You are on page 1of 13

โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ

รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

บทที่ 59 รายละเอียดข้อมูลยาทางชีวภาพ
สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
1. ข้อมูลทั่วไป
แ ป ะ ก๊ ว ย ( Ginkgo biloba)
มี ถิ่ น ก า เ นิ ด จ า ก ท วี ป เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้
เ ป็ น ตั น ไ ม้ ที่ ถู ก น า ม า ใ ช้ ใ น ผ ลิ ต ย า ตั้ ง แ ต่ ส มั ย โ บ ร า ณ
ต้ น แ ป ะ ก๊ ว ย ไ ม่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว เ นื่ อ ง ท า ง ส า ย พั น ธุ์ กั บ ต้ น ไ ม้ อื่ น ใ ด
แต่สามารถดารงชีวต ิ นานถึง 240 ล้านปี ถูกขนานนามว่าเป็ น "ฟอสซิลทีม ่ ีชีวติ
( A living fossil)”
ต้นแปะก๊วยมีความคงทนแข็งแรงและสามารถเจริญเติบโตได้งา่ ย มีความสูงถึง
30-40 เมตร
ต้ น แปะก๊ ว ย เริ่ ม เข้ า มาแพร่ ห ลาย สู่ ท วี ป ยุ โ รปในศตวรรษที่ 17
ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ใ บ แ ป ะ ก๊ ว ย จ ะ ค ล้ า ย รู ป พั ด
มี ข อ บ ใ บ เ ว้ า เ ข้ า ต ร ง ก ล า ง ท า ใ ห้ ดู ค ล้ า ย ถู ก แ บ่ ง เ ป็ น 2 พู
ซึ่ ง ในใบ นี้ จะมี ส า รส าคัญ ห ลาย ช นิ ดโ ดย เฉ พาะส า ร Ginkgoflavone
glycosides แ ล ะ Terpene lactones
ทีม่ ีคณ
ุ สมบัตท ิ างยานามารักษาอาการผิดปกติ [1]

ภาพที่ 1 ลักษณะของใบแปะก๊วย [1]


แปะก๊ ว ยมี ชื่ อ ทางวิ ท ยาศาสตร์ คื อ Ginkgo biloba L. ชื่ อ วงศ์ คื อ
GINKGOACEAE โดยสารสกัดทางเคมีของต้นแปะก๊วยสามารถสกัดได้จาก
2 ส่วน ได้แก่ ใบแปะก๊วย และผลแปะก๊วย [2]
ใบแปะก๊วย ในส่วนของใบแปะก๊วยจะมีสารออกฤทธิส์ าคัญ 2 กลุม
่ คือ [3-7]
- สารกลุม่ เทอร์ปีนอยด์ (Terpinoidal compounds)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-1
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

สารจาพวกเทอร์ปีนอยด์ในใบแปะก๊วย ประกอบด้วยสารเซสควิเทอร์ปีน
ได้แก่ ไบโลบาไลด์ (Bilobalide) ภาพที่ 2 และไดเทอร์ปีนแลคโตน 5 ชนิด
ซึง่ รวมเรียกว่า “กิงโกไลต์” (Ginkgolides) ได้แก่ Ginkgolides A, B, C, J
และ M (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 2 สูตรโครงสร้างของไบโลบาไลด์ [8]

ภาพที่ 3 สูตรโครงสร้างของกิงโกไลด์ [8]

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-2
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

- สารกลุม
่ ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids)
ใ บ แ ป ะ ก๊ ว ย มี Flavonol glycosides ป ร ะ ม า ณ 2 0 ช นิ ด เ ช่ น
Quercetin-3-rhamnoside, Kaempferol-3-rhamnoside, Quercitin-
3-rutinoside, Kaempferol-3-rutinoside และ p-coumaric ester ของ
Quercitin และ Kaempferol glucorhamnosides (ภาพที่ 4)

ภาพที่ 4 สูตรโครงสร้างของ Flavonoids จากใบแปะก๊วย [9]


นอกจากนี้ ใ บแปะก๊วยยังมี ส ารจาพวก Biflavonoids หลายชนิ ด เช่น
Amentoflavone, Bilobetol แ ล ะ 5-methoxybilobetol, Ginkgetin,
Isoginkgetin แ ล ะ Sciadopitysin (ภ า พ ที่ 5 )
ซึง่ เป็ นสารทีพ
่ บเฉพาะในใบแปะก๊วยเท่านัน ้

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-3
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

ภาพที่ 5 สูตรโครงสร้างของสาร Biflavonoids ในใบแปะก๊วย [10]


น อ ก จ า ก นี้ ใ บ แ ป ะ ก๊ ว ย ยั ง มี ส า ร จ า พ ว ก ส เ ต อ ร อ ล (Sitosterol
แ ล ะ อ นุ พั น ธ์ Glucoside), Aliphatic alcohol, Ketone, ก ร ด อิ น ท รี ย์
และน้าตาล เช่น กลูโคส ฟรุคโตส และแชคคาโรส เป็ นต้น
ผลแปะก๊วย
เ นื้ อ ใ น เ ม ล็ ด มี ส า ร แ ค ม เ ป ส เ ต อ ร อ ล (Campesterol)
ซึ่ ง เป็ นสารจ าพวกสเตอรอยด์ ใ นผลมี ก รด Ginkgolic และ Isoginkgolic
ซึง่ เป็ นสารพวกเบนซินอยด์
2. ลักษณะทั่วไป (กระบวนการสกัดสารเคมีชีวภาพ) [11]
ก า ร ส กั ด แ บ บ ไ ห ล ย้ อ น ก ลั บ (Reflux extraction)
ใช้ใ นการสกัด สารส าคัญ ออกจากสมุ น ไพรที่ส กัด ด้ว ยแอลกอฮอล์ เฮกเซน
ห รื อ น้ า โ ด ย ส มุ น ไ พ ร ที่ แ ช่ ด้ ว ย แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ เ ฮ ก เ ซ น ห รื อ น้ า
จะถู ก ต้ ม ให้ ค วามร้ อ น เพื่ อ ท าการละลายสารส าคัญ ออกจากสมุ น ไพร
โ ด ย ที่ แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ห รื อ น้ า จ ะ ถู ก ต้ ม จ น เ ดื อ ด ร ะ เ ห ย ขึ้ น ไ ป ด้ า น บ น
แ ล้ ว จ ะ ถู ก ค ว บ แ น่ น ด้ ว ย ค อ น เ ด น เ ซ อ ร์ (Condenser)
ก ลั บ ล ง ม า ท า ล ะ ล า ย ต่ อ เ นื่ อ ง ห มุ น เ วี ย น อ ย่ า ง นี้ ไ ป เ รื่ อ ย ๆ
จนสารสกัดละลายเข้มข้น
ซึ่ ง ก า ร ส กั ด แ บ บ นี้ มี ห ลั ก ก า ร ดั ง นี้
สกัดโดยใส่ตวั ทาละลายในขวดก้นกลมเมือ ่ ได้รบั ความร้อนจะกลายเป็ นไอลอย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-4
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

ขึ้ น สู่ ค อ น เ ด น เ ซ อ ร์
ซึ่งมีการหล่อน้าไว้ทาให้ตวั ทาละลายกลับสูส ่ ภาวะของเหลวแล้วไหลกลับสูข ่ วด
ก้ น ก ล ม ซึ่ ง จ ะ ท า ป ฏิ กิ ริ ย า กั น อ ย่ า ง น้ อ ย 1 ชั่ ว โ ม ง
เนื่องจากตัวทาละลายทีใ่ ช้สกัดสารแล้วจะถูกทาให้ระเหยและควบแน่ นกลับมาเ
มื่ อ เ จ อ ร ะ บ บ ห ล่ อ เ ย็ น ท า ใ ห้ ส กั ด ไ ด้ อี ก เ ป็ น ลั ก ษ ณ ะ ห มุ น เ วี ย น
โดยตัวทาละลายทีใ่ ส่ลงไปในเครือ ่ งมือจะหมุนเวียนผ่านสารทีเ่ ราต้องการสกัด
ห ล า ย ๆ ค รั้ ง เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ส กั ด
จ น ก ร ะ ทั่ ง ส า ร ที่ เ ร า ต้ อ ง ก า ร ส กั ด อ อ ก ม า มี ป ริ ม า ณ เ ข้ ม ข้ น ม า ก พ อ
โดยตัวแปรทีม ่ ีผลต่อการสกัด ได้แก่
- ช นิ ด ข อ ง ตั ว ท า ล ะ ล า ย ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร ส กั ด ส า ร ที่ ส น ใ จ
โดยอาศัยหลักการ Like dissolve like
- ปริ ม าณตัว ท าละลายที่ ใ ช้ ส กัด ปริ ม าตรตัว ท าละลายต้ อ งมี ม ากพอ
กล่าวคือเมือ ่ ตัวทาละลายส่วนหนึ่งเกิดการระเหยขึน ้ ไปสกัดสารก่อนทีจ่ ะ
เต็ม Reflux sidearm
- เวลาทีใ่ ช้ในการสกัดต้องมีความเหมาะสมทีส ่ ามารถสกัดเอาสารทีส ่ นใจอ
อ ก จ า ก ตั ว อ ย่ า ง ใ ห้ ไ ด้ ม า ก ที่ สุ ด
ซึ่ ง เ ท ค นิ ค นี้ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ว ล า ที่ ใ ช้ ส กั ด มั ก ย า ว น า น เ ป็ น ชั่ ว โ ม ง
เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร Reflux ข อ ง ตั ว ท า ล ะ ล า ย ห ล า ย ซ้ า ๆ
ทาให้สารทีส ่ นใจถูกสกัดออกจากตัวอย่างได้มากทีส ่ ุด
- ตั ว อ ย่ า ง เ ท ค นิ ค นี้ ตั ว อ ย่ า ง มั ก เ ป็ น ข อ ง แ ข็ ง
ดั ง นั้ น ต้ อ ง ท า ตั ว อ ย่ า ง ใ ห้ มี พื้ น ผิ ว สั ม ผั ส กั บ ส า ร ม า ก ที่ สุ ด คื อ
ควรให้ตวั อย่างมีขนาดเล็กทีส ่ ุด เพือ ่ เพิม
่ พื้นทีผ่ วิ สัมผัส
ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ เป็ นเทคนิคทีม่ ีราคาถูก (เฉพาะราคาตัวทาละลาย)
ค่ อ น ข้ า ง ที่ ง่ า ย ไ ม่ ยุ่ ง ย า ก ส่ ว น ข้ อ ด้ อ ย
ใช้เวลาสกัดนานมีตวั ทาละลายอินทรีย์เหลือเป็ นของเสียหลังจากกระบวนการเ
ส ร็ จ ส ม บู ร ณ์
ซึ่งตัวทาละลายอินทรีย์เหล่านี้ มกั มีความเป็ นพิษ ทัง้ ต่อผูป
้ ฏิบตั แ
ิ ละสิง่ แวดล้อม
(ใ น ก ร ณี ที่ มี ก า ร จั ด ก า ร ไ ม่ ดี )
การประยุกต์ใช้สามารถประยุกต์ใช้ได้ในการวิเคราะห์สารทีส ่ นใจทีอ่ ยูใ่ นตัวอ
ย่างของแข็ง เช่น ดิน ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เป็ นต้น

3. บริษทั ผูผ ้ ลิตและผูจ้ ดั จาหน่ าย


3.1 บริษท ั ผูผ
้ ลิตภายในประเทศไทย
ชือ
่ บริษทั ทีอ
่ ยู่ เบอร์โทร ประเทศ เว็บไซด์
บริษท ั เลขที7 ่ 1 02 279 https://w
ไทย
ฟาร์มา อาคารราชครูเมดิค 6860 ww.phar
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-5
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

นอร์ด อลเซ็นเตอร์ manords


เอส.อี.เอ. ซ.พหลโยธิน5 ถ.พ ea.co.th/
จากัด หลโยธิน products/
แขวงพญาไท bio-
เขตพญาไท biloba
กรุงเทพฯ 10400
29/3 หมู่ 10
บริษท

ตาบลบางแม่นาง 0-2147-
แซนด์-เอ็ม http://san
อาเภอบางใหญ่ 5128 ไทย
อินเตอร์เนชั่ dm.co.th
จังหวัดนนทบุรี (32)
นแนล จากัด
11140
ชัน
้ 21 เอ
อาคารมหานครยิบซั่
บริษท
ั https://w
ม 539/2 0224882
แบลคมอร์ส ww.black
ถนนศรีอยุธยา 90-2 ไทย
จากัด mores.
แขวงถนนพญาไท
co.th
เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ 10400
36/1
บริษท ั
ชอยอารีย์สม ั พันธ์
กิฟฟารีน http://ww
11 ถนนพระราม 6 02-619-
สกายไลน์ ไทย w.giffarin
แขวงพญาไท 5222
ยูนิตี้ จากัด e.com/th
เขตพญาไท
กรุงเทพฯ 10400
บริษท ั 140/1
http://ww
แบรนด์ อาคารเคียงหงวน 2
02 079 w.brands
ซั่นโทรี่ ชัน
้ 15 ถนนวิทยุ ไทย
7999 world.co.t
(ประเทศไท แขวงลุมพินี
h
ย) จากัด เขตปทุมวัน กทม.

3.2 บริษท
ั ผูผ
้ ลิตในต่างประเทศ
Manufact
Address Contact Country Web site
urers

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-6
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

Sadelmagervej +45 www.pha


Pharma
30 7585 Denmark rmanord.
Nord Aps
DK-7100 Vejle 7400 dk
(419)
425- http://ww
Century 1918 N Main St
5050 (S United w.century
Health Findlay,
outh states health.ne
Inc. OH 45840
Campus t
)
Manufact
Address Contact Country Web site
urers
1-800- https://w
Puritan’s United
- 645- ww.purita
Pride states
1030 n.com
ATT: Consumer
Affairs 1-800- www.nat
Nature's 433- United
110 Orville Drive uresboun
Bounty, states
Bohemia, NY 2990 ty.co.uk
11716
16331 Gothard
Paradise Street, Suite A, https://pa
United
Herbs Huntington - radiseher
states
Beach CA bs.com
92627
5310 Beethoven http://ww
1-800-
Irwin Street United w.irwinna
297-
Naturals Los Angeles, states turals.co
3273
CA 90066 m
1601 NE (800) www.ore
oregonswi Hemlock Ave. 316- gonswild
-
ldharvest Redmond, OR 6869 TF harvest.c
97756 om
(310) http://ww
jarrow Los Angeles,
204- USA w.jarrow.
formulas California,
6936 com
3.3 บริษท
ั ผูจ้ ดั จาหน่ ายภายในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-7
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

ชือ
่ บริษท
ั ทีอ
่ ยู่ เบอร์โทร ประเทศ เว็บไซด์
เลขที7่ 1
https://w
อาคารราชครูเมดิค
บริษทั ww.phar
อลเซ็นเตอร์
ฟาร์มา manords
ซ.พหลโยธิน5 ถ.พ 02 279
นอร์ด ไทย ea.co.th/
หลโยธิน 6860
เอส.อี.เอ. products/
แขวงพญาไท
จากัด bio-
เขตพญาไท
biloba
กรุงเทพฯ 10400
898 ซ.นวลจันทร์
บริษทั
56 แขวงนวลจันทร์ 02-791- www.vistr
เอ็นบีดี ไทย
เขตบึงกุม
่ กรุงเทพฯ 3933 a.co.th
เฮลท์แคร์
10230
จากัด
บริษทั ไบโอ
9/5 Plabpachai
พาแน็ค
Rd., +66 http://ww
ดีเวลลอปเม
Thepsirin,Pompr 2225 ไทย w.biopan
นท์
ab,Bangkok 7799 ax.com
(ประเทศไท
10100
ย) จากัด
3.4 บริษท
ั ผูจ้ ดั จาหน่ ายในต่างประเทศ
Manufact
Address Contact Country Web site
urers
Sadelmagervej +45 www.pha
Pharma
30 7585 Denmark rmanord.
Nord Aps
DK-7100 Vejle 7400 dk

4. ตัวอย่างการใช้งาน
ตัว อย่ า งการใช้ ง านสามารถจ าแนกออกตามคุ ณ สมบัติข องสารสกัด
ได้แก่
 ฤทธิต ์ า้ นอนุ มูลอิสระ (Antioxidant activity)
ฤทธิ ์ ใ นการต้ า นอนุ มู ล ออกซิ เ จนอิ ส ระของสารสกัด ใบ แปะก๊ ว ย
เป็ นผลมาจากสารกลุ่ ม ฟลาโวนอยด์ ซึ่ ง มี อ ยู่ ก ว่ า 20 ชนิ ด ในใบแปะก๊ ว ย
จากการศึก ฤทธิข ์ องสารสกัดรูปแบบต่างๆ เช่น สารสกัดแอลกอฮอล์ 100%
สารสกัด อะซิ โ ตน 90 % พบว่ า สารสกัด เหล่ า นี้ มี ฤ ทธิ ์ใ นการยับ ยั้ง Lipid
peroxidation ซึ่ ง เหนี่ ย วน าโดย H2O2 ลดปริ ม าณการผลิ ต อนุ มู ล อิ ส ระ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-8
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

ป้ องกัน LDL จาก Oxidative damage และป้ องกันเม็ดเลือดแดงจาก EGB-


761 ยังสามารถป้ องกันจอตา (Retina) จาก Lipoperoxidation
 ฤทธิ ์ย บ ั ยั้ง การเกาะตัว ของเกล็ ด เลื อ ด (Antiplatelet aggregating
activity)
กิ ง โกไลด์ บี เป็ นสารที่ มี ฤ ทธิ ์ย บ ั ยั้ง PAF (Platelet aggregating
factor) ซึ่ ง ส า ร PAF มี บ ท บ า ท ส า คัญ ใ น ก า ร เ ก า ะ ตัว ข อ ง เ ก ล็ ด เ ลื อ ด
ก า ร เ กิ ด ลิ่ ม เ ลื อ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ กิ ด อ า ก า ร บ ว ม แ ล ะ ก า ร แ พ้
จากการทดลองให้สารสกัดเอทธานอล 30 % ของใบแปะก๊วยแก่ผป ู้ ่ วย 2 ราย
พบว่ามีผลทาให้ Bleeding time เป็ นต้น
จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ค น โ ด ย ใ ช้ ส า ร กิ ง โ ก ไ ล ด์ บี (BN 52021)
ซึ่งเป็ นสารที่มีฤทธิแ ์ รงที่สุ ดในกลุ่มกิงโกไลด์ พบว่าต้องให้ข นาด 120-240
ม ก . / ก ก . ใ น แ ต่ ล ะ วั น จึ ง จ ะ เ ห็ น ผ ล ใ น ก า ร ต้ า น PAF
แต่ แ ปะก๊ ว ยจะไม่ มี ผ ลต่อ การจับ ตัว ของเกล็ ด เลื อ ดที่เ หนี่ ย วน าด้ว ย ADP
หรือสารอืน ่ ๆ
 ฤทธิเ์ พิ่ม การไหลเวี ย นของโลหิต ไปยัง สมอง (Cerebral blood flow
increase)
สารสกัดใบแปะก๊วยด้วยเอทธานอล 30 % และ 100 % ในขนาด 120-
3 0 0 ม ก . / ค น / วั น เ ป็ น เ ว ล า 4 - 1 2 สั ป ด า ห์
มี ผ ล ใ น ก า ร เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ โ ล หิ ต ที่ ไ ป เ ลี้ ย ง ส ม อ ง ท า ใ ห้ อ า ก า ร ต่ า ง ๆ
ที่ เ กิ ด จ า ก โ ล หิ ต ไ ป เ ลี้ ย ง ส ม อ ง ไ ม่ เ พี ย ง พ อ (Cerebral insufficiency)
ดี ขึ้ น ภ า ย ใ น 4 สั ป ด า ห์ แ ล ะ ห ลั ง จ า ก ใ ห้ ส า ร เ ป็ น เ ว ล า 1 2 สั ป ด า ห์
อาการของผูป ้ ่ วยดีขน ึ้ อย่างชัดเจนเมือ ่ เทียบกับกลุม ่ ทีไ่ ด้รบ
ั ยาหลอก
จ า ก ศึ ก ษ า ผ ล ข อ ง ส า ร ส กั ด Li 1370
ในผู้ ป่ วยที่ มี อ าการขาดโลหิ ต ไปเลี้ ย งสมองไม่ เ พี ย งพอจ านวน 90 คน
ซึ่งมี อ ายุ เ ฉลี่ย 62.7 ปี โดยให้ส ารสกัด 150 มก./วัน เป็ นเวลา 12 สัป ดาห์
พบว่า ผู้ป่ วยส่วนใหญ่มี ค วามจ าดีขึ้น ระยะเวลาของความตัง้ ใจ (Attention
span) ใ น ก า ร ท า ง า น เ พิ่ ง ขึ้ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ท า ง า น ต่ า ง ๆ
ที่ ต้ อ ง ใ ช้ ก า ร ป รั บ ตั ว
และการตัดสินใจทีร่ วดเร็วดีขน ้ึ แต่การเปลีย่ นแปลงในพฤติกรรมบางอย่างจะเ
ห็นพบในสัปดาห์ที่ 6

์ ระตุน
 ฤทธิก ้ ระบบไหลเวียนของโลหิต (Circulation stimulation)
สารสกัด ด้ ว ยอะซิ โ ตน และเอทธานอล 100 % ของใบแปะก๊ ว ย
มีผลในการกระตุน ้ การไหลเวียนของโลหิต เมือ
่ ฉี ดสารละลาย 50, 100, 150
และ 200 มก. ของสารสกัด EGB 761 เข้าทางเส้นเลือดดาในคนไข้ 42 คน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-9
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

พ บ ว่ า ส า ม า ร ถ เ พิ่ ม ก า ร ไ ห ล เ วี ย น ข อ ง โ ล หิ ต ที่ ผิ ว ห นั ง ไ ด้
โดยฤทธิจ์ ะเพิม ้ เป็ นสัดส่วนกับปริมาณสารสกัดทีใ่ ห้
่ ขึน
จากการศึกษาผูป ้ ่ วยทีเ่ ป็ นโรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน จานวน 60
คน โดยให้สารสกัด EGB 761 ปริมาณ 40 มก. วันละ 3 ครัง้ เป็ นเวลา 24
สัปดาห์ พบว่าสกัดดังกล่าวช่วยให้ผป ู้ ่ วยสามารถเดินได้ไกล
 ฤทธิเ์ พิม ่ ความสามารถในการเรียนรู ้ (Learning enhancement)
การทดลองโดยให้สารสกัดอะซิโตน-น้า (1:1) ของใบแปะก๊วยในขนาด
5 0 ม ก . / ก ก . ใ น ห นู ข า ว
พบว่ า หนู ส ามารถเรี ย นรู ้ ไ ด้ ร วดเร็ ว ขึ้ น เมื่ อ ให้ ส ารสกัด ก่ อ นการทดสอบ
ส่ ว น ส า ร ส กั ด เ อ ท ธ า น อ ล 9 5 % ใ น ข น า ด 1 0 0 ม ก . / ก ก .
ให้แก่หนูถีบจักรพบว่าหนูสามารถเรียนรูไ้ ด้เร็วขึน ้ และสามารถจดจาสิง่ ทีเ่ รียน
รูไ้ ด้
 ฤทธิ ์ย บ ั ยั้ง การเกิ ด ลิ ปิ ดเพอรอกไซด์ (Lipid peroxide formation
inhibition)
จ า ก ก า ร ท ด ส อ บ ฤ ท ธิ ์ ข อ ง ส า ร ส กั ด เ อ ท ธ า น อ ล 3 0 %
ของใบแปะก๊ ว ยกับ เซลล์ เ ลี้ ย งของเซลล์ บุ ผ นัง หลอดเลื อ ดแดงที่ไ ปยัง ปอด
มี ผ ลให้ ก ารยับ ยั้ง ก ารส ร้ า ง ลิ ปิ ดเพ อ รอ ก ไ ซ ด์ ซึ่ ง เห นี่ ย ว น าด้ ว ย tert-
butylperoxide
 ฤทธิช ์ ่วยให้ความจาดีขน ึ้ (Memory enhancement effect)
ส า ร ส กั ด น้ า - แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ใ น ข น า ด 4 0 ม ก . / ก ก .
เ มื่ อ ฉี ด เ ข้ า ช่ อ ง ท้ อ ง ข อ ง ห นู ถี บ จั ก ร
ช่ ว ย เ พิ่ ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร เ รี ย น รู ้ แ ล ะ ค ว า ม จ า ข อ ง สั ต ว์ ท ด ล อ ง
นอกจากนี้ ก ารให้ส ารสกัด เอทธานอล 100% ในขนาด 120-240 มก./วัน
แก่ผูป ้ ่ วยทาให้การรับรูด ึ้ เมือ
้ ีข น ่ ให้สารสกัดเอทธานอล 30% ในขนาด 320
ม ก . / ค น
แก่ ผู้ ป่ วยสู ง อายุ 18 คน ซึ่ ง มี อ าการความจ าเสื่ อ มเนื่ อ งมาจากความชรา
พบว่าสารสกัดดังกล่าวสามารถช่วยให้ความจาของผูป ้
้ ่ วยขึน
 ฤทธิท ์ าให้หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstrictor activity)
สารสกัดใบแปะก๊วย 30 % เอทธานอล เมือ ่ ให้รบ ั ประทานในขนาด 320
ม ก . / ค น ร่ ว ม กั บ ส า ร ส กั ด โ ส ม ใ น อั ต ร า ส่ ว น 3 :5
พบว่ า มี ผ ลท าให้ ห ลอดเลื อ ดหดตัว โดยวัด จากความดัน โลหิ ต 1 ชั่ว โมง
หลังจากให้ยา
 ฤทธิท ์ าให้หลอดเลือดขยายตัว (Vasodilator activity)
เ มื่ อ ใ ห้ ส า ร ส กั ด ใ บ แ ป ะ ก๊ ว ย ด้ ว ย 3 0 % เ อ ท ธ า น อ ล
ทางหลอดเลือดดาอย่างช้า ๆ (i.v. infusion) ในขนาด 25 มล./คน แก่ผูป ้ ่ วย
15 คน ซึ่งมีแผล (Lesion) ทีเ่ ส้นเลือดแดงนอกกะโหลกศีรษะ เมือ ่ ทาการวัด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-10
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

ก า ร ไ ห ล เ วี ย น เ ลื อ ด ที่ ผิ ว ห นั ง ที่ ส่ ว น ม มื อ แ ล ะ ส่ ว น เ ท้ า
พบว่าเพิม ้ อย่างมีนยั สาคัญ
่ ขึน
 ฤทธิเ์ พิม่ การมองเห็น (Visual improvement)
การให้สารสกัด (95% เอทธานอล) ทางปากแก่ผป ู้ ่ วยทีม
่ ีอาการ Senile
macular degeneration ซึ่ ง อ า จ ท า ใ ห้ ต า บ อ ด ไ ด้ นั้ น
พบว่าสามารถทาให้การมองเห็นระยะยาว และ Visual field ของผูป ้ ่ วยดีขึ้น
นอกจากนี้การให้สารสกัดแปะก๊วยแก่ผป ู้ ่ วยเบาหวานทีม่ ีอาการเสือ ่ มของจอตา
ระยะเริม
่ แรกเป็ นเวลา 6 เดือน พบว่าผูป ้ ่ วยสามารถมองเห็นได้ดข ี น ึ้ [3-7]
ข้อควรระวังในการรับประทานสารสกัดจากใบแปะก๊วย
การรับประทานสารสกัดจากใบแปะก๊วยอย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานาน
ๆ อาจจะท าให้ เ ส้ น เลื อ ดขยายตัว มากจนก่ อ ให้ เ กิ ด อัน ตรายต่ อ ร่ า งกาย
ซึ่งถ้าหากมีบาดแผลหรือต้องได้รบ ั การผ่าตัด จะส่งผลให้เลือดไหลไม่หยุดได้
อี ก ทั้ ง ยั ง มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ก า ะ ตั ว ข อ ง เ ก ล็ ด เ ลื อ ด
จึ ง มี ข้ อ ห้ า ม ใ น ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น ร่ ว ม กั บ ย า ต้ า น
ก า ร แ ข็ ง ตั ว ข อ ง เ ลื อ ด น้ า มั น ป ล า
และสมุนไพรทีท ่ าให้เลือดไหลไม่หยุดด้วยเช่นกัน [12]
5. ข้อมูลเพิม
่ เติม
ประโยชน์ ของแปะก๊วย [13]
 สารสกัดจากใบแปะก๊วยเป็ นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ
 ช่วยชะลอความแก่ชราและป้ องกันโรคมะเร็ง
 ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ก า ร ไ ห ล เ วี ย น ข อ ง โ ล หิ ต ไ ด้ ดี
ทาให้มีกา๊ ซออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง หัวใจ และอวัยวะต่าง ๆ ตามร่างกาย
 ช่วยบารุงสมอง ป้ องกันโรคสมองเสือ ่ ม
 ช่วยในเรือ ่ งของการเพิม ่ สมาธิและช่วยเพิม่ ความจาความคิด
 ช่วยให้ผป ู้ ่ วยอัลไซเมอร์มีพฒ
ั นาการรับรูแ้ ละเข้าสังคมได้ดข ึ้
ี น
 ช่วยต้านโรคซึมเศร้าอย่างได้ผลสาหรับผูป ้ ่ วยทีไ่ ม่ตอบสนองต่อการรักษ
าแบบทั่วไป
 ช่วยลดอาการตะคริวหรือการเจ็บกล้ามเนื้อบริเวณต่าง ๆ
 ช่วยลดอาการวิงเวียนศีรษะ เสียงดังในหู หรือหูอื้อลงได้
 ช่วยบรรเทาอาการเสือ ่ มสมรรถภาพทางเพศได้ดี
 ส า ร ส กั ด จ า ก ใ บ แ ป ะ ก๊ ว ย
ยังช่วยป้ องกันและรักษาโรคศูนย์กลางจอประสาทตาเสือ ่ ม
 สามารถช่วยป้ องกันโรคเบาหวานขึน ้ ตา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-11
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

 ส า ห รั บ ผู้ ป่ ว ย โ ร ค ห อ บ หื ด
การรับประทานใบแปะก๊วยจะช่วยป้ องกันการหดตัวของกล้ามเนื้อหลอด
ลม

ภ า พ ที่ 6 มื อ ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ป ะ ก๊ ว ย โ ด ย วั ด อุ ณ ห ภู มิ ที่ มื อ


พบว่าเมือ ่ เวลาผ่านไป 10 นาที ผิวหนังทีม ่ ือมีอุณหภูมส ้ จาก 12.6°C เป็ น
ิ ูงขึน
20.0°C [1]

ภ า พ ที่ 7 มื อ ที่ ไ ด้ รั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ป ะ ก๊ ว ย โ ด ย วั ด อุ ณ ห ภู มิ ที่ มื อ


พบว่าเมือ่ เวลาผ่านไป 10 นาที ผิวหนังทีม ่ ือมีอุณหภูมส ้ จาก 13.8°C เป็ น
ิ ูงขึน
30.9°C [1]

เอกสารอ้างอิง
[1] https://www.pharmanordsea.co.th/products
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-12
โครงการเพิ่มศักยภาพฐานข้อมูลอุตสาหกรรมยาทางชีวภาพและเชื้อเพลิงชีวภาพ
รายงานความก้าวหน้าครัง้ ที่ 2 (Progress Report 2)

[2] https://www.chemipan.com/home/index.php/635-
สิ น ค้ า / 6 3 6 - เ ค มี เ ค รื่ อ ง ส า อ า ง / 6 8 7 -
ส า ร ส กั ด ธ ร ร ม ช า ติ / 10412/10412-ส า ร ส กั ด แ ป ะ ก๊ ว ย - ใ บ -
ginkgobiloba-extract-25g-เคมีภณ ั ฑ์-สารเคมี.html
[3] Steinegger E, Haensel R, Lehrbuch der Pharmakognosie
and Phytopharmazie. Spronger Veriag 1988:586-88.
[4] The Complete German Commission E Monographs,
Therapeutic guide to herbal meficines. Mark Blumenthal
ed. Taxas : American Botanical Council 1998;62:136-8.
[5] Joyeux M, Lobstien A, Anton R and Mortier F.
Comparative antillipoperoxidant, antinecrotic and
scavenging properties of terpenes and biflavones from
Ginkgo and som flavonoids. Planta Med 1995:126-9.
[6] ข้ อ มู ล ด้ า น เ ภ สั ช วิ ท ย า จ า ก ฐ า น ข้ อ มู ล NAPRALERT
มหาวิทยาลัยอิลลินอยด์ สหรัฐอเมริกา.
[7] Bruneton J. Pharmacognosy-phytochemistry-medicinal
plants. New York : Lavoisier Publishing 1995:282-3.
[8] http://disthaid.blogspot.com/2017/05/gingko-biloba-l.html
[9] http://thejackrocks.blogspot.com/2016/05/aimmura-
v.html
[10 http://www.medplant.mahidol.ac.th/publish/newsletter/arc
] /171-03.pdf
[11 สายดนีย์, ห. (2552). ELSD
] กับงานวิเคราะห์สมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ.
วารสารเพือ ่ การวิจยั และพัฒนาองค์การเภสัชกรรม.
[12 https://www.hibalanz.com/th/สารสาคัญทีพ ่ บในสารสกัดจากใบแ
] ปะก๊วย-Ginkgo-Biloba-และผลของการรักษาโรค
[13 https://medthai.com/แปะก๊วย/ หนังสือวิตามินไบเบิล (ดร.เอิร์ล
] มินเดลล์)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บทที่
59 สารสกัดจากแปะก๊วย (Ginkgo)
59-13

You might also like