You are on page 1of 2

ตารางแสดงคุณสมบัติและปริมาณธาตุอาหาร การเลือกซื้อปุ๋ยอินทรีย์

ในปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ ปั จ จุ บั น มี ก ารผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์


ชนิดปุย๋ pH
N
ปริมาณธาตุอาหาร (%)
P K Ca Mg S
ในท้ อ งตลาดให้ กั บ เกษตรกรได้ เ ลื อ กซื้ อ น� ำ ไปใช้ ม าก
หลากหลายชนิด จึงแนะน�ำให้ผู้ซื้อควรค�ำนึงถึงราคาและ
คุณภาพของปุ๋ยโดยพิจารณาจากมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ของ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์
ในไร่อ้อย
ปุย๋ หมักชานอ้อย 4.68 0.33 0.05 0.41 0.15 0.04 - กรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2551 ซึ่งก�ำหนดว่า ปุ๋ยอินทรีย์
กากตะกอนหม้อกรอง 8.50 1.66 0.55 0.24 - - - ที่ ผ ลิ ต ได้ แ ละจะจ� ำ หน่ า ยต้ อ งมี อิ น ทรี ย วั ต ถุ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า
มูลสุกร 8.44 2.34 1.49 1.36 2.92 0.57 -
ร้อยละ 20 ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) 5.5 – 8.5 อัตราส่วน
มูลโค 8.70 1.73 0.49 0.30 0.55 0.22 0.05
คาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N) ไม่เกิน 20/1 มีคา่ การน�ำไฟฟ้า
มูลไก่ไข่ 7.50 2.28 5.91 3.02 12.10 1.07 0.67
มูลไก่อดั เม็ด 8.00 2.84 7.63 0.78 2.60 0.34 -
น้อยกว่า 10 เดซิซีเมนต่อเมตร มีค่าไนโตรเจนไม่น้อยกว่า
มูลเป็ด 8.20 1.04 1.98 0.56 - - -
ร้อยละ 1 มีค่าฟอสฟอรัส (P2O5) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5
มูลค้างคาว 7.50 3.32 13.95 0.29 18.01 0.48 0.28
และมีคา่ โพแทสเซียม (K2O) ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 0.5 การย่อย
ปอเทือง - 1.98 0.30 2.41 - - - สลายสลายทีส่ มบูรณ์มากกว่าร้อยละ 80 มีปริมาณความชืน้
ถัว่ เขียว - 2.74 0.66 3.46 - - - และสิ่งที่ระเหยได้ไม่เกินร้อยละ 30 มีปริมาณเกลือไม่เกิน
ถัว่ พุม่ - 2.68 0.39 2.46 - - - ร้อยละ 1 นอกจากนีค้ วรตรวจสอบฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์ของ
กากตะกอนน�ำ้ เสีย 7.74 1.27 0.30 0.29 2.15 0.17 - ปุ๋ยอินทรีย์ให้มีมาตรฐานดังนี้
น�ำ้ ทิง้ โรงงานผงชูรส 4.49 5.17 0.77 0.89 0.04 0.13 - มาตรฐานฉลากและบรรจุภัณฑ์ของปุ๋ยอินทรีย์
ส่าเหล้า (วีแนส) 5.25 0.23 0.06 0.44 0.12 0.05 - ซึ่งต้องระบุรายละเอียดบนภาชนะบรรจุ ดังนี้
1. ชื่อการค้าและเครื่องหมายการค้า
2. ชนิดของผลิตภัณฑ์
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับอ้อย 3. ปริมาณบรรจุเป็นน�้ำหนักสุทธิ (ในระบบเมตริก)
ปัจจุบันนี้มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ใส่ในไร่อ้อยอย่าง 4. ชื่อผู้ผลิตและสถานที่ผลิต
แพร่หลาย ปริมาณการใช้ขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่และสภาพ 5. ระบุวัสดุที่ใช้ผลิตและอัตราส่วนที่ใช้
ของดิน ส�ำหรับปุ๋ยอินทรีย์ที่นิยมใช้มีทั้งปุ๋ยอินทรีย์แบบ 6. ระบุวันที่ผลิตและวันหมดอายุ
ปัน้ เม็ด ซึง่ ได้มาจากน�ำวัสดุตา่ งๆ มาผสมคลุกเคล้าและหมัก 7. ระบุวิธีการใช้ การเก็บรักษา และข้อควรระวัง
จนได้ปุ๋ยหมักแล้วจึงน�ำมาปั้นเม็ด ปุ๋ยมูลสัตว์ที่ใช้ที่พบเห็น เรียบเรียงโดย : จิรวัฒน์ เทอดพิทกั ษ์พงษ์ นักวิทยาศาสตร์ชำ� นาญการพิเศษ
ได้แก่ มูลสุกร มูลไก่อัดเม็ด มูลไก่แกลบ มูลโค วิธีการใส่ปุ๋ย
เหล่านี้ที่เหมาะสมควรหว่านให้กระจายสม�่ำเสมอแล้ว
คราดกลบ ควรใส่กอ่ นปลูกอ้อย 1-3 สัปดาห์ โดยใส่ในอัตรา
500-1,000 กิโลกรัม/ไร่/ปี ส�ำหรับปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก
ส่วนปุย๋ อินทรียแ์ บบปัน้ เม็ดควรใส่รองพืน้ ก่อนปลูกในอัตรา
100-200 กิโลกรัมต่อไร่ ส�ำหรับปุย๋ พืชสดควรปลูกปอเทือง ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย
หรือถั่วมะแฮะก่อนการปลูกอ้อย โดยหว่านเมล็ดพืชปุ๋ยสด Office of the Cane and Sugar Board
ให้กระจายทั่วทั้งแปลง รอจนพืชปุ๋ยสดเจริญเติบโตเต็มที่ ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
แล้วจึงไถกลบและพักดินทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ จึงปลูกอ้อยได้ Rama VI Road Ratchathewi Bangkok 10400
Tel 0 2202 3073 Fax 0 2354 3437 ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย
www.ocsb.go.th
“ปุ๋ยอินทรีย์” ข้อดีของปุ๋ยอินทรีย์
หมายความว่า ปุ๋ยที่ได้หรือท�ำมาจากวัสดุอินทรีย์ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า ปุ๋ยอินทรีย์ที่ส�ำคัญได้แก่
ซึ่งผลิตด้วยกรรมวิธีท�ำให้ชื้น สับ หมัก บด ร่อน สกัด หรือด้วย ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยพืชสด การใช้ปุ๋ยอินทรีย์เหล่านี้อย่าง
วิธกี ารอืน่ และวัสดุอนิ ทรียถ์ กู ย่อยสลายสมบูรณ์ดว้ ยจุลนิ ทรีย์ ต่อเนื่องเป็นประจ�ำในการปรับปรุงดินจะก่อให้เกิดผลดีคือ
แต่ไม่ใช้ปยุ๋ เคมีและปุย๋ ชีวภาพ (พระราชบัญญัตปิ ยุ๋ พ.ศ. 2550) 1. จะช่วยปรับปรุงสภาพทางกายภาพของดินให้โปร่ง
และร่วนซุยดีขึ้น ท�ำให้ดินสามารถอุ้มน�้ำและถ่ายเทอากาศ
ประเภทของปุ๋ยอินทรีย์ ให้ดีขึ้น ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้รากพืชเจริญเติบโต
ปุ๋ย อิ น ทรี ย ์ ที่ ใช้ ใ นการปรับปรุงบ�ำรุงดินปัจจุบัน มี ดูดน�้ำ และธาตุอาหารในดินได้เต็มประสิทธิภาพ
หลายชนิดสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้ 2. ปุย๋ คอก (Animal manure) 2. ธาตุอาหารในปุ๋ยอินทรีย์ ถึงแม้จะน้อย แต่จะมี
1. ปุ๋ยหมัก (Compost) เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ได้จากมูลสัตว์ ครบทุกธาตุ อีกทั้งจะค่อย ๆ ปลดปล่อยให้พืชได้ใช้ประโยชน์
ที่ได้จากการน�ำวัสดุอินทรีย์จากพืชและสัตว์ ซึ่งเป็นวัสดุเหลือ ต่างๆ ได้แก่ มูลเป็ด มูลไก่ มูลสุกร มูลโค ถึงแม้ใส่เป็นจ�ำนวนมาก ก็จะไม่สูญเสียไปอย่างรวดเร็ว
ใช้ทางการเกษตร จากชุมชนหรือจากโรงงานอุตสาหกรรม มูลค้างคาว เป็นต้น เป็นผลพลอยได้จากการเลี้ยงสัตว์ที่มี 3. จะส่งเสริมให้ปยุ๋ เคมีทใี่ ช้รว่ มด้วยเป็นประโยชน์แก่
มาผลิตด้วยวิธที ำ� ให้ชนื้ สับ บด ร่อน และผ่านกรรมวิธกี ารหมัก การน�ำมาใช้ทางด้านการเกษตรเป็นเวลานานมาแล้ว มูลสัตว์ พืชเพิม่ มากขึน้ และยังช่วยส่งเสริมให้จลุ ชีวะในดินท�ำกิจกรรม
อย่างสมบูรณ์ จนแปรสภาพจากเดิม ซึ่งกระบวนการหมัก เหล่านี้เป็นส่วนของซากพืชซากสัตว์จากอาหารสัตว์ที่ผ่าน ที่เป็นประโยชน์แก่ดินและพืชได้ดีขึ้น
เป็นการย่อยสลายทางชีววิทยา กระบวนการย่อยสลายจากระบบย่อยอาหารของสัตว์มาแล้ว
โดยอาศัยกิจกรรมของจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็นประโยชน์บางชนิด จึงเป็นแหล่งของธาตุอาหารของพืช ไม่เพียงแต่จะให้อนิ ทรียวัตถุ ข้อจ�ำกัดของปุ๋ยอินทรีย์
ภายใต้สภาวะทีเ่ หมาะสม ซึง่ จะย่อยสลายสารอินทรียจ์ นกลาย 1. ปุย๋ อินทรียม์ ปี ริมาณธาตุอาหารพืชน้อยกว่าปุย๋ เคมี
และธาตุอาหารแก่พืชในดิน แต่ยังช่วยป้องกันและปรับปรุง ในน�้ำหนักปุ๋ยที่เท่ากัน และถูกปลดปล่อยออกมาอย่างช้าๆ
เป็นปุ๋ยที่มีลักษณะนุ่มยุ่ยขาดจากกันได้ง่าย มีอุณหภูมิสูงกว่า บ�ำรุงดินให้เหมาะสมต่อการปลูกพืช การใส่ปยุ๋ อินทรียจ์ งึ เห็นผลช้ากว่าปุย๋ เคมี และการควบคุมการ
อุณหภูมิอากาศ ซึ่งเหมาะที่จะใส่บ�ำรุงดินเพื่อช่วยปรับปรุง 3. ปุ๋ยพืชสด หรือพืชปุ๋ยสด (Green manure) ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชให้ตรงเวลาที่พืชต้องการได้ยาก
คุณสมบัติทางกายภาพของดิน ช่วยให้ดินร่วนซุย และอุ้มน�้ำ เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ได้จากการปลูกพืชบ�ำรุงดินซึ่งได้แก่ 2. ต้องใช้ในปริมาณมากจึงจะให้ธาตุอาหารเพียงพอ
ได้มากขึ้น พืชตระกูลถั่วต่างๆ แล้วท�ำการ แก่พืช จะมีปัญหาเรื่องค่าขนส่ง เพราะท�ำให้ต้นทุนการผลิต
ไถกลบเมื่อพืชเจริญเติบโตมาก เพิ่มขึ้น
ที่สุด ซึ่งเป็นช่วงที่ก�ำลังออกดอก 3. การปรับแต่งปุย๋ อินทรียใ์ ห้เหมาะสมกับดินและพืช
พืชตระกูลถั่วที่ควรใช้เป็นปุ๋ยพืช ท�ำได้ยาก เนือ่ งจากปุย๋ อินทรียเ์ ป็นปุย๋ ทีไ่ ด้จากซากพืชและสัตว์
มีสัดส่วนระหว่างธาตุอาหารพืชชนิดต่างๆ ผันแปรในช่วงที่
สดควรมีอายุสั้น มีระบบรากลึก แคบมากเมื่อเทียบกับปุ๋ยเคมี ดังนั้น จึงไม่สามารถใช้ปรับ
ทนแล้ ง ทนโรคและแมลงได้ ดี สมดุลของธาตุอาหารในดินได้
เป็ นพื ชที่ ปลู กง่ าย และมี เ มล็ ด 4. ปุย๋ อินทรียอ์ าจมีโลหะหนักและสารพิษอืน่ ๆ ติดมา
มาก ตัวอย่างพืช เหล่านนี้ได้แก่ เช่น ปุ๋ยหมักที่ท�ำจากขยะอาจมีโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท
ถั่วพุ่ม ถั่วเขียว ถั่วลาย ปอเทือง ติดมาเป็นจ�ำนวนมากได้ หากขยะที่น�ำมาหมักเป็นปุ๋ยมีวัตถุ
ถั่วมะแฮะ ถั่วแปบและโสน ที่มีธาตุโลหะหนักดังกล่าวปะปนอยู่

You might also like