You are on page 1of 9

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2561

“นาหญ้า” อาชีพทางเลือกสาหรับเกษตรกรไทย
“Forage paddy” an alternative career for farmers in Thailand
อารีรัตน์ ลุนผา
Areerat Lunpha
ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190
Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University, Ubon
Ratchathani, 34190
E-mail: areerat.l@ubu.ac.th

บทคัดย่อ

บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้ในการทานาหญ้าเพื่อผลิต
เมล็ดพันธุ์ เพื่อเป็นอาชีพทางเลือกให้กั บเกษตรกรที่สนใจ โดยศึกษาข้ อมูลเกี่ ยวกับ สถานการณ์ การผลิตพื ช
อาหารสัตว์หรือหญ้า วิธีการปลูก การจัดการ สถานการณ์การผลิต ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนที่ได้รับจาก
การทานาหญ้าเพื่อจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ ซึ่งพบว่าปัจจุบันประเทศไทยมีจานวนสัตว์เคี้ย วเอื้องเพิ่มขึ้นในขณะที่
พื้นที่ปลูกพืชอาหารสัตว์เพื่อใช้เลี้ยงสัตว์กลับมีน้อยลง โดยในแต่ละปียังต้องการพืชอาหารสัตว์เพิ่มอีกประมาณ
16 – 17 ล้านตัน ถึงจะเพียงพอต่อความต้องการของสัตว์ ส่งผลให้มีความต้องการเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์เพื่อ
ใช้ในการปลูกสร้างแปลงพืชอาหารสัตว์หรือแปลงหญ้าสาหรับเลี้ยงสัตว์ เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ปริมาณผลผลิต
เมล็ดพันธุ์พืชอาหารสั ตว์ทั้งประเทศยังมีปริมาณที่น้อยและไม่เพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร ดังนั้น
โอกาสที่จะปลูกพืชอาหารสัตว์เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายยังมี ความเป็นไปได้ ประกอบกับการปลูกสร้างแปลง
หญ้ามีวิธีการปลูก การจัดการ และวิธีการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ต่างจากพืชชนิดอื่นมากนัก และมีข้อดีคือ เป็น
พืชที่ ต้องการน้าน้อย ไม่ต้องใช้สารเคมี ในการก าจัดวัชพืชและศัตรูพืช ต้นทุนการผลิตอยู่ในระดับปานกลาง
ใกล้เคีย งกั บข้าวหอมมะลิ และข้าวโพดเลี้ย งสัต ว์ และได้รับ ผลตอบแทนที่สูงกว่า พื ชชนิดอื่น ที่นิย มปลูก กั น
นอกจากนั้นเกษตรกรยังสามารถมีรายได้เสริมจากการขายหญ้าสดในช่วงก่อนปิดแปลงเพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์ หรือ
สามารถตั ด หญ้ าสดไปเลี้ ย งสั ต ว์ได้ ดั งนั้ น การท านาหญ้ า เพื่ อ ผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ จาหน่ ายจึ งเป็ น อี ก หนึ่ งอาชี พ
ทางเลือกที่น่าสนใจสาหรับเกษตรกร
คาสาคัญ : เมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ ผลผลิต การปลูกและการจัดการ ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน

101
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2561

Abstract

The objective of this article is to look at the potential of forages grown for seed
production to become an alternative cash crop for farmers in Thailand. The study analyzed
data of the situation in forage production, planting and harvesting management, forage seed
production, cost and profit of forage seed production in Thailand. We found that the number
of ruminants had increased but the area in pastures had decreased, and did not meet the
livestock requirements for forages. More than 16-17 million tons per year of forages are
needed to meet the requirements of livestock. There is an increasing demand for forage
seeds to plant to produce forage by farmers to feed their livestock. The current forage seed
production in Thailand is low and does not meet the market demands for seed. There is a
high potential to produce forage seed for sale. Planting and harvesting management of forage
seed production is similar to that for rice and corn, but the requirement for water is low and
no pesticides need to be used. The overall management costs for forage seed production are
similar to rice and corn production but the income from forage seeds is much higher than
that from rice or corn. In addition, extra income can be generated before the forage seeds are
harvested by selling forage or using the forage to feed the farmers’ animals. Forage seed
production can be an alternative career for Thai farmers.
Keywords: Forage seed, yield, planting and management, cost, profit

102
1. บทนา
ปัจจุบันเกษตรกรไทยประสบปัญหาใน ปลูก โดยใช้ท่ อนพัน ธุ์ แต่ปั จ จุบัน เมล็ดพั น ธุ์หญ้ า
หลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะเกษตรกรในภาคอีสาน อาหารสัตว์ยังมี ไม่ เพี ย งพอต่อความต้องการของ
ไม่ ว่ า จะเป็ น ปริ ม าณผลผลิ ต ลดลง ราคาสิ น ค้ า เกษตรกร จากการรายงานของกรมปศุสัตว์ พบว่า
เกษตรตกต่ า และปั จ จั ย ที่ ใช้ ในการผลิ ต มี ร าคา ผลผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช อาหารสั ต ว์ ในแต่ ล ะปี ข อง
สูงขึ้น เช่น แรงงาน ปุ๋ย และสารเคมี เป็นต้น ทา กรมปศุ สั ต ว์ จากปี 2551 ถึ งปี 2557 มี ก ารผลิ ต
ให้เกษตรกรมีรายได้ลดลงหรือขาดทุน และทาให้ เมล็ดพันธุ์ได้น้อยกว่าเป้าหมายที่วางไว้ ทาให้เมล็ด
เกิ ดปัญหาหนี้สิน ตามมา ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก พั น ธุ์ พื ช อาหารสั ต ว์ ไม่ เพี ย งพอต่ อ การจ าหน่ า ย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศส่งผลทาให้ ให้ กั บ เกษตรกรผู้ เลี้ ย งสั ต ว์ [1] ซึ่ ง สอดคล้อ งกั บ
เกิดน้าท่วม และฝนแล้ง ดังนั้นเกษตรกรจึงมีความ การรายงานของโครงการวิ จั ย พื ช อาหารสั ต ว์
จาเป็นที่จะต้องมีการปรับตัวตามสถานการณ์ต่างๆ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่กล่าวว่าเมล็ดพันธุ์พืช
ทีเ่ ปลี่ยนไป โดยเฉพาะสภาพภูมิอากาศ และสภาพ อาหารสัตว์ที่ผลิตได้ในแต่ละปีไม่เพีย งพอต่อการ
เศรษฐกิจ ซึ่งการมองหาพืชชนิดอื่น ๆ ที่เหมาะกับ จาหน่ายเช่นกัน [2] ดังนั้นการปลูกพืชอาหารสัตว์
สภาพพื้นที่ สภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้งหรือใช้น้า หรือ การท านาหญ้ า เพื่ อ ผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์จ าหน่ า ย
น้อย เลือกพืชที่มีต้นทุนในการผลิตต่าหรือผลผลิต หรือเพื่อผลิตหญ้าสดจาหน่าย จึงน่าจะเป็นอาชีพ
ได้ ร าคาดี มาปลู ก ทดแทนพื ช ชนิ ด เดิ ม หรื อ ปลู ก ทางเลือกที่ น่าสนใจและมีค วามเป็ นไปได้ สาหรับ
เสริ ม ในพื้ น ที่ นั้ น ๆ เพื่ อ ให้ เกษตรกรมี ร ายได้ ที่ เกษตรกร
เพิ่มขึ้น และการปลูกหญ้าอาหารสัตว์เพื่อจาหน่าย
หญ้ า สด หรื อ เพื่ อ จ าหน่ า ยเมล็ ด พั น ธุ์ เป็ น อี ก 2. สถานการณ์การเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้องและพื้นที่
ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจและมีรายได้ที่ดี เนื่องจาก ปลูกพืชอาหารสัตว์
เกษตรกรของประเทศไทยส่วนใหญ่มีการเลี้ยงสัตว์
จาพวกโค กระบือ แพะ และแกะ รวมไปถึงพวก Table 1. The number of ruminants, forage
ช้าง และม้าที่กินพืชเป็นอาหารโดยพืชอาหารสัตว์ and natural pastures from 2012 to 2015
(หญ้าและถั่ว) ถือเป็นอาหารหยาบหลัก ที่ใช้เลี้ย ง Ruminant
สัตว์ที่มีต้นทุนต่าสุด ซึ่งในปัจจุบันเกษตรกรผู้เลี้ยง Years (Head) Forage (Rai) Natural (Rai)
สัตว์ส่วนใหญ่จะปล่อยสัตว์ไปแทะเล็มตามทุ่งหญ้า 2555 8,699,553 1,135,650 2,225,591
ธรรมชาติ ห รื อ ทุ่ งหญ้ า สาธารณะ แต่ ปั จ จุบั น ทุ่ ง 2556 6,402,801 1,724,255 2,299,630
หญ้ า ธรรมชาติ มี พื้ น ที่ ล ดลง ประกอบกั บ หญ้ า 2557 6,173,298 736,581 2,278,049
ธรรมชาติมีคุณ ภาพที่ต่าซึ่งมีคุณ ค่าทางอาหารไม่ 2558 6,390,094 624,502 2,252,450
เพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของสั ต ว์ จึ ง ท าให้ Note: Department of Livestock development[3]
เกษตรกรหั น มาปลู ก สร้ า งแปลงหญ้ า มากขึ้ น
จาก Table 1 จะเห็นได้ว่าจานวนสัตว์
เพราะหญ้าที่ปลูกมีคุณภาพที่ดีกว่าและให้ผลผลิต
เคี้ยวเอื้องที่เลี้ย งในประเทศไทยมีจานวนที่ลดลง
ที่สูงกว่าหญ้ าธรรมชาติ จึงท าให้ มีความต้องการ
จากปี 2555 จนถึ ง ปี 2558 แต่ ใ นปี 2558 เริ่ ม
เมล็ดพันธุ์หญ้าอาหารสัตว์เป็นจานวนมาก เพื่อใช้
กลั บ มี จ านวนการเลี้ ย งสั ต ว์ ม ากขึ้ น อี ก ครั้ง และ
ในการปลูกสร้างแปลงหญ้าสาหรับเลี้ยงสัตว์ และ
คาดว่าในอนาคตมี แนวโน้ม ที่เกษตรกรจะหัน มา
สาหรับเกษตรกรที่ปลูก หญ้ าสดขายให้ กับ ผู้เลี้ย ง
เลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้องจานวนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะ
สัตว์ที่ไม่มีพื้นที่ในการปลูก หญ้าหรือมีไม่เพียงพอ
โคเนื้ อ เนื่ อ งจากในปั จ จุ บั น เนื้ อ โคมี ป ริ ม าณไม่
เนื่องจากการปลูกสร้างแปลงหญ้าโดยใช้เมล็ดพันธุ์
เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ทาให้เนื้อ
เป็นวิธีที่ทาได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วกว่าการ
โคเป็นที่ต้องการของตลาดในจานวนมาก ประกอบ

103
กับรัฐบาลได้มีการสนับสนุนโครงการต่างๆ ให้กับ มากกว่ า การปลู ก ด้ ว ยท่ อ นพั น ธุ์ เพราะเป็ น วิ ธี ที่
เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เช่น การจัดตั้งโครงการฟาร์ม สะดวกและรวดเร็ว ทาให้เมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์
ต้นแบบภายใต้โครงการธนาคารโค-กระบือ เป็ น มีความสาคัญอย่างมากในการปลูกสร้างแปลงพืช
ต้น ประกอบกั บ ปัจจุบัน บางพื้ นที่ในภาคอีสานมี อาหารสัตว์และการปรับปรุงทุ่งหญ้าสาธารณะ
การเลี้ ย งแพะกั น มากขึ้ น ซึ่ งในการเพิ่ ม ขึ้ น ของ
จานวนโคเนื้อ กระบือ และแพะนี้ คาดการณ์ได้ว่า 3. สถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์
ความต้องการอาหารจะมากขึ้นตามไปด้วย และ สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่ส่งเสริม
เมื่อพิจารณาจากพื้นที่การปลูกพืชอาหารสัตว์และ ให้ เกษตรกรผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช อาหารสั ต ว์ เพื่ อ
ทุ่ งหญ้ า ธรรมชาติ กั บ จ านวนสั ต ว์เคี้ ย วเอื้ อ งแล้ ว จาหน่ ายมี เพี ย งกองอาหารสั ต ว์ของกรมปศุสั ต ว์
(Table 1) จะเห็ น ได้ ว่ า จ านวนสั ต ว์ มี จ านวน และบริษัทอุบลฟอเรจซีด จากัด (โครงการวิจัยพืช
มากกว่าปริมาณผลผลิตพืชอาหารสัตว์ที่ คาดว่าจะ อาหารสัตว์) ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเท่านั้น
ผลิตได้ (กรมปศุสัตว์ได้แนะน าพื้นที่ เลี้ย งสัตว์ต่อ ในแต่ละปีทั้ง 2 หน่วยงานจะมีการวางเป้าหมาย
อัตราการปล่อยสัตว์เท่ากับ 2-3 ไร่ต่อตัว) เมื่อคิด การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ไว้เพื่อไม่ให้เมล็ด
อัตราการปล่อยสัตว์ต่อพื้นที่ปลูกพืชอาหารสัตว์จะ พั น ธุ์ ม ากเกิ น ความต้ อ งการ อย่ า งไรก็ ต ามจาก
อยู่ ที่ 9 ตั ว ต่ อ ไร่ ซึ่ ง ถื อ ว่า มี อั ต ราการปล่ อ ยสั ต ว์ Figure 1 แสดงให้ เห็ น ว่ า ผลผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช
มากกว่าที่กรมปศุสัตว์แนะนา หรือแม้แต่การปลูก อาหารสัตว์ในแต่ละปีของกรมปศุสัตว์มีก ารผลิต
แปลงพื ช อาหารสั ต ว์ คุ ณ ภาพดี ที่ 1 ไร่ สามารถ เมล็ดพันธุ์ได้น้อยกว่าเป้าหมายที่วางไว้
เลี้ ย งสั ต ว์ ไ ด้ 1-2 ตั ว ยั ง ไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความ
ต้องการของสัตว์ ทาให้คาดว่าในอนาคตพืชอาหาร
สัตว์จะไม่เพียงพอต่อความต้องการของสัตว์ และ
หากลองพิจารณาจากปี 2558 เมื่อคานวณผลผลิต
น้าหนักแห้งของพื้นที่ปลูกพืชอาหารสัตว์ จะให้ผล
ผลิตน้าหนักแห้งประมาณ 1,249,004 ตัน/ปี ส่วน
พื้ น ที่ ทุ่ ง หญ้ า สาธารณะให้ ผ ลผลิ ต น้ าหนั ก แห้ ง
ประมาณ 4,504,900 ตั น /ปี จะได้ ผ ลผลิ ต รวม
ทั้ ง หมดประมาณ 5,753,904 ตั น /ปี (คิ ด จาก
ผลผลิ ต น้ าหนั ก แห้ งเฉลี่ย 2 ตั น ต่ อไร่ต่อ ปี ) และ Figure 1. Show the plan and results of
เมื่ อ เที ย บกั บ ความต้ อ งการพื ช อาหารสั ต ว์ จ าก forage seeds production during 2008 to
จ านวนสั ต ว์ ทั้ ง หมด ในหนึ่ ง ปี สั ต ว์ ต้ อ งการพื ช 2014 [1]
อาหารสั ต ว์ ป ระมาณ 19.17 ล้ า นตั น (คิ ด จาก
ปริมาณความต้องการอาหาร 3% ของน้าหนักตัว) ในส่วนของบริษัทอุบลฟอเรจซีด จากัด
จะเห็นได้ว่ายังมีความต้องการพืชอาหารสัตว์อี ก ได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ เกษตรกรผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช
ประมาณ 13-14 ล้านตัน ถึงจะเพียงพอต่อจานวน อาหารสัตว์ ซึ่งมีปริมาณการผลิตตามจานวนที่จะ
สัตว์ จึงคาดว่าจะต้องมีก ารปลูก สร้างแปลงหญ้ า ส่งออกหรือตามจานวนที่สั่งจองล่วงหน้า และเผื่อ
มากขึ้นเพื่อให้เพีย งพอต่อความต้องการของสัตว์ ไว้อีกจานวนหนึ่งเพื่อขายภายในประเทศ และจาก
เมื่อเกษตรกรต้องการปลูกพืชอาหารสัตว์มากขึ้น Table 2 จะเห็ น ได้ ว่ า จ านวนประเทศที่ บ ริ ษั ท
ท าให้ ค วามต้ อ งการเมล็ ด พั น ธุ์ พื ช อาหารสั ต ว์ ส่ ง ออกเมล็ ด พั น ธุ์ ไปจ าหน่ า ยเพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ปี ส่ ว น
เพิ่มขึ้นตามไปด้วย เนื่องจากการปลูก สร้างแปลง ปริมาณผลผลิตที่ส่งออกยังมีปริมาณไม่คงที่อาจมี
พืชอาหารสัตว์ส่วนใหญ่นิยมหว่านด้วยเมล็ดพัน ธุ์ ผลมาจากปริมาณความต้องการเมล็ดพันธุ์ในแต่ละ

104
ปีไม่เท่ากัน โดยการผลิตเมล็ดพันธุ์ ในแต่ละปียังมี รวมทั้งการขยายตลาดเมล็ดพันธุ์สู่ประเทศอาเซียน
ปริ ม าณไม่ เพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของตลาด ด้วย
โดยเฉพาะหญ้ามูลาโต้ 2 และหญ้ากินนีมอมบาซ่า 4. การผลิตพืชอาหารสัตว์
ที่ต้องการเมล็ดพันธุ์ไม่ต่ากว่า 100 ตัน/ปี 4.1 การปลูกและการจัดการแปลงพืชอาหาร
Table 2. Show the number of countries สัตว์
and forage seeds for export in 2012 to การปลูกสร้างแปลงพืชอาหารสัตว์ เพื่อ
2015 ผลิตเมล็ดพันธุ์มีวิธีก ารปลูกคล้ายกับปลูกข้าวคือ
การทาแปลงกล้าและปักดาโดยใช้ระยะปลูก 1x1
Years Country Forage seeds
เมตร ส่วนการจัดการหลังการปลูกเหมือนกับข้าว
(No.) (Kg)
และพื ช ทั่ ว ไปคื อ มี ก ารก าจั ด วั ช พื ช ตามความ
2555 22 56,821
จาเป็น มีก ารให้ ปุ๋ ย โดยปุ๋ย ที่แนะนาคือสูตร 15-
2556 24 103,154
15-15 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ และอาจใส่ปุ๋ย
2557 26 76,000
คอกเพื่อเพิ่มอินทรีย วัตถุให้แก่ ดิน [1], [4] และมี
2558 26 150,000
การให้ น้ าหากฝนทิ้ ง ช่ ว งเป็ น เวลานาน ซึ่ ง พื ช
Note: Ubon Forage Seeds Co.,Ltd [4]
อาหารสัตว์เป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว ต้องการ
ดังนั้น จะเห็ น ได้ ว่าทั้ งกรมปศุสัต ว์ และ น้าน้อย ทนแล้ง และถ้าปลูกในพื้นที่อุดมสมบู รณ์
บริษัทอุบลฟอเรจซีด จากัด ยังมีผลผลิตเมล็ดพันธุ์ จะใช้ปุ๋ยในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่น
พื ช อาหารสั ต ว์ ในปริ ม าณที่ ไม่ เพี ย งพอต่ อ ความ ส่วนการกาจัดวัชพืชถ้ามีการเตรียมแปลงที่ดีวัชพืช
ต้องการทั้งในและต่างประเทศ อาจมีสาเหตุมาจาก จะสามารถขึ้ น ได้ น้ อ ยมากเพราะพื ช อาหารสั ต ว์
จานวนเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพั นธุ์พื ชอาหารสัตว์ สามารถเจริ ญ เติ บ โตได้เร็ว คลุ ม พื้ นที่ แ ปลงทาให้
ลดลง เพราะขาดการส่ ง เสริ ม จากหน่ ว ยงานที่ วั ช พื ช ไม่ ส ามารถขึ้ น แทรกได้ และการปลู ก พื ช
เกี่ ย วข้ อง ท าให้ เกษตรกรหั น ไปปลู ก พื ช ชนิ ด อื่ น อาหารสัตว์ยังไม่ต้องใช้สารเคมีเพื่ อก าจัดศัตรูพืช
แทน ในทางกลับ กั น คาดว่า ในอนาคตจะมี ค วาม เนื่องจากเป็นพืชที่ไม่มีศัตรูพืชมารบกวน หลังจาก
ต้องการเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น เนื่องจาก วัน ตัด ปิด แปลงจะปล่อยให้เจริญ เติ บโตเพื่ อผลิ ต
ประเทศไทยเป็ นแหล่งผลิ ตเมล็ ดพั น ธุ์พื ช อาหาร เมล็ดโดยใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือนจนถึง
สัตว์ที่ ใหญ่ ที่ สุด ในเอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ และ วัน ที่ เก็ บ เกี่ ย ว ซึ่งจะเห็ น ได้จ ากการรายงานของ
เมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว ประเทศ ศุภชัย และพิมพาพร ที่ได้ทาการศึกษาผลของวัน
ไทยสามารถขยายฐานการผลิ ต และการลงทุ น ตัดปิดแปลงที่มีต่อช่วงเวลาการออกดอก ผลผลิต
สินค้าประเภทเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ได้มากขึ้น และคุณภาพเมล็ดพันธุ์หญ้ากินนีมอมบาซา โดยมี
และเป็ น ที่ ย อมรั บ ของประเทศสมาชิ ก จึ ง มี ระยะเวลาการตั ด ปิ ด แ ปลง 6 ระยะ คื อ 1
แนวโน้มที่จะทาให้ไทยส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชอาหาร กรกฎาคม 15 กรกฎาคม 1 สิงหาคม 15 สิงหาคม
สัตว์ไปยังประเทศสมาชิก อาเซียนได้ม ากขึ้นด้วย 1 กันยายน และไม่ตัด ซึ่งพบว่าช่วงเวลาการตัดปิด
และคาดว่าจะมีความต้องการเมล็ดพันธุ์พืชอาหาร แปลง 15 สิงหาคมและเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ในช่วง
สั ต ว์ เพิ่ ม ขึ้ น ไม่ ต่ ากว่ า 200 ตั น /ปี เนื่ อ งจากใน วันที่ 11-31 ตุลาคม ให้ผลผลิต เมล็ดพันธุ์สูงที่สุด
ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ เกษตรกรเลี้ ย งสั ต ว์ (103.5 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ไร่ ) และผลผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์
โดยเฉพาะโคเนื้อ กระบือ และแพะ มากขึ้น และมี บริ สุ ท ธิ์ ที่ ง อกได้ สู ง ที่ สุ ด (88.1 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ไร่ )
การสนั บ สนุ น ให้ เกษตรกรผู้ เลี้ ย งสั ต ว์ ป ลู ก สร้า ง รองลงมาคือ 1 สิงหาคม และให้ผลผลิตต่าสุดคือ
แปลงพื ช อาหารสั ต ว์ เพื่ อ ใช้ เ ลี้ ย งสั ต ว์ เ หล่ า นั้ น 1, 15 กรกฎาคม และ 1 กันยายน [5] และแปลง
พืชอาหารสัตว์นี้สามารถใช้เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ได้

105
ประมาณ 2-3 ปีโดยไม่ต้องปลูกสร้างใหม่ เพื่อให้ 50 วัน (สอบถามโดยตรงจากเกษตรกร อ.วารินชา
ได้ ผ ลผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ที่ ดี เท่ าเดิ ม ควรท าการปลู ก ราบ) หรื อ หากมี ก ารรดด้ ว ยน้ าส่ า เหล้ าในแปลง
ใหม่ เพราะผลผลิตเมล็ดพันธุ์จะลดลงเรื่อยๆ ตาม หญ้ ากิ นนีสามารถตัดได้ทุก 20-25 วัน (สอบถาม
อายุที่เพิ่มขึ้น โดยตรงจากเกษตรกร อ.สว่างวีระวงศ์) ซึ่ งปกติ
วิธีการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์สามารถทาได้ การตั ด สดขายหรื อ ตั ด ไปให้ สั ต ว์ กิ น จะตั ด ที่ อ ายุ
หลายวิ ธี ขึ้ น อยู่ กั บ ความสะดวกของเกษตรก ร 30-45 วัน [1] ขึ้ นอยู่กั บชนิด พื ชอาหารสัต ว์และ
ได้แก่ การเก็บเกี่ยวโดย การเคาะ (Figure 2) การ ฤดู ก าล หรื อ หากไม่ ต้ อ งการผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์
ใช้เคียวเกี่ยว และการปล่อยให้เมล็ดสุกแก่ร่วงลง จาหน่าย สามารถทาเป็นนาหญ้าเพื่อขายหญ้าสด
ดิ น แล้ ว กวาดจากพื้ น [6] ซึ่ ง ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ โ ดย เพียงอย่างเดียวได้เช่นกัน ซึ่งส่วนมากจะขายให้กับ
ภาพรวมจะได้ เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพดี ไม่ ค่ อ ยมี เกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์แต่ไม่มีพื้นที่ปลูกหญ้าหรือมี
สิ่งเจือปน แต่ไม่เพียงพอ และขายให้กับสวนสัตว์
อย่างไรก็ตามพืชอาหารสัตว์แต่ละชนิด
จะเหมาะกั บ สภาพพื้ น ที่ ที่ แ ตกต่ างกั น กล่ าวคื อ
บางชนิดเหมาะกับสภาพที่ลุ่มและบางชนิดเหมาะ
กับสภาพที่ดอน ดังนั้นพืชอาหารสัตว์หรือหญ้าที่
เหมาะกับปลูกในที่ลุ่มสามารถปลูกในนาข้าวเดิมที่
ให้ ผ ลผลิ ต ต่ าได้ เช่ น หญ้ าพาสพาลั ม อุ บ ล และ
หญ้าพลิแคทูลัม เป็นต้น และพืชอาหารสัตว์หรือ
หญ้ าที่ เหมาะกั บ ที่ด อนสามารถปลูก ในสวนหรือ
แปลงพื ช ไร่ช นิ ด อื่ น ที่ ให้ ผ ลผลิ ต ต่ าได้ เช่ น หญ้ า
กินนีสีม่วง หญ้ากินนีมอมบาซา และหญ้ารูซี่ เป็น
Figure 2. Harvesting of Guinea grass [4] ต้ น รวมถึ ง สามารถปลู ก ในพื้ น ที่ ว่ า งเปล่ า ได้
นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่เหลือหลังจาก เช่นเดียวกัน
เก็บเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์เสร็จแล้ว มีระยะเวลา
อีก ประมาณ 8-9 เดือ น ในแต่ล ะปียั งสามารถใช้
ประโยชน์เพื่อผลิตพืชอาหารสัตว์สด หรือหญ้าสด
ขายเป็นรายได้เสริม หรือใช้สาหรับเลี้ยงสัตว์ที่มีได้
อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง หากมี ก ารให้ น้ าในแปลงหญ้ า กิ น นี
สาม ารถ ตั ด ส ด ได้ ค รั้ ง แ รก ป ระ ม า ณ เดื อ น
พฤศจิกายนถึงธันวาคม และสามารถตัดได้ทุก 40-

106
4.2 ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนจากการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์
Table 3 Show the estimated cost and net income from rice, cassava, corn and forage seeds in
Thailand

Species Seed yield Price Cost Income Net income


(Kg/rai) (Baht/Kg) (Baht/rai) (Baht/ (Baht/rai)
rai)
Rice 1 350 12 3,256 4,200 944
Cassava* 1 4,500 2 6,090 9,000 2,910
Corn 1 462 8.25 2,655 3,812 1,157
Ubon Paspalum 80 100 3,630 8,000 4,370
2

Purple guinea 2 70 100 3,630 7,000 3,370


Mombasa 70 100 3,630 7,000 3,370
guinea 2
Ubon stylo 2 80 100 3,830 8,000 4,170
Note: 1 Inquired from farmers, 2 Inquired from Ubon Forage Seeds Co.,Ltd, * cassava root
จาก Table 3 แสดงให้ เ ห็ น ว่ า พื ช ที่ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนจะมีการ
เกษตรกรที่นิยมในปัจจุบันคือ ข้าว มันสาปะหลัง กาหนดเป้าหมายการผลิตไว้ล่วงหน้ า ทาให้รู้ว่าใน
และข้าวโพด จะที่ให้ผลผลิตต่อไร่ ที่สูง แต่มีราคา แต่ละปีมีความต้องการเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์แต่
ต่อกิโลกรัมที่ต่า ในขณะที่พืชอาหารสัตว์จะให้ผล ละชนิดมากน้อยเพียงใด ทาให้เกษตรกรสามารถ
ผลิตต่อไร่ต่า แต่จะมีราคาต่อกิโลกรัมสูง ซึ่งเมื่อคิด เลือกปลูกชนิดพืชอาหารสัตว์และคานวณรายได้ที่
เป็นผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับแล้วผลตอบแทน จะได้ รั บ ในแต่ ล ะครั้ง หลั ง การผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ ได้
จากการขายเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์จะสูงกว่าพืช ล่วงหน้า ในส่วนของต้นทุนการผลิตมีต้นทุนในการ
ที่นิยม อาจจะไม่สูงกว่ามากนัก แต่อย่างไรก็ตาม ผลิต ใกล้ เคีย งกั นเกื อบทุ ก ชนิด อาจเป็ น เพราะมี
ราคาของข้าวหอมมะลิ มันสาปะหลัง และข้าวโพด ขั้ น ตอนการจั ด การทั้ ง ก่ อ นและหลั ง การปลู ก
อาหารสัตว์ นั้นยัง ขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตในแต่ ค่อนข้างเหมือนกัน แต่ในส่วนของข้าว มันสาหลัง
ละปี และความต้องการของตลาดรวมทั้งสภาวะ ปะหลัง และข้าวโพด จะมีการใช้สารเคมีเพื่อกาจัด
เศรษฐกิจ ของแต่ละปี อีก ด้วย [7] ในขณะที่ เมล็ด วัชพืช และศัตรูพืชด้วย จึงอาจทาให้ต้นทุน สูงขึ้น
พันธุ์พืชอาหารสัตว์มีราคาค่อนข้างคงที่ เพราะรับ ในขณะที่ พื ช อาหารสั ต ว์ จ ะไม่ มี ก ารใช้ ย าหรื อ
ซื้อในราคาประกัน และผลผลิตในแต่ละปีทั้ง สารเคมีเลยจึงทาให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ
และนอกจากนี้เกษตรกรยังมีรายได้เสริมจากการ
ขายหญ้าสด ในช่วงที่ไม่มีก ารเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์
หรือช่วงก่อนปิดแปลงเพื่อเก็บเกี่ย วเมล็ดพันธุ์ อีก
ด้วย

107
จากการรายงานพบว่า เกษตรกรผลิ ต 5. สรุป
หญ้ากินนีมอมบาซ่าเพื่อจาหน่ายหญ้าสด ที่มีการ การทานาหญ้าเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์พืช
ตัดหญ้าสดทุก 30 วัน ได้ผลผลิตน้าหนัก สดเฉลี่ย อาหารสัตว์ สามารถเป็นอีกอาชีพทางเลือกของ
24,435 กิ โลกรัมต่อไร่ต่อปี ต้นทุ นการผลิต เฉลี่ ย เกษตรกรได้ เพราะในปัจจุบันและอนาคตเมล็ด
ประมาณ 9,261 บาทต่อไร่ต่ อปี ซึ่งปกติ หญ้ าสด พันธุ์พืชอาหารสัตว์ยังมีความต้องการอีกมากทั้งใน
จะขายกิโลกรัมละ 1-3 บาท ขึ้นอยู่กับฤดูกาล จึง และต่างประเทศ เพื่อใช้ในการปลูกสร้างแปลง
ได้รับผลตอบแทนเฉลี่ยเท่ากับ 39,608.90 บาทต่อ หญ้าสาหรับเลีย้ งสัตว์ที่มีอยู่น้อยเมื่อเปรียบเทียบ
ไร่ต่อ ปี (ตั ด 9 รอบต่อปี) [8] เมื่อ คิดต่อรอบการ กับสถานการณ์การเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้องในปัจจุบัน
ตัดจะเท่ากับ 4,401 บาท ในกรณีของเกษตรกรที่ ของประเทศไทยที่มีจานวนเพิ่มขึ้น และการผลิต
ปลู ก หญ้ า กิ น นี เพื่ อ เก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ หลั ง จากเก็ บ เมล็ดพันธุ์ทั้ง 2 หน่วยงาน คือ กรมปศุสัตว์ และ
เกี่ยวเมล็ดพันธุ์เสร็จแล้วหรือมีช่วงเวลาก่อนที่จ ะ บริษัทอุบลฟอเรจซีด จากัด ยังมีปริมาณผลผลิตที่
ปิดแปลงเพื่อเก็ บเมล็ดพันธุ์ หากแปลงหญ้ ากิ นนี ไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ประกอบ
นั้ น อยู่ ใ นเขตชลประทานหรื อ มี ก ารให้ น้ าจะ กับวิธกี ารปลูก การจัดการหลังการปลูก และการ
สามารถตัดสดได้ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ไม่ยุ่งยากและไม่ต่างจากพืชชนิด
กรกฎาคมโดยตั ด ได้ ที่ อ ายุ ป ระมาณ 40 วั น (6 อื่นที่นิยมปลูกกัน นอกจากนี้ยังใช้น้าน้อย ไม่ต้อง
รอบต่ อ ปี ) จึ ง คาดว่ า เกษตรกรจะมี ร ายได้ เพิ่ ม ใช้สารเคมีทาให้เกษตรกรมีสุขภาพที่ดี และเมื่อ
ประมาณ 26,406 บาท แต่ ห ากไม่ ได้ อ ยู่ ใ นเขต พิจารณาจากต้นทุนการผลิตแล้วไม่ต่างจากพืช
ชลประทานหรือ ไม่ มี ก ารให้ น้ าอาศัย เพี ย งน้ าฝน ชนิดอื่นมากนัก แต่ผลตอบแทนที่ได้รับจะสูงกว่า
เพี ย งอย่ า งเดี ย วสามารถตั ด ได้ เพี ย งช่ ว งเดื อ น พืชชนิดอื่นที่เกษตรกรนิยมปลูกกัน และเกษตรกร
พฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคมเท่านั้น (2 รอบต่อปี) ยังสามารถมีรายได้เสริมจากการขายหญ้าสด หรือ
ซึ่งคาดว่าจะมีรายได้เพิ่มประมาณ 8,802 บาท แต่ สามารถนาไปเลี้ยงสัตว์ได้อีกด้วย ดังนั้นการทานา
อย่ า งไรก็ ต ามขึ้ น อยู่ กั บ สภาพอากาศในแต่ ล ะปี หญ้าเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายในนาข้าวเดิมหรือ
หากฝนมาช้าอาจจะไม่สามารถใช้ประโยชน์จ าก แปลงพืชชนิดอื่นที่ให้ผลผลิตต่าหรือในที่ดินว่าง
การตัดสดเพื่อขาย ก่ อนที่จะปิดแปลงเพื่อรอเก็ บ เปล่า จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะเป็นอาชีพ
ผลผลิตเมล็ดพันธุ์โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 ทางเลือกสาหรับเกษตรกรไทยในปัจจุบัน
เดื อ น ในการปิ ด แปลงจนถึ ง เก็ บ เกี่ ย วเมล็ด พั น ธุ์
หรื อ สามารถน าห ญ้ าสดไปใช้ เ ลี้ ย งสั ต ว์ ข อง กิตติกรรมประกาศ
เกษตรกรเองได้ ซึ่งหากเกษตรกรไม่อยากเก็บเกี่ยว บทความนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ดีเพราะได้รับ
เมล็ดพันธุ์สามารถทานาหญ้าเพื่อขายหญ้าสดเพียง ความอนุเคราะห์ข้อมูลจากเกษตรกร และบริษัท
อย่างเดียวได้เช่นกัน อุบลฟอเรจซีด จากัด รวมทั้งนักศึกษาที่ช่วยในการ
สัมภาษณ์เกษตรกร ผู้เขียนจึงขอขอบพระคุณเป็น
อย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

108
เอกสารอ้างอิง [6] Hare, M. D. 2005. Tropical Pasture
[1] Bureau of Animal Nutrition Management in Thailand. Faculty
Development, Department of of Agriculture, Ubon Ratchathani
Livestock Development. 2015. University Press.
Forage seed production. [7] Office of Agriculture Economics. 2015.
http:/nutrition.dld.go.th/seed/ Agricultural production
seed2015.htm. 29 February 2017. information.
(InThai) http://www.foodfti.com/Files/Nam
[2] Forage research project. 2016. Forage e/CONTENT829177504801.pdf 27
seed production. Faculty of May 2016. (InThai)
Agriculture, Ubon Ratchathani [8] Donsawai, S., Harrison, S. and Saichuer,
University. Ubon Ratchathani. A. 2015. The pilot project of
(InThai) Mombasa guinea grass production
[3] Information and Communication by small holder farmer in Yasothon
Technology Center. Department of province. Bureau of Animal
Livestock Development. 2016. The Nutrition Development Annual
number of animals and farmers Research Report 2015.
in 2012-2015. Department of Livestock
http:/ict.dld.go.th/th2/index.php/th Development, Ministry of
.29 February 2016. (InThai) Agriculture and Cooperatives. 204-
[4] Ubon Forage Seeds Co., Ltd.. 2016. 210. (InThai)
Forage seed production and
export. Faculty of Agriculture,
Ubon Ratchathani University. Ubon
Ratchathani. (InThai)
[5] Udchachon, S. and Pholsen, P. 2010.
Effect of closing cut date on
flowering pattern, seed yield and
seed quality of Panicum maximum
cv. Mombaza. Bureau of Animal
Nutrition Development Annual
research Report 2010.
department of Livestock
Development, Ministry of griculture
and Cooperatives. 218-226. (InThai)

109

You might also like