You are on page 1of 11

โครงงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง การทำแผ่นฉนวนกันความร้อนจากใยมะพร้าว

โดย

1.นางสาวชมพูนุท อรรถชัยยะ เลขที่ 15 ม.5/6

2.นางสาวชวิศา เก้าเอีย
้ น เลขที่
16 ม.5/6

3.นางสาวฑิตฐิตา อินขัน เลขทื่


17 ม.5/6

4.นางสาวณัฏฐณิชา บัวมาก เลขที่


18 ม.5/6
5.นางสาวพัณณิตา สุวรรณคีรี เลขที่
19 ม.5/6

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว 30286 โครงงานวิทยาศาสตร์

ตามหลักสูตรห้องเรียนส่งเสริมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

ภาคเรียนที่ 1 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2565

โครงงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง การทำแผ่นฉนวนกันความร้อนจากใยมะพร้าว
โดย

1.นางสาวชมพูนุท อรรถชัยยะ เลขที่ 15 ม.5/6

2.นางสาวชวิศา เก้าเอีย
้ น เลขที่ 16 ม.5/6
3.นางสาวฑิตฐิตา อินขัน เลขทื่ 17 ม.5/6

4.นางสาวณัฏฐณิชา บัวมาก เลขที่ 18 ม.5/6

5.นางสาวพัณณิตา สุวรรณคีรี เลขที่ 19 ม.5/6

ครูที่ปรึกษา

ครูพาทิศ สุขลิม

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว 30286 โครงงานวิทยาศาสตร์

ตามหลักสูตรห้องเรียนส่งเสริมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

ภาคเรียนที่ 1 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2565

บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญภาพ
บทที่ 1

บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ

ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ตงั ้ อยู่ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ทำให้


ภูมิประเทศมีลักษณะเป็ นแบบร้อนชื้น และปั จจุบันนีส
้ ภาพอากาศใน
ประเทศไทยค่อนข้างสูงขึน
้ จึงมีการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ ามาคลายความ
ร้อนที่หลากหลาย และผูค
้ นมักจะเลือกดูเครื่องใช้ไฟฟ้ าคลายความร้อนที่
ประหยัดพลังงาน เช่น พัดลมประหยัดไฟเบอร์5 และเครื่องปรับอากาศ
ประหยัดไฟเบอร์5 เป็ นต้น แต่ถึงอย่างไร พลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ในปั จจุบันก็ยังมี
ค่าสูงอยู่

ดังนัน
้ จึงได้มีการเลือกใช้แผ่นฉนวนกันความร้อนแทนการเปิ ดเครื่องใช้
ไฟฟ้ าเป็ นเวลานานเพื่อลดค่าพลังงาน แผ่นฉนวนกันความร้อนมีคุณสมบัติ
ป้ องกันความร้อนที่ส่งผ่านเข้ามาในห้องๆหนึ่ง รวมถึงช่วยสะท้อนรังสีความ
ร้อนออกไปด้วย การติดตัง้ แผ่นฉนวนกันความร้อนจึงช่วยลดความร้อนได้
และช่วยลดการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้ าได้อีกด้วย โดยทั่วไปแผ่นฉนวนกัน
ความร้อนที่นิยมใช้อยู่ในปั จจุบันนี ้ ได้แก่ อลูมิเนียมฟอยล์(Aluminium
Foil) โมโพลียูริเทน(Polyurethane) ใยแก้ว(Microfiber) ใยหิน(Mineral
Wool) และแอร์บับเบิล
้ (Air Bubble) เป็ นต้น ซึ่งมีราคาที่ค่อนข้างสูง เพื่อ
เป็ นการประหยัดค่าใช้จ่ายและต้องการเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุธรรมชาติจึงได้
ศึกษาวัสดุที่นำมาทำแผ่นฉนวนกันความร้อนได้ เช่น แกลบ ซังข้าวโพด ผัก
ตบชวา และใยมะพร้าว

ใยมะพร้าว เป็ นวัสดุธรรมชาติที่หาได้ง่ายในพื้นที่ที่มีการปลูกต้น


มะพร้าว มะพร้าวเป็ นพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งเส้นใบแข็งที่ได้มาจากกาบ
มะพร้าว เรียกว่า ใยมะพร้าว ลักษณะทางธรรมชาติของใยมะพร้าวมี
ลักษณะ หยุ่นเหนียว แข็งแรง ทนทาน มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน อุ้มน้ำได้
ดี เก็บความชื้นไว้ได้นาน นอกจากนีย
้ ังมีคณ
ุ สมบัติยึดเกาะขึน
้ รูปได้ดีอีกด้วย
และโดยทั่วไปใยมะพร้าวเป็ นวัสดุธรรมชาติที่นำมาใช้ในเชิงอุตสาหกรรม จึง
มีผลิตภัณฑ์จากใยมะพร้าว เช่น ที่นอนเพื่อสุขภาพ แผ่นฉนวนในการดูดซับ
เสียง วัสดุป้องกันการสะเทือน และไม้กวาด เป็ นต้น

ดังนัน
้ ทางคณะกลุ่มผู้จัดทำจึงสนใจที่จะทำแผ่นฉนวนกันความร้อน
จากใยมะพร้าว ซึ่งใยมะพร้าว มีคุณสมบัติตามที่คณะผู้จัดทำเล็งเห็นว่า
สามารถนำมาผลิตเป็ นแผ่นฉนวนกันความร้อนได้ นอกจากนี ้ ใยมะพร้าวยัง
เป็ นวัสดุธรรมชาติที่สมาชิกในกลุ่มผู้จัดทำมีอยู่แล้วในพื้นที่

1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อศึกษาวิธีการทำแผ่นฉนวนกันความร้อนจากเส้นใยมะพร้าว

1.2.2 เพื่อศึกษาคุณภาพการใช้งานได้จริงของแผ่นฉนวนกันความร้อน
จากเส้นใยมะพร้าว

1.2.3 เพื่อลดต้นทุนในการทำแผ่นฉนวนกันความร้อน

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

โครงงานนีเ้ ป็ นการทำแผ่นฉนวนกันความร้อนจากเส้นใยมะพร้าว โดยจะ


ใช้เส้นใยมะพร้าวจากในท้องถิ่นมาผสมกับกาวในอัตราส่วนที่เหมาะสม แล้ว
นำมาขึน
้ รูปเป็ นแผ่น เพื่อนำไปศึกษาคุณสมบัติการกันความร้อน
1.4 สมมติฐาน
เส้นใยมะพร้าวจากธรรมชาติสามารถนำมาผลิตเป็ นฉนวนกันความร้อน
ได้

1.5 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น เส้นใยของพร้าว
ตัวแปรตาม คุณภาพในการกันความร้อน
ตัวแปรควบคุม ขนาดความกว้าง ความหนาของแผ่นฉนวนกันความร้อน

You might also like