You are on page 1of 14

โรงเรี ยนหอวัง

โครงงานวิทยาศาสตร์  การทดลองการบ่มผลไม้ดว้ ยวิธีธรรมชาติ

ผูว้ ิจยั
เด็กชาย ธีธชั ธารี เวทย์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/15 เลขที่ 7
นาย ปุณณรัญชน์ ยลวิลาศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/15 เลขที่ 10
นาย อธิภทั ร ศิวะตระกูล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/15 เลขที่ 15

ครู ที่ปรึ กษา


คุณครู สิริวลี มาเนียม
คุณครู จุฬาภรณ์ ทองสี นุช

โครงงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 โรงเรี ยนหอวัง

กิตติกรรมประกาศ
ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของกลุ่มข้าพเจ้าขอขอบคุณอาจารย์ที่ให้ความอนุเคราะห์และคอย
ให้คำปรึ กษา ความสะดวกในการทำงานโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่ องการทดลองการบ่มผลไม้ดว้ ยวิธี
ธรรมชาติ
คณะผูจ้ ดั ทำครงงานวิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณคูรพ่อ คุณแม่ และทุกๆท่านอย่างสู งที่ให้ การ
สนับสนุน เอื้อเฟื้ อและให้ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือจนกระทัง่ โครงงานวิทยาศาสตร์ สำเร็ จลุล่วงด้วยดี
คณะผูจ้ ดั ทำ
เด็กชาย ธีธชั ธารี เวทย์ ม. 3/15 เลขที่ 7
นาย ปุณณรัญชน์ ยลวิลาศ ม. 3/15 เลขที่ 10
นาย อธิภทั ร ศิวะตระกูล ม. 3/15 เลขที่ 15

สารบัญ
เรื่ อง หน้า
คำนำ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญ 1
จุดประสงค์
ตัวแปร
สมมติฐาน
บทที่ 2 หัวข้อความรู้ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 ขั้นตอนก

ที่มาและความสำคัญ 

ในปั จจุบนั ผลไม้สุกเป็ นที่นิยมของผูบ้ ริ โภคและกรรมวิธีที่จะได้ผลไม้สุกก่อนที่จะนำมาวาง


จำหน่ายตามท้องตลาดนั้นต้องผ่านขั้นตอนและวิธีการที่จะทำให้ผลไม้สุกโดยใช้สารเคมี เช่นถ่าน
แก๊ส(แคลเซี ยมคาร์ไบด์) หรื อ สารอีเทรลซึ่ งสารอาจเป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภคเนื่องจากจะทำให้เกิดการ
สะสมของสารเคมีภายในร่ างกายของผูบ้ ริ โภค
คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานจึงได้เล็งเห็นถึงปั ญหาและคิดที่จะหาวิธีการบ่มผลไม้โดยไม่ใช้สารเคมีโดยใช้
วิธีจากธรรมชาติ เพื่อที่ผบู้ ริ โภคจะได้ลดการบริ โภคสารเคมีคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานจึงได้สืบค้นข้อมูล จึงได้
พบว่าใบขี้เหล็กสามารถบ่มผลไม้ได้ เพราะใบขี้เหล็กเมื่อเก็บมาจากต้นจะยังไม่ตายและยังสามารถหายใจได้
รวมทั้งสามารถสร้างแก๊สเอทิลีน  ได้ซ่ ึ งแก๊สเอทิลีนที่ได้จากใบขี้เหล็กจะเป็ นตัวกระตุน้ ให้ผลไม้สร้าง
เอทิลีนขึ้นมาภายในผลได้เร็วขึ้นเพราะเอทิลีนเป็ นฮอร์โมนพืชที่มีสภาพเป็ นก๊าซที่อุณหภูมิหอ้ งและบทบาท
ที่สำคัญของเอทิลีนคือ การควบคุมการเจริ ญเติบโต สารเอทิลีนที่สร้างขึ้นมานี้ผนวกกับเอทิลีนที่ใบขี้เหล็ก
สร้างขึ้นมาก็จะไปกระตุน้ ให้มะม่วงหายใจมากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแป้ งเป็ นน้ำตาล หรื อเรี ยกได้วา่ เริ่ ม
กระบวนการสุ ก แต่ระหว่างการศึกษาหาข้อมูลคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานก็ได้เล็งเห็นถึงปั ญหาเกี่ยวกับใบขี้เหล็ก
นัน่ คือการหาใบขี้เหล็กที่เพิ่งถูกเก็บมาจากต้นได้ไม่นานเกินไป หรื อใบขี้เหล็กที่ยงั หายใจได้เพราะใบขี้เหล็ก
หาซื้ อได้ยากในท้องตลาดและในกรุ งเทพมหานครไม่ค่อยพบใบขี้เหล็กจำหน่ายอยู่ แม้จะพบใบขี้เหล็ก
จำหน่ายอยูก่ ไ็ ม่สามารถแน่ใจได้วา่ จะยังสามารถหายใจได้คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานจึงได้สงั เกตสิ่ งแวดล้อมร
อบๆตัวและศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับใบที่สามารถสร้างแก๊สเอทิลีนได้ ซึ่ งคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานได้พบว่า
บริ เวณบ้านของคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานมีใบไม้มากมายหลายชนิด จึงเกิดความสงสัยว่าใบอะไรบ้างที่สามารถ
ผลิตแก๊สเอทิลีนปริ มาณมากเหมือนใบขี้เหล็ก จากการศึกษาพบว่าคุณดลมนัส กาเจ ได้กล่าวไว้วา่ ใบพริ ก
และใบขี้เหล็กสามารถนำไปบ่มผลไม้ได้และจากหนังสื อพริ ก เผ็ดร้อนแรง เร่ งขจัดพริ กพบว่าใบพริ ก
สามารถสร้างแก๊สเอทิลีนได้ปริ มาณมากเช่นกัน

คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานจึงได้นำมาจัดทำโครงงานการศึกษาทดลองเกี่ยวกับใบพริ กว่าสามารถบ่มผล


ไม้ได้เปิ ดประสิ ทธิภาพเท่าใด แต่ผจู้ ดั ทำได้เกิดข้อสงสัย 2 ประการเกี่ยวกับการบ่มผลไม้ นัน่ คือ
1.ใบไม้ที่ไม่สามารถผลิตแก๊สเอทิลีนได้มากจะสามารถบ่มผลไม้ได้เหมือนกับใบไม้ที่สามารถผลิตแก๊ส
เอทิลีนได้หรื อไม่ ผูจ้ ดั ทำจึงได้ออกแบบการทดลองโดยใช้ใบกะเพรา และใบพริ กชี้ฟ้าไปบ่มผลไม้ชนิด
เดียวกันโดยใช้ระยะเวลาเท่ากัน นำมาเปรี ยบเทียบกันโดยที่ใช้ใบกะเพราและใบพริ กชี้ ฟ้าเพราะสามารถหา
ได้จากบริ เวณบ้านของคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานเพื่อให้ใบไม้ยงั มีชีวิตทำให้ใบยังหายใจได้
2.ผลไม้ที่มีอตั ราการหายใจเปลี่ยนแปลงตามอายุ(Climacteric fruit) กับผลไม้ที่อตั ราการหายใจไม่ได้ข้ ึนอยู่
กับอายุ (non climacteric fruit)การนำไปบ่มจะสามารถเกิดประสิ ทธิ ภาพได้เท่ากันหรื อไม่ โดยการบ่มผลไม้
ส่ วนมากจะใช้บ่มกับผลไม้ที่มีอตั ราการหายใจเปลี่ยนแปลงตามอายุ เช่นมะม่วง กล้วย เป็ นต้น โดยการ
ทดลองที่ออกแบบไว้จะเป็ นการนำผลไม้ที่มีอตั ราการหายใจเปลี่ยนแปลงตามอายุกบั ผลไม้ที่อตั ราการ
หายใจไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั อายุมาใช้วิธีการบ่มวิธีเดียวกันแล้วเพื่อนำมาเปรี ยบเทียบกัน
สุ ดท้ายนี้ทางคณะผูจ้ ดั ทำโครงงานหวังว่าโครงงานเรื่ องการทดลองการบ่มผลไม้ดว้ ยวิธีธรรมชาติ
จะสามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ผคู้ นได้ไม่มากก็นอ้ ย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

จุดประสงค์ 
1. เพื่อทำให้ผลไม้สุกเร็ วขึ้น 
2. เพื่อลดการใช้สารเคมีจากผลไม้ 
3. เปรี ยบเทียบสารเอธิลีนในใบพริ กกับใบกะเพรา 
4. เปรี ยบเทียบระยะเวลาที่ใช้บ่ม 
สมมติฐาน 
1. ใบพริ กใช้ในการบ่มผลไม้ให้สุกได้ดีกว่าใบกะเพรา  
2. มะม่วงแก้วจะใช้ใบพริ กบ่มได้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากกว่าพริ กหยวก 
 
ตัวแปร 
ตัวแปรต้น ชนิดผลไม้ที่นำมาบ่ม,ชนิดใบไม้ที่นำมาบ่ม 
ตัวแปรตาม ความสุ กของผลไม้ที่นำมาบ่ม 
ตัวแปรควบคุม อุณหภูมิ,ภาชนะที่ใช้ในการบ่ม 
 
หัวข้อความรู ้ที่เกี่ยวข้อง

สำหรับการบ่มผลไม้ให้สุกนั้น ไม่ใช่วา่ ผลไม้ทุกชนิดก็สามารถนำมาบ่มให้สุกได้ ผลไม้ที่สามารถนำมาบ่ม


ให้สุกได้น้ นั ต้องเป็ นผลไม้ที่โดยปกติมีอตั ราการหายใจและการสร้างเอทิลีนเพิ่มขึ้นในระหว่างการสุ ก เรี ยก
ผลไม้ประเภทนี้ วา่ climacteric เช่น กล้วย มะม่วง มะละกอ ละมุด มังคุด และทุเรี ยน ส่ วนผลไม้ที่ไม่สามารถ
ใช้วธิ ี บ่มให้สุกได้ คือ ผลไม้ที่โดยปกติมีอตั ราการหายใจและการสร้างเอทิลีนต่ำในระหว่างการสุ ก เรี ยกผล
ไม้ประเภทนี้ วา่ non-climacteric ได้แก่ ส้ม มะนาว สตรอเบอรี สับปะรด องุ่น และเงาะ ซึ่ งการสุ กของผลไม้
เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาและชีวเคมี ทำให้ผลไม้ดิบสุ กและมีคุณภาพเหมาะสมกับการนำ
มารับประทาน โดยผลไม้ที่สุกนั้นจะมีสี กลิ่น รสชาติ และเนื้อผลที่น่ารับประทาน ดังนั้นการบ่มผลไม้จึง
เป็ นการกระตุน้ การสุ กของผลไม้ดิบให้เกิดได้เร็ วขึ้น วิธีที่เกษตรกรส่ วนใหญ่นิยมใช้ในการทำให้ผลไม้สุก
พร้อมกันในปริ มาณมาก คือ การบ่มผลไม้โดยใช้สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายฮอร์โมนพืชในกลุ่มเอทิลีน
(ethylene) ซึ่ งสารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายเอทิลีนที่นิยมใช้ทวั่ ไป คือ ถ่านแก๊ส (calcium carbide) หรื อสาร
เคมีที่มีชื่อว่า เอทิฟอน (ethephon) วิธีการบ่มผลไม้ดว้ ยสารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายเอทิลีน 1. การบ่มผล
ไม้ดว้ ยถ่านแก๊ส (calcium carbide หรื อ CaC2 ) เป็ นวิธีที่เกษตรกรและพ่อค้าแม่คา้ นิยมใช้ เพราะสามารถหา
ซื้ อและใช้งานได้ง่าย ถ่านแก๊สมีลกั ษณะเป็ นของแข็งคล้ายกับก้อนหิ น สามารถทุบให้แตกเป็ นก้อนขนาด
เล็กได้ง่าย ถ่านแก๊สจะทำปฏิกิริยากับไอน้ำในบรรยากาศ ทำให้เกิดแก๊สอะเซทิลีน (acetylene หรื อ C2H2)
ดังสมการ

การออกฤทธิ์ ทางสรี รวิทยา

1. การตอบสนองต่อภาวะน้ำท่วมขัง พืชที่ถูกน้ำท่วมจะสังเคราะห์เอทิลีนได้มาก ทำให้พืชเกิดการ


เปลี่ยนแปลงคือ ใบเหลือง เหี่ยว หุบลู่ลง แล้วหลุดร่ วง
2. การยับยั้งความยาวของราก ผลของเอทิลีนต่อรากจะแตกต่างกันไปในพืชแต่ละชนิด พืชที่เจริ ญใน
ดินที่ระบายอากาศได้ดี จะผลิตเอทิลีนจำนวนน้อย และจะแสดงผลการอย่างชัดเจนเมื่อได้รับเอทิลีน
จากภายนอก ส่ วนพืชที่เจริ ญในพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น ข้าว รากพืชจะผลิตเอทิลีนในปริ มาณที่สูงกว่า และ
ทนต่อการได้รับเอทิลีนจากภายนอกน้อยกว่า
3. การยืดขยายความยาวของลำต้น เอทิลีนยับยั้งการยืดยาวของลำต้น ทำให้อว้ นหนาขึ้น พบมากในพืช
ใบเลี้ยงคู่ ส่ วนยอดของลำต้นจะโค้งงอเป็ นตะขอ 
4. ผลต่อการเจริ ญของกิ่งและใบ เอทิลีนกดการเจริ ญของกิ่งและใบ โดยเฉพาะบริ เวณปล้อง เอทิลีนมี
ส่ วนในการกระตุน้ การเกิดของใบ แต่เมื่อเกิดใบขึ้นแล้วจะยับยั้งการแผ่ขยายของใบ (Dugardeyn,
and Van Der Straeten, 2008)
5. ผลต่อการออกดอก เอทิลีนชักนำการออกดอกของมะม่วงและพืชวงศ์สบั ปะรดในขณะที่ยบั ยั้งการ
ออกดอกของพืชชนิดอื่นๆ ในพืชวงศ์แตง เอทิลีนปริ มาณสู งส่ งเสริ มการเจริ ญของดอกเพศเมีย
6. ทำให้กลีบดอกร่ วงหลังจากการปฏิสนธิ โดยการถ่ายละอองเกสรทำให้มีการสังเคราะห์เอทิลีนสู งขึ้น
ซึ่ งเป็ นผลจากการปล่อยออกซินในขณะละอองเรณูงอก ทำให้มีการปล่อยเอทิลีนมากขึ้น
7. ชักนำให้เกิดขนรากมากขึ้นด้วย 
8. เร่ งให้เกิดการสุ กในแอปเปิ ล กล้วย มะม่วง แคนตาลูบและมะเขือเทศ โดยจะเพิม่ การผลิตเอทิลีนใน
ระยะที่แก่เต็มที่แต่ยงั เป็ นสี เขียวอยู่ การเพิ่มขึ้นของเอทิลีนทำให้มีอตั ราการหายใจเพิ่มขึ้น คลอโร
ฟิ ลล์สลายตัว การสร้างสารสี รส และกลิ่น การอ่อนตัวลงของเนื้ อเยือ่ และเตรี ยมพร้อมสำหรับการ
หลุดร่ วง 
9. เอทิลีนถูกผลิตมากขึ้นเมื่อพืชติดเชื้อ เป็ นไปได้วา่ เอทิลีนยับยั้งการกระจายตัวของเชื้อโรคโดย
กระตุน้ ให้ชิ้นส่ วนนั้นของพืชหลุดร่ วงไป

บทที่ 3
ขั้นตอนการทดลอง

วัสดุอุปกรณ์ 
1. ตะกร้า 6 ตะกร้า
2. มะม่วงแก้วดิบ 1 กิโลกรัม 
3. พริ กหยวก 500 กรัม 
4. ใบพริ กชี้ฟ้า 500 กรัม 
5. ใบกะเพรา  500 กรัม 

ขั้นตอนการทดลอง  
1.การเตรี ยมภาชนะที่ใช้บ่ม โดยการใช้ตะกร้าสี่ เหลี่ยม กรุ ตะกร้าด้วยกระดาษหนังสื อพิมพ์ 
หนา 2 แผ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยให้กระดาษหนังสื อพิมพ์ครึ่ งแผ่นพับอยูด่ า้ นในตะกร้า       
 2. นํามะม่วงแก้ว ที่ผา่ นการทดสอบความแก่มาคัดเลือกไว้ท้ งั หมด 2 กลุ่ม 
กลุ่มละ 1 ลูก นํามะม่วงแก้วใส่ ในตะกร้าที่ใช้บ่มจํานวน 2 ตะกร้า  
ตะกร้าชุดที่ 1 นําใบพริ กชี้ฟ้า 0.5 กก. ใส่ ในตะกร้า ปิ ดตะกร้าให้สนิทนําไปไว้ที่บริ เวณเดียวกัน เป็ นเวลา 2 วัน 
ตะกร้าชุดที่ 2 นําใบกะเพรา 0.5 กก. ใส่ ในตะกร้า ปิ ดตะกร้าให้สนิทนําไปไว้ที่บริ เวณเดียวกัน เป็ นเวลา 2 วัน  
3.นําพริ กหยวก เปลือกสี เขียว มาคัดเลือกไว้ท้ งั หมด 2 กลุ่ม  กลุ่มละ 2 ผล 
นําผลไม้ท้ งั  2 กลุ่มที่เตรี ยมไว้มาใส่ ตะกร้าที่ใช้สาํ หรับบ่มจํานวน 2 ตะกร้า  
ตะกร้าชุดที่ 1 นําใบพริ กชี้ฟ้า 0.5 กก. ใส่ ในตะกร้า ปิ ดตะกร้าให้สนิทนําไปไว้ที่บริ เวณเดียวกัน เป็ นเวลา 4 วัน  
ตะกร้าชุดที่ 1 นําใบพริ กชี้ฟ้า 0.5 กก. ใส่ ในตะกร้า ปิ ดตะกร้าให้สนิทนําไปไว้ที่บริ เวณเดียวกัน เป็ นเวลา 4 วัน 
3. เปิ ดตะกร้าแต่ละใบ สังเกตการสุ กของผลไม้แต่ละชนิด ทุก 2 วัน บันทึกผล 

บทที่ 4
ผลการทดลอง
จากการศึกษาของคณะผูจ้ ดั ทำ
จำนวนวันที่บ่ม
ชนิดของ ก่อนบ่ม 2 วัน 4 วัน
ใบที่ใช้บ่มผลไม้
ชนิดของผลไม้ มะม่วงแก้ว พริ กหยวก มะม่วงแก้ว พริ กหยวก มะม่วงแก้ว พริ กหยวก
ผิวมีเขียวอ่อน
ใบพริ ก ผิวสี เขียวเข้ม เปลือกสี เขียวเข้ม เริ่ มมีส่วนสี เหลือง เปลือกสี เขียวเข้ม ผิวสี เหลือง เปลือกสี เขียว

ใบกะเพรา ผิวสี เขียวเข้ม เปลือกสี เขียวเข้ม ผิวสี เขียวเข้ม เปลือกสี เขียวเข้ม ผิวสี เขียวอ่อน เปลือกสี เขียว

ไม่ได้บ่ม ผิวสี เขียวเข้ม เปลือกสี เขียวเข้ม ผิวสี เขียวเข้ม เปลือกสี เขียวเข้ม ผิวสี เขียวอ่อน เปลือกสี เขียว

รู ปที่ 1 มะมว่ งดิบ รู ปที่ 2 มะมว่ งดิบที่ผา่ นไป 2 วัน รู ปที่ 3 มะมว่ งดิบที่ผา่ นไป 4 วัน
รู ปที่ 4 พริ กหยวกดิบ รู ปที่ 5 พริ กหยวกที่ผา่ นไป 2 วัน รู ปที่ 6 พริ กหยวกที่ผา่ นไป 4 วัน

รู ปที่ 7 มะมว่ งกอ


่ นบม
่ ใบกะเพรา รู ปที่ 8 มะม ่ 9่บม
รู ปว่ ทีงที ่ มะม ว่ งที่บม วันที่ 2 วันที่ 4
่ ด้วยใบกะเพรา
ดว้ ยใบกะเพรา

รู ปที่ 12 บม
่ มะมว่ งด้วยใบพริ กวันที่ 4
รู ปที่ 10 บม
่ มะมว่ งดว้ ยใบพริ ก วันแรก รู ปที่ 11 บม
่ มะมว่ งดว้ ยใบพริ กวันที่ 2

ปทีบ่ 14
รู ปที่ รู15 ่ พริบกม
ม พริ กหยวกด
่ หยวกด ว้ ยใบ
ว้ ยใบกะเพรา
รู ปที่ 13 บม
่ พริ กหยวกด้วยใบกะเพรา กะเพรา วั น แรก ่
วันที่ ว4ั นที 2

รู ปที่ 16 บม
่ พริ กหยวกด้วยใบพริ ก วันแรก รู ปที่ 17 บม
่ พริ กหยวกด้วยใบพริ ก วันที่ 2 รู ปที่ 18 บม
่ พริ กหยวกด้วยใบพริ ก วันที่ 4

บทที่ 5
สรุ ปผล ประโยชน์ และข้อเสนอแนะ

สรุ ปผลการดำเนินงาน
จากผลการทดลองพบว่า ใบพริ กมีประสิ ทธิ ภาพในการบ่มมะม่วงแก้วมากกว่าพริ กหยวก และ การ
บ่มมะม่วงแก้วและพริ กหยวกด้วยใบกะเพราไม่ส่งผลต่อเวลาในการสุ กของผลไม้ ซึ่ งสรุ ปได้วา่ ใบพริ ก
สามารถใช้บ่มผลไม้แทนการใช้สารเคมีบ่มได้ แต่สามารถบ่มได้เฉพาะผลไม้บางชนิดที่มีอตั ราการหายใจ
เปลี่ยนแปลงตามอายุ (climacteric fruit) เช่น มะม่วงแก้ว เป็ นต้น แต่ผลไม้ที่มีอตั ราการหายใจไม่ได้
เปลี่ยนแปลงตามอายุ (non-climacteric fruit) เช่น พริ กหยวก การบ่มส่ งผลต่อการสุ กของผลไม้นอ้ ยมาก
จนถึงไม่มีผลเลย และการบ่มด้วยใบกระเพรามีผลต่อเวลาในการสุ กน้อยมากถึงไม่มีเลย เพราะ เวลาในการ
สุ กเหมือนการสุ กผลไม้ปกติ
ระยะเวลา-สถานที่ 
2-9 ธันวาคม   พ.ศ.2562  จัดทำรู ปเล่มรายงาน 
3-10  มกราคม  พ.ศ.2563  ลงมือทำการทดลอง 
13-20   มกราคม   พ.ศ.2563  สรุ ปผลการทดลอง 
 
งบประมาณ 
1.ใบกะเพรา 500 กรัม     20 บาท 
2.พริ กหยวก 2 ผล          15 บาท 
3.ใบพริ กชี้ฟ้า 500 กรัม   20 บาท 
4.มะม่วงแก้วดิบ 1 กก.    10 บาท 
 
เอกสารอ้างอิง

ภัณฑิลา อุดร.2557.การใช้สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายเอทิลีน.สถาบันการส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์


เเละเทคโนโลยี
พีรเดช ทองอำไพ.2557.ปัจจัยการบ่มผลไม้.กรุ งเทพ:คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิยาลัยเกษตรศาสตร์  
 
Amy M.Rocklin.2550.Record of Ethylene:Haward University  
 
ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์.2556.Ethylene: สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวะกรรมศาสตร์ สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง 
 
ดลมนัส กาเจ.2561.วิธีการบ่มผลไม้: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  
 
หนังสื อเรี ยนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2554. ส่ งเสริ มการ
สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิ การ.
 
สุ พจน์ ปิ่ นพงษ์.2538.การบ่มด้วยแคลเซียมคาร์ไบด์และเอทธี ลีน:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร
ภาควิชาพืชสวน.
 
ศุ๓ลักษณ์ ฮอกะวัด.2536.โรคผักตระกูลพริ กและมะเขือเทศ.ภาควิชาพืชวิทยา.คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น,ขอนแก่น
 

You might also like