างละ 3 ชนิด

3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 10
เรื่อง ลักษณะของแมลง

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. แมลงสตัฟฟ์ 1 กล่อง
1
2. น้ำหวาน 2 ถ้วย
3. แว่นขยาย 1 อัน
4. ขวดแก้ว 1 ใบ
5. สีเทียน/สีไม้ 1 กล่อง
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. นำตัวอย่างแมลงสตัฟฟ์ หรือล่อแมลงโดยใช้น้ำหวานให้แมลงมากิน
แล้วจับแมลงใส่ขวด
3. ใช้แว่นขยายสังเกตลักษณะของแมลง บันทึกและวาดรูปแสดงส่วน
ประกอบ

ตัวอย่างแมลงสตัฟฟ์

บันทึกผล
แมลง ลักษณะ

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. แมลงจัดเป็ นสัตว์ประเภทใด (มีหรือไม่มีกระดูกสันหลัง)
2. บอกชื่อแมลงที่นักเรียนรู้จักมา 3 ชนิด

3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง สัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
แหล่งเรียนรู้/อุปกรณ์
1. โรงเรียน บ้าน หรือสวนสาธารณะ
2. สมุด 1 เล่ม
3. ดินสอ/ปากกา 1 แท่ง/ด้าม

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ช่วยกันคิด วางแผน และปฏิบัติ
กิจกรรม ให้สมาชิกของกลุ่มออกสำรวจสัตว์ที่อยู่บริเวณโรงเรียน บ้าน หรือ
สวนสาธารณะ
2. สังเกตลักษณะเฉพาะของสัตว์แต่ละชนิด บันทึกข้อมูล
3. วิเคราะห์แยกชนิดของสัตว์เป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง ร่วมกันอภิปรายในกลุ่มและสรุปผล

การสำรวจสัตว์บริเวณโรงเรียน

คำถามประกอบกิจกรรม
1. กลุ่มของนักเรียนพบสัตว์ชนิดใดบ้าง

2. นักเรียนจำแนกได้หรือไม่ว่าสัตว์ชนิดใดมีกระดูกสันหลังและสัตว์ชนิดใดไม่มี
กระดูกสันหลัง สังเกตจากอะไร
3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 11
เรื่อง การตกของวัตถุ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ลูกบอล 1 ลูก
2. ยางลบ 1 ก้อน

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. ถือลูกบอลไว้ระดับอก แล้วปล่อยลูกบอล สังเกตการตกของลูกบอล
บันทึกผลการสังเกต
2. กำยางลบด้วยมือขวา เหยียดแขนออกแล้วคว่ำมือ จากนัน
้ ปล่อย
ยางลบ สังเกตการตกของยางลบ บันทึกผลการสังเกต

บันทึกผล

การสังเกต ผลการสังเกต

ลูกบอล

ยางลบ

สรุป
คำถามประกอบกิจกรรม
1. ผลการสังเกตลูกบอลและยางลบเหมือนหรือแตกต่างกัน ลักษณะใด

2. ทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอลและยางลบมีลก
ั ษณะใด

3. จากการปฏิบัติกิจกรรมสรุปว่าโลกมีแรงดึงดูดได้หรือไม่ สังเกตจากอะไร
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง วัตถุเคลื่อนที่อย่างไร

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การคาดคะเน

อุปกรณ์
1. ใบไม้ 1 ใบ
2. ลูกปิ งปอง 1 ลูก
3. ดินน้ำมัน 1 ก้อน
4. เมล็ดถั่ว 1 เมล็ด

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อสังเกตวัตถุชนิดต่างๆ
2. แต่ละกลุ่มคาดคะเนว่า ถ้ากำวัตถุด้วยมือขวา เหยียดแขนออกแล้วคว่ำ
มือ จากนัน
้ ปล่อยวัตถุ วัตถุจะมีการเคลื่อนที่ลักษณะใด
3. ปฏิบัติกิจกรรมโดยปล่อยวัตถุครัง้ ละ 1 ชนิด บันทึกผล

คำถามประกอบกิจกรรม
1. วัตถุแต่ละชนิดมีลักษณะการเคลื่อนที่เหมือนหรือแตกต่างกันลักษณะใด
2. การเคลื่อนที่ของวัตถุเกิดจากแรงใด

3. จากการปฏิบัติกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 12
เรื่อง การวัดแรง

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1 เครื่อง
2. ถุงทราย 1 ถุง
3. วัตถุอ่ น
ื 3 ชนิด ชนิดละ 1 ชิน

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แขวนเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนในแนวดิ่ง สังเกตตำแหน่งเข็มชี ้ บน
เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน
2. ออกแรงดึงขอเกี่ยวของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนลง สังเกตและบันทึก
ค่าของแรง
3. แขวนถุงทราย 1 ถุงกับขอเกี่ยวของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน สังเกต
และบันทึกค่าของแรงเมื่อถุงทรายอยู่นิ่ง
4. นำวัตถุอ่ น
ื ๆ มาเกี่ยวกับขอเกี่ยวของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน สังเกต
และบันทึกค่าของแรงที่อ่านได้

บันทึกผล
ออกแรงดึงเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน ค่าของแรงที่อ่านได้ นิวตัน

วัตถุ ค่าของแรงที่อ่านได้ (นิวตัน)


ถุงทราย
สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. ในกิจกรรมนีเ้ ครื่องชั่งสปริงแบบแขวนมีหน้าที่อะไร และมีวิธีอ่านค่าอย่างไร

2. เมื่อแขวนวัตถุแต่ละชนิด เครื่องชัง่ สปริงแบบแขวนเปลี่ยนแปลงลักษณะใด

3. ค่าที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนคือค่าของอะไร

4. เครื่องชั่งสปริงวัดขนาดของแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุได้หรือไม่
สังเกตจากอะไร

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 13
เรื่อง น้ำหนักและมวล
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1 เครื่อง
2. ถุงทราย 3 ถุง

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แขวนเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนในแนวดิ่ง สังเกตตำแหน่งเข็มชีบ
้ น
เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน
2. แขวนถุงทราย 1 ถุงกับขอเกี่ยวของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน สังเกต
และบันทึกค่าของแรงที่อ่านได้เมื่อถุงทรายอยู่นิ่ง
3. เพิ่มจำนวนถุงทรายที่มีมวลเท่ากัน อีกครัง้ ละ 1 ถุง จนครบ 3 ถุง
สังเกตและบันทึกผล

บันทึกผล

จำนวนถุงทราย (ถุง) ค่าของแรงที่อ่านได้ (นิวตัน)


1
2
3

สรุป
คำถามประกอบกิจกรรม
1. การเพิ่มจำนวนถุงทรายเป็ นการเพิ่มมวลหรือไม่ สังเกตจากอะไร

2. ค่าที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนสัมพันธ์กับมวลของถุงทราย
ลักษณะใด

3. น้ำหนักและมวลของวัตถุมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 14
เรื่อง มวลกับการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. แผ่นไม้ที่มีขอเกี่ยวขนาด 4 × 6 นิว้ 1 แผ่น
2. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1 เครื่อง
3. ถุงทราย 3 ถุง

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. วางแผ่นไม้บนพื้นเรียบแล้ววางถุงทราย 1 ถุงบนแผ่นไม้
2. ใช้ขอเกี่ยวของเครื่องชัง่ สปริงแบบแขวนเกี่ยวแผ่นไม้แล้วลากในแนว
ราบ อ่านค่าขนาดของแรงที่ได้จากเครื่องชัง่ สปริงแบบแขวนเมื่อแผ่นไม้เริ่ม
เคลื่อนที่ บันทึกผล
3. ดำเนินการเช่นเดิม แต่เพิ่มจำนวนถุงทรายเป็ น 2 ถุง และ 3 ถุง ตาม
ลำดับ

บันทึกผล

จำนวนถุงทราย (ถุง) ค่าของแรงที่อ่านได้ (นิวตัน)


1
2
3

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. การเพิ่มจำนวนถุงทรายมีผลต่อแรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่หรือไม่ สังเกตจาก
อะไร
2. ก่อนที่ถุงทรายจะเคลื่อนที่ มีแรงต้านการเคลื่อนที่เกิดขึน
้ หรือไม่ สังเกตจาก
อะไร

3. มวลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุลักษณะใด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 1
เรื่อง สังเกตแสงส่องผ่านวัตถุต่างชนิดกัน

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______
ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. คลิปหนีบกระดาษ 1 อัน
2. ไฟฉาย 1 กระบอก
3. พลาสติกใส 1 แผ่น
4. พลาสติกใสสี 1 แผ่น
5. กระดาษไข 1 แผ่น
6. กระดาษแข็งสีขาว 2 แผ่น
7. ไม้อัดบางๆ 1 แผ่น
8. กระจกฝ้ า 1 แผ่น
9. แก้วน้ำใส 1 ใบ

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. ใช้คลิปหนีบกระดาษทำเป็ นขาตัง้ หนีบกระดาษแข็งสีขาว 1 แผ่น นำมา
ตัง้ ขึน
้ ดังรูป
2. ปิ ดห้องเรียนเพื่อให้ห้องมืด จากนัน
้ ฉายแสงจากไฟฉายไปยังกระดาษ
แข็งสีขาว แล้วบันทึกผลการสังเกต
3. ฉายแสงจากไฟฉายไปยังกระดาษแข็งสีขาว ขณะเดียวกันก็ถือพลาสติก
ใสกัน
้ ไว้ด้านหน้าไฟฉาย ดังรูป บันทึกผลการสังเกต

4. ดำเนินการสังเกตซ้ำตามขัน
้ ตอนที่ 3 แต่ใช้พลาสติกใสสี กระดาษไข
กระดาษแข็งสีขาว ไม้อัดบางๆ กระจกฝ้ า และแก้วน้ำใสแทน

บันทึกผล

ชนิดของวัตถุ ผลการสังเกต
ผลการคาดคะเน
ที่กน
ั ้ แสง
ไม่มีวัตถุ
พลาสติกใส
พลาสติกใสสี
กระดาษไข
กระดาษแข็งสี
ขาว
ไม้อัดบาง ๆ
กระจกฝ้ า
แก้วน้ำใส

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. แสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุได้ทุกชนิดหรือไม่ สังเกตจากอะไร

2. แสงเคลื่อนที่ผ่านวัตถุได้กล
ี่ ักษณะ และมีลักษณะใดบ้าง

3. จากการปฏิบัติกิจกรรมสามารถจำแนกวัตถุได้หรือไม่ และใช้อะไรเป็ น
เกณฑ์

4. จากเกณฑ์ที่ใช้จำแนกวัตถุ เราจำแนกวัตถุเป็ นกี่กลุ่ม และมีวัตถุชนิดใดบ้าง


ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 16
เรื่อง การเกิดเงา

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ไฟฉาย 1 กระบอก
2. ลูกปิ งปองพร้อมฐาน 1 ชุด
3. ฉากขนาด 30 ซม. × 30 ซม. 1 แผ่น
4. ไม้บรรทัด 1 อัน

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. วางไฟฉายห่างจากฉากประมาณ 20 เซนติเมตร วางลูกปิ งปองพร้อม
ฐานห่างจากฉากประมาณ 10 เซนติเมตร ดังรูป เปิ ดไฟฉายให้ส่องไปที่ลูก
ปิ งปอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ บนฉาก

การจัดวางไฟฉายและลูกปิ งปอง

2. เลื่อนลูกปิ งปองเข้าและออกจากฉาก สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน



บนฉาก
3. เลื่อนฉากเข้าและออกจากลูกปิ งปอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน

บนฉาก
4. วาดเงาที่ปรากฏบนฉากและบันทึกลักษณะของเงาในตาราง
บันทึกผล

การเปลีย
่ นแปลงที่เกิด
สิ่งที่สังเกต รูปวาดของเงา
ขึน
้ บนฉาก

เปิ ดไฟฉายให้ส่องไปที่
ลูกปิ งปอง
โดยที่ไม่ต้องเลื่อนสิ่งใด

เลื่อนลูกปิ งปองเข้าไปหา
ฉาก

เลื่อนลูกปิ งปองเข้าไปหา
ไฟฉาย

เลื่อนฉากเข้าไปหาลูก
ปิ งปอง

เลื่อนฉากออกจากลูก
ปิ งปอง

สรุป
คำถามประกอบกิจกรรม
1. นักเรียนสามารถใช้สิ่งใดแทนลูกปิ งปองได้บ้าง เพราะอะไร

2. เงาเกิดขึน
้ เมื่อใด

3. ขนาดของเงาที่ปรากฏบนฉากขึน
้ อยู่กับสิง่ ใด

4. เงาที่ปรากฏบนฉากในแต่ละครัง้ เหมือนหรือแตกต่างกัน เพราะอะไร


ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 17
เรื่อง สมบัติด้านสภาพยืดหยุ่นของวัสดุ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. ยางรัด แถบยางยืด เชือกฟาง ลวดสปริง อย่างละ 1 เส้น
2. ตุ้มเหล็กมวล 500 กรัม
3. ไม้ยาว 1 อัน
4. ขอเกี่ยว 1 อัน
5. โต๊ะ 2 ตัว
6. ไม้บรรทัด 1 อัน
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. สมาชิกกลุ่มหาวัสดุตัวอย่าง ได้แก่ ยางรัด แถบยางยืด เชือกฟาง และ
ลวดสปริงนำมาทดสอบ
3. พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้
4. แขวนยางรัดที่ขอเกี่ยว และแขวนตุ้มเหล็กที่ยางรัด ดังรูป วัดความยาว
ของยางรัดที่ยืดออก บันทึกผล
5. ทำการทดสอบซ้ำ โดยใช้วัสดุอ่ น
ื ผูกเป็ นวงขนาดเท่ายางรัดแทนยางรัด
ได้แก่ แถบยางยืด เชือกฟาง และลวดสปริง

บันทึกผล

วัสดุ ความยาว (เซนติเมตร)


ยางรัด
แถบยางยืด
เชือกฟาง
ลวดสปริง

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. วัสดุชนิดใดยืดได้มากที่สุด
2. อะไรเป็ นตัวบ่งชีค
้ วามยืดหยุ่นของวัสดุในกิจกรรมนี ้

3. ถ้าไม่มีตุ้มเหล็ก นักเรียนจะเลือกใช้สิ่งใดแทน

4. ถ้าใช้ตุ้มเหล็กที่มีน้ำหนักมาก นักเรียนคิดว่าวัสดุจะเปลี่ยนแปลงลักษณะใด

5. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 18
เรื่อง สมบัติด้านความแข็งของวัสดุ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. เทียนไข 1 เล่ม
2. หวีพลาสติก 1 เล่ม
3. กระจกเงา 1 บาน
4. ไม้บรรทัดเหล็ก 1 อัน
5. ไม้บรรทัดพลาสติก 1 อัน
6. ตะไบ 1 อัน
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. สมาชิกกลุ่มหาวัสดุที่จะนำมาทดสอบ ได้แก่ เทียน พลาสติก กระจก
เหล็ก มาคนละ 1 ชนิด
3. ทดสอบความแข็งของวัสดุต่างๆ ด้วยวิธีดังต่อไปนี ้ แล้วบันทึกข้อมูล
 ใช้เล็บขูด
 ใช้ไม้บรรทัดพลาสติกขูด
 ใช้ตะไบกรีด

การใช้ตะไบกรีดบนวัสดุ
การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ
เทียน พลาสติก กระจก เหล็ก
วิธีการ
(เทียนไข) (หวี (กระจกเงา) (ไม้บรรทัด
พลาสติก) เหล็ก)
ใช้เล็บขูด
ใช้ไม้บรรทัด
พลาสติกขูด
ใช้ตะไบกรีด
บันทึกผล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. วัสดุชนิดใดมีความแข็งมากที่สุดและน้อยที่สุด ดูจากอะไร

2. วัสดุใดมีความแข็งมากกว่าวัสดุที่นำมาขูด ดูจากอะไร

3. ยกตัวอย่างของใช้ที่ทำมาจากวัสดุที่มีความแข็งมา 3 ชนิด

4. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 19
เรื่อง สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. ถุงทราย 5 – 6 ถุง
2. เชือกฟาง เชือกกล้วย ด้าย และเส้นเอ็น อย่างละ 1 เส้น
3. ไม้ยาว 1 อัน
4. ขอเกี่ยว 2 อัน
5. โต๊ะ 2 ตัว
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. พาดไม้ยาวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกี่ยวที่ท่อนไม้
3. ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟุตที่ขอเกี่ยวนำขอเกี่ยวอีกอันผูกติดปลาย
ล่างของเชือกฟาง
4. แขวนถุงทรายที่ขอเกี่ยวอันล่าง เพิ่มถุงทรายทีละถุงจนเชือก
ขาด นับจำนวนถุงทรายทัง้ หมด บันทึกผล
5. ทำการทดสอบซ้ำ โดยเปลีย
่ นจากเชือกฟางเป็ นเชือกกล้วย
ด้าย และเส้นเอ็น (ขนาดและความยาวของวัสดุแต่ละชนิดต้องเท่ากัน)
บันทึกผล

บันทึกผล

วัสดุ จำนวนถุงทราย (ถุง)


เชือกฟาง
เชือกกล้วย
ด้าย
เส้นเอ็น

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. วัสดุชนิดใดมีความเหนียวมากที่สุด

2. วิธีการที่ใช้ทดสอบความเหนียวในกิจกรรมนีค
้ ืออะไร

3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 20
เรื่อง สมบัติด้านการนำความร้อนของวัสดุ
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. แท่งแก้วและแท่งเหล็กขนาดใกล้เคียงกัน อย่างละ 1 แท่ง
2. เทียนไข 1 เล่ม
3. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 2 ดวง
4. ขาตัง้ พร้อมที่จับ 2 ชุด
5. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. แต่ละกลุ่มนำเทียนไขมาจุดไฟ หยดน้ำตาเทียนลงบนแท่งแก้วและแท่ง
เหล็กที่เตรียมไว้ 4 หยด โดยให้แต่ละหยดมีระยะห่างเท่าๆ กัน ทิง้ ไว้สักครู่
เพื่อให้หยดเทียนแข็งตัว
3. ติดตัง้ แท่งแก้วและแท่งเหล็กเข้ากับที่จับหลอดทดลอง โดยให้อยู่ใน
แนวระดับ
4. ตัง้ ตะเกียงแอลกอฮอล์ไว้ที่ปลายแท่งแก้วและแท่งเหล็ก ดังรูป จุดไฟ
สังเกตและบันทึกผลที่เกิดขึน
้ (ควรใช้เวลาในการให้ความร้อนกับแท่งแก้วและ
แท่งเหล็กเท่าๆ กัน)
บันทึกผล

วัสดุ ผลการสังเกต

แท่งแก้ว

แท่งเหล็ก

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. เพราะเหตุใดจึงใช้หยดน้ำตาเทียนในการสังเกต

2. เมื่อได้รับความร้อน หยดน้ำตาเทียนบนแท่งแก้วและบนแท่งเหล็กมีการ
เปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่
ในลักษณะใด

3. วัสดุชนิดใดนำความร้อนได้ดีที่สุด สังเกตได้จากอะไร
4. ยกตัวอย่างวัสดุที่นำความร้อนได้ดีและวัสดุที่นำความร้อนได้ไม่ดี

5. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมสะเต็มศึกษา
เรื่อง โคมเทียนบังลม

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะในศตวรรษที่ 21
1. การคิด
2. การแก้ปัญหา
3. การสื่อสาร
4. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

จุดประสงค์ของกิจกรรม
ออกแบบชิน
้ งานโดยใช้สมบัติทางกายภาพของวัสดุมาใช้ในชีวิตประจำวัน
1.กำหนดปั ญหา
ให้นักเรียนกำหนดปั ญหาของกิจกรรมตามแนวทางการกำหนดปั ญหาที่
เรียนผ่านมาแล้ว จากนัน
้ ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
คำถาม
1. จากสถานการณ์ นักเรียนพบปั ญหาอะไรบ้าง

2. นักเรียนเลือกแก้ปัญหาใด เพราะเหตุใดจึงเลือกแก้ปัญหานี ้

3. นักเรียนคิดว่าปั ญหาที่เกิดขึน
้ เกิดจากสาเหตุใด

4. เขียนสาเหตุจากข้อ 3 เป็ นประโยคคำถาม (กำหนดปั ญหา)


5. ปั ญหาจากข้อ 4 มีความสำคัญหรือน่าสนใจอย่างไร

6. มีข้อมูลเกี่ยวกับการแก้ปัญหานีห
้ รือไม่ ถ้าไม่มี ให้สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

7. จากข้อมูลที่ได้ นักเรียนคิดว่าจะสรุปการแก้ปัญหาจากข้อ 4 ด้วยวิธีการใด


เพราะอะไร

ปั ญหาของกิจกรรม

2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปั ญหา
ขัน
้ ตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลโดยการวิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการจากการ
ตอบคำถามต่อไปนี ้
คำถาม
1. ปั ญหานีค
้ ืออะไร

2. ปั ญหานีเ้ กิดกับใคร

3. ปั ญหานีเ้ กิดขึน
้ ที่ไหน

4. ปั ญหานีเ้ กิดขึน
้ เมื่อใด

5. เพราะเหตุใดจึงต้องแก้ปัญหานี ้
6. จะแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการนีอ
้ ย่างไร

ขัน
้ ตอนที่ 2 ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีจากแหล่งข้อมูล
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชิน
้ งานด้วยวิธีการดังนี ้
 อภิปรายถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
กระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (วิศวกรรมศาสตร์) ที่ต้องใช้ในการแก้
ปั ญหา

 ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่จำเป็ นด้วยวิธีการที่เหมาะสมจากแหล่งการเรียน
รู้ต่าง ๆ
คำถาม
1. นักเรียนได้ข้อมูลอะไรบ้าง จากแหล่งข้อมูลใด

 สำรวจวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ว่ามีอะไรบ้าง วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของวัสดุ


อุปกรณ์ที่นำมาใช้เพื่อสร้างทางเลือก
คำถาม
1. วัสดุ อุปกรณ์ที่นักเรียนเลือกมีอะไรบ้าง
2. นักเรียนเลือกวัสดุ อุปกรณ์นเี ้ พราะอะไร

ขัน
้ ตอนที่ 3 วิเคราะห์ พิจารณา และเปรียบเทียบทางเลือกที่สามารถแก้
ปั ญหาและได้สิ่งที่ต้องการมากที่สุดจากข้อมูล
ที่รวบรวมได้และข้อจำกัดที่มี และตัดสินใจเลือกทางเลือกนัน

 กำหนดหัวข้อให้ชัดเจน (ระบุหัวข้อเรื่อง) จากการตอบคำถามต่อไปนี ้
คำถาม
1. สิ่งที่ต้องการจากการปฏิบัติกิจกรรมครัง้ นีค
้ ืออะไร

 กำหนดวัตถุประสงค์ในการปฏิบัติกิจกรรม
คำถาม
1. สิ่งใดที่นักเรียนต้องการจากการปฏิบัติกิจกรรม

2. นักเรียนสามารถเรียงลำดับสิ่งที่ต้องการในข้อ 1 ได้อย่างไร (ระบุโดย


จำแนกเป็ นสิง่ ที่ต้องเกิดขึน
้ (must) และสิง่ ที่อาจเกิดขึน
้ (want)

3. นักเรียนใช้สิ่งที่ต้องการจากข้อ 2 กำหนดวัตถุประสงค์ได้อย่างไร (ระบุ


วัตถุประสงค์)

 กำหนดประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คำถาม
1. กิจกรรมนีเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน และสิง่ แวดล้อมอย่างไร

2. นักเรียนใช้สิ่งที่อาจเกิดขึน
้ (want) และประโยชน์ในข้อ 1 กำหนดประโยชน์
ที่คาดว่าจะได้รับจากกิจกรรมนีอ
้ ย่างไร (ระบุประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ)

 กำหนดขอบเขตของกิจกรรม
คำถาม
1. นักเรียนมีงบประมาณเท่าใด

2. นักเรียนมีระยะเวลาดำเนินการเท่าไร

3. มีสิ่งใดอีกหรือไม่ที่ควรควบคุมก่อนปฏิบัติกิจกรรม

4. มีสิ่งใดที่อาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติกิจกรรม แต่ไม่สามารถควบคุมได้
เพราะอะไร

5. จากการศึกษาข้อมูล นักเรียนคิดว่ามีปัญหาใดอีกบ้างที่ควรแก้ไข แต่ละ


ปั ญหาสามารถแก้ไขได้อย่างไร

6. จากสิ่งที่กำหนดในข้อ 1 – 5 นักเรียนสามารถกำหนดขอบเขตการปฏิบัติ
กิจกรรมนีไ้ ด้อย่างไร (ระบุ
ขอบเขตของกิจกรรม)

3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
้ ตอนที่ 1 คำนึงถึงทรัพยากรและข้อจำกัดที่มีว่ามีอะไรบ้าง
ขัน
คำถาม
1. นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์อย่างไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง

2. งบประมาณและระยะเวลาของกิจกรรมนีเ้ ป็ นอย่างไร

ขัน
้ ตอนที่ 2 ถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่างโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ค้นคว้าได้

บันทึกผลการออกแบบ
4. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
ขัน
้ ตอนที่ 1 • เขียนลำดับขัน
้ ตอนย่อยของการทำงานเพื่อให้สร้างชิน
้ งานได้
ตรงตามที่ออกแบบไว้
• นำเสนอการออกแบบ

ขัน
้ ตอนที่ 2 • แบ่งหน้าที่การทำงานในกลุ่ม แล้วลงมือสร้างชิน
้ งานตามที่ได้
วางแผนไว้
คำถาม
1. นักเรียนรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการใด (ระบุวิธีรวบรวมข้อมูล เช่น การทดลอง
การทดสอบ การสำรวจ การประดิษฐ์
และการสอบถาม) และมีขน
ั ้ ตอนย่อยอะไรบ้าง

2. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีใด (ระบุวิธีวิเคราะห์ข้อมูล เช่น หาค่าเฉลี่ย


เปรียบเทียบ หาผลต่าง ใช้แผนภูมิ)
3. ผลการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์เป็ นอย่างไร

4. ผลการสร้างชิน
้ งานเป็ นอย่างไร

5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือชิน


้ งาน
ขัน
้ ตอนที่ 1 ทดสอบ ทดสอบชิน
้ งานที่ได้ว่าสอดคล้องตามที่ออกแบบไว้หรือไม่
คำถาม
1. นักเรียนมีวิธีการทดสอบชิน
้ งานอย่างไร

2. ผลการทดสอบชิน
้ งานเป็ นอย่างไร

ขัน
้ ตอนที่ 2 ประเมินผล ตรวจสอบชิน
้ งานว่ามีข้อบกพร่องอย่างไร
คำถาม
3. นักเรียนพบปั ญหาอะไรบ้าง

ขัน
้ ตอนที่ 3 ปรับปรุง แก้ไขชิน
้ งานจนกระทั่งได้ชน
ิ ้ งานตรงตามความต้องการ
คำถาม
4. นักเรียนแก้ปัญหาที่เกิดขึน
้ อย่างไร

6. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือชิน


้ งาน
คำถาม
1. นักเรียนสรุปผลงานได้ว่าอย่างไร

2. นักเรียนจะปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องใด

3. นักเรียนรู้สึกอย่างไรกับการปฏิบัติกิจกรรมครัง้ นี ้

4. แบบบันทึกกิจกรรมสะเต็มศึกษา

โครงงาน
เรื่อง____________________________________________________
_____________________
ปั ญหา__________________________________________________
____________________________
วัตถุประสงค์
___________________________-
_______________________________________________________
_
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_____________________________
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
__

ขอบเขตของโครงงาน
ระยะเวลาดำเนินการ___________________________งบ
ประมาณ________________________________
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือชิน
้ งาน
การ
ทดสอบ__________________________________________________
_________________________ _____________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
___________________________ประเมิน
ผล_____________________________________________________
______________________
ปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือชิน

งาน____________________________________________________
_________ _____________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________

สรุปผล

ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษากิจกรรมสะเต็มศึกษา เพื่อให้นก
ั เรียนเข้าใจกระบวนการ
ปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรม ให้นก
ั เรียนแบ่งกลุม
่ กลุม
่ ละ 3 – 4 คน แล้วปฏิบต
ั ก
ิ จ
ิ กรรมตาม
ขัน
้ ตอนต่อไปนี้

ขัน
้ ตอน
1. สำรวจความคิดเห็นร่วมกับเพื่อนๆ ในห้องเรียน แล้วพิจารณาเลือก
ปั ญหาทีต
่ อ
้ งการแก้ไขอย่างอิสระ เพื่อกำหนดเป็ นปั ญหาเพียง 1 เรื่องที่
สอดคล้องกับความรู้ในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เกีย
่ วกับสมบัตท
ิ างกายภาพด้าน
ความแข็ง สภาพยืดหยุน
่ ความเหนียว การนำความร้อน และการนำไฟฟ้ าของ
วัสดุ (ปั ญหาทีน
่ ก
ั เรียนเลือกอาจเป็ นปั ญหาทีพ
่ บเห็นในชีวต
ิ ประจำวัน ซึง่ แตกต่าง
จากสถานการณ์ตวั อย่างกิจกรรมสะเต็มศึกษาทีไ่ ด้เรียนรู้ผา่ นมา)
2. อภิปราย โต้แย้ง และแสดงความคิดเห็นจากข้อมูลที่ได้อย่างมีเหตุผล
แล้วลงมือออกแบบชิน
้ งานตามกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ บันทึกผล
3. นำเสนอแนวคิด ขัน
้ ตอนการแก้ปัญหาชิน
้ งาน รวมทัง้ ข้อเสนอแนะ โดย
ให้นักเรียนตอบคำถามตามกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ แล้วเขียนในรูป
ของแบบบันทึกกิจกรรมสะเต็มศึกษา จากนัน
้ นำเสนอผลงานหน้าชัน
้ เรียน
และจัดป้ ายนิเทศ/จัดนิทรรศการเผยแพร่ให้ผู้อ่ น
ื เข้าใจ
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 21
เรื่อง สมบัติด้านการนำไฟฟ้ าของวัสดุ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
อุปกรณ์
1. หลอดไฟฟ้ า 1 หลอด
2. ถ่านไฟฉาย 2 ก้อน
3. ลวดเสียบกระดาษ 1 อัน
4. ไม้ไอศกรีม 1 อัน
5. ช้อนโลหะ 1 อัน
6. ไม้บรรทัดพลาสติก 1 อัน
7. ยางลบ 1 อัน
8. ดินสอไม้ 1 อัน
9. สายไฟฟ้ า 3 เส้น
10. กบเหลาดินสอ 1 อัน
ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. แต่ละกลุ่มต่อหลอดไฟฟ้ าเข้ากับถ่านไฟฉาย และปล่อยปลายสาย
ไฟฟ้ าทัง้ 2 ข้างไว้
3. ลองเอาปลายสายไฟฟ้ าทัง้ 2 ข้างมาแตะกัน
สังเกตหลอดไฟฟ้ าว่าเกิดอะไรขึน

4. นำวัสดุต่างๆ มาแตะกับปลายสายไฟฟ้ าทัง้ สอง
พร้อมๆ กัน สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้ า
5. เหลาดินสอดำทัง้ 2 ข้าง นำมาแตะกับปลาย
สายไฟฟ้ าทัง้ 2 ข้างพร้อมกัน แล้วสังเกตหลอด
ไฟฟ้ า

บันทึกผล

วัสดุ หลอดไฟฟ้ า
สว่าง ไม่สว่าง
ลวด (ลวดเสียบกระดาษ)
ไม้ (ไม้ไอศกรีม)
โลหะ (ช้อนโลหะ)
พลาสติก (ไม้บรรทัด
พลาสติก)
ยาง (ยางลบ)
ไส้ดินสอดำ (ดินสอไม้)

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. วัสดุชนิดใดบ้างที่ทำให้หลอดไฟฟ้ าสว่าง

2. วัสดุจำพวกโลหะเท่านัน
้ ที่นำไฟฟ้ าได้ใช่หรือไม่ เพราะอะไร

3. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรจากการปฏิบัติกิจกรรมนี ้

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 22
เรื่อง สมบัติของของเหลว
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การตัง้ สมมุติฐาน
2. การลงความคิดเห็นข้อมูล
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. กระบอกตวงขนาด 500 ลบ.ซม. 1 ใบ
2. ภาชนะรูปทรงต่างๆ
3. น้ำ 250 ลบ.ซม.
ปั ญหา

กำหนดสมมุติฐาน

ขัน
้ ตอน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 6 คน แต่ละกลุ่มเทน้ำใส่กระบอกตวง
สังเกตรูปร่างของน้ำและอ่านปริมาตร บันทึกผล
2. เทน้ำจากกระบอกตวงใส่ลงในภาชนะใบที่ 1 สังเกตรูปร่างของน้ำ
แล้วเทน้ำลงในกระบอกตวงเพื่อหาปริมาตร บันทึกผล
3. ดำเนินการทดลองซ้ำตามขัน
้ ตอนที่ 2 โดยใช้ภาชนะรูปทรงต่าง ๆ
แล้วสรุปผลการสังเกต
รวบรวมข้อมูล
รวบรวมข้อมูลโดยบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่นักเรียนสังเกตได้ลงในตาราง
บันทึกผล
บันทึกผล
ภาชนะ รูปร่างของน้ำ ปริมาตรน้ำ (ลบ.ซม.)

แปลความหมายข้อมูล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
ก่อนการทดลอง
1. ปริมาตรของน้ำในกระบอกตวงก่อนการทำกิจกรรมมีค่าเท่าใด

2. นักเรียนนำภาชนะที่มีรูปร่างแบบใดมาทำกิจกรรมบ้าง

ระหว่างการทดลอง
3. น้ำมีปริมาตรเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุหรือไม่

4. น้ำมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุหรือไม่

5. ในระหว่างการทำกิจกรรมมีอุปสรรคหรือไม่ และแก้ไขด้วยวิธีใด

หลังการทดลอง
6. จากกิจกรรมนักเรียนจะสรุปสมบัติของน้ำได้ว่าอย่างไร

7. น้ำมีสมบัติใดจึงถูกส่งผ่านไปตามท่อน้ำได้
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 23
เรื่อง สมบัติของแก๊ส

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
2. ขวดแก้วใส 2 ใบ

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. จุดไม้ขีดไฟ 1 ก้าน ใส่ลงในขวด ใช้นว
ิ ้ มือปิ ดปากขวด แล้วสังเกต
ควันที่เกิดจากไม้ขีดไฟที่ดับ บันทึกผล
2. นำขวดที่มีขนาดเท่ากันมาคว่ำประกบกับขวดใบแรกให้ปากขวดสนิท
กันพอดี สังเกตควันในขวด บันทึกผล แล้วสรุปผลการสังเกต

สังเกตการเคลื่อนที่ของควันที่อยู่ในขวด

หมายเหตุ ควรระมัดระวังไม่ให้เปลวไฟถูกมือ เพราะจะทำให้ผิวหนังไหม้ได้

บันทึกผล

ลักษณะการเคลื่อนที่ของควัน

เมื่อใช้นว
ิ ้ มือปิ ดปากขวด เมื่อนำขวดอีกใบมาคว่ำประกบ

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. ควันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

2. แก๊สมีสมบัติแตกต่างจากของเหลวและของแข็งอย่างไร

3. ยกตัวอย่างการฟุ ้งกระจายของแก๊สที่นักเรียนพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 24
เรื่อง ดวงจันทร์

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
อุปกรณ์
1. ปฏิทินหรือหนังสือพิมพ์ 1 ฉบับ
2. กระดาษขาว 2 แผ่น
3. ดินสอสีหรือสีเทียนสีเหลืองและสีดำอย่างละ 1 แท่ง

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. นักเรียนเรียนรู้จากปฏิทินหรือหนังสือพิมพ์เพื่อหาว่าวันที่เท่าไรเป็ นวัน
ขึน
้ 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ
2. สังเกตว่าดวงอาทิตย์ขน
ึ ้ ทางทิศใดของบ้าน เพื่อหาทิศตะวันออกและ
ทิศตะวันตก
3. วาดวงกลมลงบนกระดาษขาว 2 แผ่น แผ่นละ 1 วง และที่ใต้วงกลม
เขียนว่า ขึน
้ 8 ค่ำ และแรม 8 ค่ำ
4. เมื่อถึงวันขึน
้ 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ ให้นักเรียนสังเกตดวงจันทร์แล้ว
ใช้ดินสอสีหรือสีเทียนระบายลงในวงกลม โดยส่วนที่สว่างใช้สีเหลือง ส่วนที่มืด
ใช้สีดำ
5. เขียนทิศตะวันออกและทิศตะวันตกที่ข้างวงกลมทัง้ 2 รูป
6. ร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และสรุปผลการสังเกตดวงจันทร์
บันทึกผล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. รูปดวงจันทร์ของคนอื่น ๆ เหมือนกับของนักเรียนหรือไม่

2. ดวงจันทร์สามารถใช้บอกทิศได้หรือไม่ เพราะอะไร

3. ถ้าไม่ใช้การวาดรูป เราสามารถใช้อุปกรณ์ใดศึกษาเรื่องนีไ้ ด้

4. ในการทำกิจกรรมนีม
้ ีอุปสรรคใดบ้าง

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 25
เรื่อง แบบจำลองของระบบสุริยะ
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสร้างและใช้แบบจำลอง
2. การคาดคะเนและวัด
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. กระดาษ 1 แผ่น
2. ไม้บรรทัด 1 อัน
3. กรรไกร 1 เล่ม
4. ปากกาเคมีหรือสีเทียน 1 กล่อง

ปั ญหา

ขัน
้ ตอน
1. ใช้ข้อมูลในตารางสร้างแบบจำลองของดาวเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลเส้น
ผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์ หาขนาดเพื่อสร้างแบบจำลองดาวเคราะห์
แต่ละดวง
2. สร้างแบบจำลองของดาวเคราะห์แต่ละดวงลงบนกระดาษ วัดขนาด
ดาวเคราะห์แต่ละดวงด้วยไม้บรรทัด เพื่อให้แน่ใจว่ามีขนาดของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางถูกต้อง ตัดดาวเคราะห์แต่ละดวงออกมาและระบายสี บันทึกลำดับ
ขนาดของดาวเคราะห์ในตาราง
3. นำดาวเคราะห์ที่ตัดแล้วมาจัดเรียงเป็ นแบบจำลองตามลำดับที่แสดงใน
ตาราง โดยให้ดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด พึงระลึกไว้เสมอว่าแบบ
จำลองนีช
้ ่วยให้นักเรียนเปรียบเทียบขนาดไม่ใช่ระยะทาง บันทึกลำดับขนาด
ของดาวเคราะห์

ตารางที่ 6.1 เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์และเส้นผ่านศูนย์กลางของ


แบบจำลอง

เส้นผ่าน เส้นผ่านศูนย์กลางของ
ชื่อดาว ศูนย์กลางของ แบบจำลอง
เคราะห์ ดาวเคราะห์ (มิลลิเมตร)
(กิโลเมตร)
ดาวพุธ 4,900 5
ดาวศุกร์ 12,100 12
โลก 12,800 13
ดาวอังคาร 6,800 7
ดาว 143,000 143
พฤหัสบดี
ดาวเสาร์ 120,500 121
ดาวยูเรนัส 51,100 51
ดาวเนปจูน 49,500 50

หมายเหตุ กำหนดให้ 1 มิลลิเมตร มีค่าประมาณ 1,000 กิโลเมตร


บันทึกผล
จากการสร้างแบบจำลองของระบบสุริยะ เราสามารถเรียงลำดับขนาด
ของดาวเคราะห์จากขนาดใหญ่ที่สุดไปยังขนาดเล็กที่สุดได้ดังนี ้

ขนาดใหญ่ที่สุด
ขนาดเล็กที่สุด

ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
ไกลดวงอาทิตย์ที่สุด

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. นักดาราศาสตร์ใช้แบบจำลองเพื่ออธิบายระบบสุริยะเพราะเหตุใด

2. จากการสร้างแบบจำลองของระบบสุริยะ โลกของเราเป็ นดาวเคราะห์ที่มี


ขนาดใหญ่เป็ นลำดับที่เท่าใด

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 6
เรื่อง ดาวเคราะห์ที่ฉันชอบ

ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________


ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. ดินสอ/ปากกา 1 แท่ง/ด้าม
2. ยางลบ 1 ก้อน
3. สีเทียนหรือสีเมจิก 1 กล่อง

ขัน
้ ตอน
1. เขียนรายละเอียดเกี่ยวกับดาวเคราะห์ที่นักเรียนชอบวาดรูปและระบาย
สีให้สวยงาม
2. นำเสนอผลงานและอธิบายร่วมกันในชัน
้ เรียน

ชื่อดาวเคราะห์

การค้นพบ
ลักษณะของดาวเคราะห์

จำนวนดาวบริวาร
อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็ นลำดับที่
เมื่อเปรียบเทียบกับดาวเคราะห์ดวงอื่น
แล้วมีขนาดใหญ่เป็ นลำดับที่
สภาพบรรยากาศบนดาวเคราะห์

คำถามประกอบกิจกรรม
1. นักเรียนชอบดาวเคราะห์ดวงใด เพราะเหตุใด

2. ดาวเคราะห์ที่นักเรียนชอบมีจุดเด่นอะไรบ้าง

ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ใบกิจกรรมที่ 26
เรื่อง ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์
ชื่ อ - สกุ ล ______________________________________
ชัน
้ ___________เลขที่______

ทักษะสร้างเสริมความเข้าใจที่คงทน
1. การสังเกต
2. การทดลอง
3. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป

อุปกรณ์
1. เชือกยาว 1 เมตร 1 เส้น
2. ลูกปิ งปอง 1 ลูก
3. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

ปั ญหา

กำหนดสมมุติฐาน

ขัน
้ ตอน
1. นำเชือกยาว 1 เมตรมาผูกปลายเชือกด้านหนึ่งกับลูกปิ งปอง จับปลาย
เชือกด้านตรงข้ามลูกปิ งปองให้แน่น แล้วแกว่งลูกปิ งปองให้เคลื่อนที่รอบศีรษะ
เป็ นวงกลมในแนวระนาบ โดยให้เชือกยังคงตึงอยู่ นับจำนวนรอบของการ
แกว่งในเวลา 1 นาที บันทึกผล
2. ดำเนินการทดลองตามขัน
้ ตอนที่ 1 แต่
ลดความยาวของเชือกลงโดยการจับเชือกให้
ห่างจากลูกปิ งปอง 20 เซนติเมตร แล้วนับ
จำนวนรอบของการแกว่งในเวลา 1 นาที
บันทึกผล
3. เปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของลูก
ปิ งปองรอบศีรษะกับการเคลื่อนที่ของดาว
เคราะห์รอบดวงอาทิตย์

รวบรวมข้อมูล
รวบรวมข้อมูลโดยบันทึกการเปลี่ยนแปลงที่นักเรียนสังเกตเห็นลงใน
ตารางบันทึกผล

บันทึกผล

จำนวนรอบของการแกว่งใน 1
การจับเชือก
นาที
เชือกยาว 1 เมตร
เชือกยาว 20 เซนติเมตร

แปลความหมายข้อมูล

สรุป

คำถามประกอบกิจกรรม
1. ดาวพุธมีความเร็วในการโคจรมากกว่าดาวเนปจูนหรือไม่ เพราะอะไร
2. ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ขน
ึ ้ อยู่กับสิ่งใด

3. ผลการทดลองเป็ นไปตามสมมุติฐานที่นักเรียนกำหนดไว้หรือไม่

You might also like