You are on page 1of 38

ฉลาดเลือก....

ฉลาดใช้
.......ภาชนะพลาสติก
ให้ปลอดภัย
โดย
อุมา บริบร
ู ณ์
สาน ักคุณภาพและความปลอดภ ัยอาหาร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/
BQSF/index.htm

BQSF
หัวข้อนาเสนอ
1. ภาชนะบรรจุอาหารกับความ
ปลอดภัยของอาหาร
2. สารเคมีที่เกีย
่ วข้อง
3. การควบคุม
4. การใช้ภาชนะพลาสติก

2
ความปลอดภัยด้านอาหาร
(ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551)

การจัดการให้อาหาร และสินค้าเกษตรทีน่ ามาเป็นอาหารบริโภค


สาหรับมนุษย์มค
ี วามปลอดภัยโดยไม่มล
ี ก
ั ษณะเป็นอาหารไม่บริสท ุ ธิ์
ตามกฎหมายว่าด้วยอาหารและกฎหมายอืน ่ ทีเ่ กีย
่ วข้อง และต้องไม่มี
ลักษณะดังต่อไปนี้
⋆ มีจุลน
ิ ทรียก
์ อ
่ โรค
⋆ มีวัตถุเจือปนในปริมาณทีอ
่ าจเป็นอันตราย
⋆ ผลิต ปรุงประกอบ บรรจุ ขนส่ง เก็บรักษาไว้ไม่ถก
ู สุขลักษณะ
⋆ ผลิตจากสัตว์หรือผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นโรคทีอ
่ าจติดต่อถึงคนได้
⋆ ผลิต ปรุงประกอบ จากวัตถุดบ ิ (พืชหรือสัตว์) ที่มีสารเคมีอน
ั ตราย
ในปริมาณทีเ่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพ
⋆ มีภาชนะบรรจุทป
ี่ ระกอบด้วยวัตถุทอ
ี่ าจเป็นอันตราย
3
หน้าทีข
่ องภาชนะบรรจุอาหาร

1. บรรจุ หุม
้ ห่อ และรวบรวม อาหาร

2. เก็บร ักษา และถนอมอาหาร ไม่ให้เกิดการ สูญเสย
ถูกทาลาย ป้องก ันการปนเปื้ อนจากสงิ่ ต่าง ๆ
3. อานวยความสะดวกในการใชง้ าน
ื่ สารข้อมูล สูผ
4. สอ ่ บ
ู ้ ริโภค
5. ดึงดูดใจผูบ
้ ริโภค แสดงเอกล ักษณ์ของอาหาร
ระด ับคุณภาพ

4
้ ลิต
บรรจุภ ัณฑ์อาหารแบ่งตามว ัสดุทใี่ ชผ

5 5
ประเภทและคุณสมบ ัติพลาสติก
้ รรจุอาหาร แบ่งตามคุณสมบ ัติได้ 2 ประเภท
พลาสติกทีใ่ ชบ

พลาสติกบรรจุอาหาร

Thermoplastics (เทอร์โมพลาสติก)
(PE,PP,PS,PVC,PA,PET,etc.)

Thermoset plastics (เทอร์โมเซ็ต


พลาสติก (MF,UF,PF,Epoxy,etc.)

6
้ มผ
พลาสติกทีใ่ ชส ั ัสก ับอาหาร
มีประมาณ 30 ชนิดด ังนี้
Polyethylene(PE) Polypropylene(PP)
Polymethyl pentene Polybutene-1
Butadiene resines(BDR ) Ethylene-tetracyclododecen copolymer
Polystyrene(PS) San resins
ABS resins Polyphenylene ether
Polycrylonitrile Fluorine resins(FR)
Polymethacryl styrene(PMS) Methacryl resins(PMMA)
Nylon resin(PA) Polyethyline terephthalate(PET)
Polycarbonate(PC) Polyvinyl alcohol(PVA)
Polyacetal (POM) Polbuthyline terephthalate(PBT)
Polyaryl sulfone (PASF) Polyacrylate(PAR)
Polyester of hydroxybenzoic acid (HBP Polyether imide(PEI)
Polycyclohexylene dimethylene terephthalate(OCT)
Polyethylinenaphthalate(PEN) Polyether carbonate(PPC)
Polyvinylchloride(PVC) Polyvinylidene chloride(PVDC)
7
7
้ ทางของภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
เสน

สารเริม
่ ต้น,ว ัตถุดบ
ิ (Starting Substances)

ขบวนการผลิต(Processing)

ผลิตภ ัณฑ์สาเร็จ(Finished Products)

ขยะบรรจุภ ัณฑ์

8
สารเคมีทใี่ ชใ้ นการสงเคราะห์
ั พลาสติก

พลาสติกเป็นโพลีเมอร์ทม ้ ด้วย
ี่ โี มเลกุลประกอบก ันขึน
หน่วยซา้ ๆ ทีเ่ รียกว่าโมโนเมอร์จานวนมากซงึ่ ได้จาก
ขบวนการการกลน ่ ั นา้ ม ันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และถ่าน
หิน ในการผลิตพลาสติกจะต้องประกอบด้วย
1. สารตงต้
ั้ นหรือโมโนเมอร์(monomer)
2. สารชว ั
่ ยในขบวนการสงเคราะห์ (eccerelator,
initiator, catalyst, inhibitor)
3. สารเติมแต่ง (additives)

9
9
สารตงต้
ั้ นหรือโมโนเมอร์

โมโนเมอร์เป็นสารโมเลกุลเล็ กสว ่ นใหญ่มา


จากผลพลอยได้ของการกลน ่ ั นา้ ม ันดิบ ก๊าซ
ธรรมชาติ และถ่านหิน โมโนเมอร์แต่ละชนิด

สามารถนาไปสงเคราะห์ ให้ได้โพลีเมอร์(สาร
โมเลกุลใหญ่)ทีแ ่ ตกต่างก ันออกไปได้หลาย
ชนิด สารเคมีทอ ี่ นุญาตให้ใชเ้ พือ ่ ผลิต
พลาสติกบรรจุอาหารมีมากกว่า 1000 ชนิด

10
10
สารเติมแต่ง
(Additives)
 Lubricants
 Plasticizers  Hardening agents
 stabilisers  Impact modifiers
 Antioxidants  Optical brighteners
 Flame-retardants  Preservatives
 Antiskinning agents  Protective colloids
 Antistatic agents  Reinforcements
 Dryers  Thickeners
 Fillers  Colorants

11
การตกค้างของโมโนเมอร์และ
สารเติมแต่งในพลาสติก

1. การเกิดปฏิกริ ยิ าเป็นโพลิเมอร์ไม่สมบูรณ์
2. เกิดสมดุลย์ของโมโนเมอร์และโพลิเมอร์ในการทา
ปฏิกริ ย
ิ าทาให้การเกิดปฏิกริ ย ิ้ สุด สารตงต้
ิ าสน ั้ นจึง
ตกค้าง
3. การย่อยสลายของโพลิเมอร์โดยต ัวการทางด้าน
พล ังงานและทางด้านเคมี
4. การนาโพลิเมอร์ทผ ่ นความร้อนสูงมากมาใชใ้ หม่
ี่ า
โครงสร้างของโพลิเมอร์แตก

12
การหลุดออกมาของสารจากพลาสติก
1. การระเหย ( Volatile) แก้ส
2 การไหลเลือ ่ นออกมาเอง (Exude)
สารเคมีโมเลกุลเล็ก กระจายต ัวอย่างอิสระ
3. การแพร่กระจายผ่านของเหลว (Migration )
เมือ
่ มีการกระตุน ั ัสก ับอาหาร
้ โดยการสมผ

13
การเคลือ
่ นย้ายของสารเคมี ระหว่าง
พลาสติก /สงิ่ แวดล้อม /อาหาร
Environment packaging Food

Permeation
Permeation
Migration
Absorption
14
ความปลอดภ ัยของภาชนะบรรจุอาหาร

ภาชนะบรรจุอาหาร จะต้อง
่ สารเคมีลงสูอ
-ไม่สง ่ าหารในปริมาณทีอ
่ าจ
เป็นอ ันตรายต่อผูบ
้ ริโภค
- ไม่ทาให้เกิดการเปลีย
่ นแปลงของ
องค์ประกอบในอาหาร
- ไม่ทาให้คณ ั ัส
ุ ภาพด้านประสาทสมผ
ื่ มเสย
ของอาหารเสอ ี

15
ปัจจ ัยทีท ่ าหาร
่ าให้สารเคมีออกมาจากภาชนะลงสูอ

้ าภาชนะบรรจุ
1. คุณสมบ ัติของพลาสติกทีใ่ ชท
(ความทนอุณหภูม,ิ ความเฉือ
่ ยในการทาปฏิกริ ย
ิ า)
2. ความสามารถในการเคลือ ่ นย้ายของสารเคมีออกมา
จากพลาสติกไปสูอ่ าหาร (Migration ของสารเริม
่ ต้นที่
ตกค้าง และสารเติมแต่ง)

16
การควบคุมความเป็นพิษหรืออ ันตราย
1. สว่ นประกอบต่างๆ ควบคุมในขบวนการผลิต โดยกาหนด
GMPของโรงงานผูผ ิ ,เม็ดพลาสติก,
้ ลิตสารเคมี, เรซน
กาหนดให้ใชส ้ ารเคมี หรือว ัสดุ ตามทีม
่ ก
ี ารอนุญาตให้
ใช ้ และกาหนดคุณสมบ ัติของภาชนะบรรจุอาหาร
2. สารเคมีทอ
ี่ าจจะเคลือ
่ นย้ายออกมา ควบคุมโดย
การตรวจสอบผลิตภ ัณฑ์ (Migration Test)
ก่อนอนุญาตให้วางจาหน่าย

17
การควบคุม
ตามกฎระเบียบทีเ่ กีย
่ วข้อง

18
ข้อกาหนดและแนวทางในการปฏิบ ัติ
ของประเทศไทย
้ ังค ับ
กฎหมายทีใ่ ชบ
- ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข 3 ฉบ ับ
- มาตรฐาน มอก. บางเรือ
่ งทีม ี ารบ ังค ับใช ้ และมีมาตรฐานทีไ่ ม่บ ังค ับ
่ ก
- ประกาศสาน ักงานคณะกรรมการคุม ้ ครองผูบ ้ ริโภค
ขอบข่าย
- กาหนดมาตรฐานเฉพาะ ของผลิตภ ัณฑ์สาเร็ จ
- ไม่มข
ี อ
้ กาหนดของสารตงต้
ั้ น
ความครอบคลุม
ผูผ
้ ลิต ผูจ
้ าหน่าย ผูน
้ าเข้า และผูผ ้ น
้ ลิตอาหารทีใ่ ชส ิ ค้านน
ั้

19
ฉลาดใช้ ภาชนะพลาสติก ให้ ปลอดภัย

20
้ รรจุอาหาร
พลาสติกทีใ่ ชบ
ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิด เพือ ่ ด ัดแปลงให้มค
ี ณ ุ สมบ ัติ
เหมาะสมก ับการใชง้ าน สารเคมีอาจแพร่ลงอาหาร ขึน ้ ก ับหลาย
ปัจจ ัย
ใชง้ านไม่ถก
ู ต้อง ไม่ตรงคุณสมบ ัติพลาสติก

ปัจจ ัยที่ ้ ด
ใชผ ิ ว ัตถุประสงค์ทผ
ี่ ผ ้
ู ้ ลิตทาขึน
สารเคมีแพร่
ลงอาหาร ้ น
ใชส ิ ค้าทีไ่ ม่มค
ี ณ
ุ ภาพ ไม่มก
ี ารตรวจสอบร ับรอง

่ ไม่ระว ังในการล้าง มีรอยขีดข่วน


ดูแลร ักษาไม่ด ี เชน

3321
ผลกระทบต่อสุขภาพในการใช ้
ภาชนะพลาสติกทีไ่ ม่ถก
ู ต้อง/ไม่ได้
มาตรฐาน

สารเคมีปนเปื้ อนลงอาหาร ทา
ให้รา่ งกายได้ร ับสารเคมี
ผลกระทบต่อ อ ันตรายได้
สุขภาพ
เกิดการสะสมในร่างกายอาจ
มีพษิ เป็นสาเหตุของความ
ผิดปกติของระบบต่างๆใน
ร่างกาย

22
ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อมในการ
้ าชนะพลาสติก
ใชภ

เกิดขยะพลาสติกจานวนมาก
เนือ
่ งจากย่อยสลายนาน
ผลกระทบต่อ
สงิ่ แวดล้อม
เกิดมลพิษทางอากาศ หาก
เผาทาลาย ทาให้เกิดก๊าซ
เรือนกระจก

การฝังกลบทาให้มสี ารเคมีลง
่ งิ่ แวดล้อม
สูส

23
้ าชนะพลาสติกแต่ละ
การใชภ
ประเภทให้ปลอดภ ัย

24
ถุงพลาสติก
แบ่งได้ 2 ประเภท

1. ถุงร้อน
ทาด้วยพลาสติก 2 ชนิด คือ พอลิเอทิลน
ี ความหนาแน่นสูง (HDPE) มี
ล ักษณะขุน
่ กระด้าง และพอลิโพรพิลน
ี (PP) มีล ักษณะ ใส บาง

2. ถุงเย็น
ทาด้วยพอลิเอทีลน
ี ความหนาแน่นตา่ (LLDPE) มีล ักษณะใส นิม

25
คาแนะนาในการใช ้

ื้ ถุงทีม
ควรซอ ี ลาก บอกชนิด ข้อแนะนาการใชง้ าน
่ ฉ

ใชใ้ ห้ถก ่ ไม่นาถุงเย็นบรรจุอาหารร้อน


ู ประเภท เชน

ไม่ควรใชใ้ สอ
่ าหารเพือ
่ อุน
่ ให้รอ
้ น หรือนาเข้า
ไมโครเวฟ
่ าหารทอดทีร่ อ
ไม่ควรใสอ ้ นจ ัด ควรพ ักให้อณ
ุ ภูมล
ิ ดลง
ก่อน

26
ฟิ ล์มยืดห่อหุม
้ อาหาร
ทาด้วยพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) พอลิไวนิลดีนคลอไรด์ (PVDC)
และพอลิเอทิลนี ความหนาแน่นตา ่ แบบสายตรง (LLDPE) มีสารเสริม
้ ฟิ ล์มเพือ
พลาสติกในเนือ ่ ให้ยด
ื ได้

27
คาแนะนาในการใช ้

้ ิ ล์มทีม
ใชฟ ่ งหมายมาตรฐาน มอก.
่ เี ครือ

้ ับเตาอบ
อย่าให้ฟิล์มละลายลงอาหาร โดยการใชก
หรือปิ ดภาชนะแล้วนาไปหุงต้ม

หากใชก ้ ับเตาไมโครเวฟ ควรใชฟ ้ ิ ล์มเฉพาะ และควรให้


้ ไปไม่นอ
ฟิ ล์มอยูเ่ หนืออาหารขึน ้ ยกว่า 1 นิว้

้ ับอาหารไขม ันสูงหรืออาหารทีม
หากต้องใชก ่ ี
แอลกอฮอล์ ควรเลือกฟิ ล์มทีผ ู ้ ลิตยืนย ันว่าใชไ้ ด้
่ ผ
เท่านน
ั้

28
้ ับไมโครเวฟ
ภาชนะทีใ่ ชก
ต้องไม่ตอบสนองคลืน ่ ไมโครเวฟและทนความร้อนสูงได้ อาหารทีม ่ ี
ไขม ันอาจจะร้อนได้สง ู มากกว่า 100 องศาเซลเซย ี ส ทาให้ภาชนะ
ได้ร ับความร้อนสูง อาจทาให้ละลายหรือเปลีย่ นรูปได้

29
คาแนะนาในการใช ้

้ าชนะทีร่ ะบุวา่ ใชก


ควรใชภ ้ ับไมโครเวฟได้

ควรใชภ ้ าชนะสาหร ับไมโครเวฟ ชนิดทีท ่ นความร้อนสูง



ได้ โดยสงเกตุ ุ หภูมใิ ชง้ านทีแ
อณ ่ จ้งบนฉลาก

่ การใชง้ านครงเดี
ภาชนะเพือ ั้ ยว
ไม่ควรนามาใชซ้ า้

ควรนาอาหารออกจากภาชนะทีบ ่ รรจุมาจากร้านค้า
ใสใ่ นภาชนสาหร ับเตาไมโครเวฟ ก่อนอุน
่ ให้รอ
้ น

30
โฟมบรรจุอาหาร
ทาด้วยพอลิสไตรีน (PS) ผ่านกระบวนการอ ัดอากาศเข้าไปให้มรี ู
้ โฟมและมีนา้ หน ักเบา มีสารสไตรีน เป็นสารก่อมะเร็ง
ฟองในเนือ
้ โฟม และอาจแพร่ออกมาปนก ับอาหาร
ตกค้างในเนือ

31
คาแนะนาในการใช ้

้ รรจุอาหารอุณหภูมไิ ม่เกิน 80 องศาเซลเซย


ใชบ ี ส
ั้ และไม่ควรใสอ
ระยะเวลาสนๆ ่ าหารทอดร้อนๆท ันที

ไม่ควรใชเ้ ก็บอาหารทีม
่ ไี ขม ันหรือแอลกอฮอล์ไว้นาน

้ น
ไม่ควรใชอ ุ่ หรือปรุงอาหารในเตาไมโครเวฟ

้ า้ อีก เพราะอาจมีการปนเปื้ อนของ


ไม่ควรนามาใชซ
ื้ โรค
เชอ

32
32
ภาชนะเมลามีน
ทามาจากเมลามีนและฟอร์มาลดีไฮด์ โดยนาเรซน ิ มาขึน
้ รูปด้วย
ความร้อนภายใต้ความด ันสูง มีการตกแต่งลวดลายและเคลือบเงา
มีภาชนะทีท่ าจากยูเรีย-ฟอร์มาลดีไฮด์ จะทนความร้อนน้อยกว่า
การใชง้ านไม่ถก
ู ต้องอาจทาให้มฟี อร์มาลดีไฮด์ และสารอืน่ ละลายลง
อาหาร

33
คาแนะนาในการใช ้

ใชเ้ ฉพาะเมลามีนทีม
่ ม
ี าตรฐาน มอก.
ผ่านการตรวจสอบ

ไม่ใชก้ ับเตาไมโครเวฟและหลีกเลีย ั ัสของร้อน


่ งการสมผ
ทีอ
่ ณ
ุ หภูมส ิ ง ี ส หรือนา้ เดือดเป็น
ู กว่า 95 องศาเซลเซย
เวลานาน

หลีกเลีย ้ วในภาชนะเป็น
่ งการเก็บอาหารรสเปรีย
เวลานาน

ไม่ควรทาความสะอาดโดยการข ัดถูแรงๆ เพราะอาจ


เกิดรอยขีดข่วน เป็นทีส ื้ โรค
่ ะสมเชอ

34
้ า้
การนาภาชนะพลาสติกมาใชซ

ควรใช้ซาเฉพาะสิ
้ ง่ ของทีเ่ หมือนการบรรจุในครัง้ แรก

ก่อนนามาใช้ซาควรล้
้ างและผึง่ ให้แห้ง

หากเป็นขวดน้าดืม
่ ควรสังเกตการเปลีย
่ นแปลงของขวด หากมีการ
เปลี่ยนแปลง เช่น สี ความขุน
่ รอยขีดข่วน ไม่ควรนากลับมาใช้

ขวดน้าดืม
่ ที่ทงิ้ ไว้ที่อณ
ุ หภูมิสงู มากเป็นเวลานาน เช่น ในรถยนต์
แล้วมีกลิน
่ แปลกปลอม ไม่ควรดืม

35
สรุป

ปั จจัยทีเ่ กีย
่ วกับความปลอดภัยของภาชนะบรรจุอาหาร
1. การควบคุมในขบวนการผลิต โดย คัดเลือก และ
ควบคุมวัสดุทใี่ ช ้ อิงหลักการประเมินการได ้รับสมั ผัส
เปรียบเทียบกับ ค่าความปลอดภัย
2. การตรวจสอบการMigrationของสารจากผลิตภัณฑ์
โดยอิงกฎระเบียบทีเ่ กีย ่ วข ้องกับบรรจุภัณฑ์
3. การใชงานอย่ ้ างถูกวิธ ี

36
การควบคุมขยะบรรจุภ ัณฑ์
1 Reuse, Recovery
้ า้ หรือการนาชน
คือการนากล ับมาใชซ ิ้ สว่ น
บางอย่างกล ับมาใชซ้ า้
2 Recycle คือ การแปรเปลีย
่ นมาผลิตใหม่
3 Reduce ลดปริมาณการใชว้ ัตถุดบ
ิ ในการ
ผลิต
4. ใชว้ ัตถุทย
ี่ อ
่ ยสลายได้งา่ ย

37
Thank you for your attention

You might also like