You are on page 1of 110

Chemistry

เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 1


P “Rain”
เรื่องที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ

อะตอม (Atom) คือ เป็นภาษาที่มาจากภาษากรีก แปลว่าไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก ในทางเคมี อะตอม


หมายถึง อนุภาคที่ไม่สามารถแบ่งให้เล็กลงได้อีก

1.1 แบบจำลองของดอลตัน สามารถสรุปได้ดังนี้


- ธาตุหรือสารประกอบใดๆ ก็ตาม จะประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็ก เรียกว่า อะตอม
- อะตอมของดอลตัน มีรูปร่างเป็นทรงกลม ไม่สามารถแบ่งให้เล็กลงได้อีก
- อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีคุณสมบัติเหมือนกัน แต่ถ้าอะตอมของธาตุต่างชนิดกันจะมีคุณสมบัติต่างกัน
- สารประกอบ เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไปมารวมกันเกิดเป็นสารประกอบ ซึ่งจะมีเลขอัตราส่วนแตกต่างกันไป
และเป็นจานวนเลขลงตัวน้อยๆ
- อะตอมไม่สามารถสูญสลายหรือเกิดขึ้นมาใหม่ได้

2 แบบจาลองของทอมสัน ได้ค้นพบ “อนุภาคอิเล็กตรอน (e-)” โดยศึกษาจากรังสีแคโทด


- การค้นพบอิเล็กตรอน ทอมสันสนใจปรากฎการณ์ในหลอดรังสีแคโทด จึงได้สร้างหลอดรังสีแคโทดทีเ่ ขาได้ดัดแปลง

e/m = 1.759 x 108 คูลอมบ์/กรัม

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 2
P “Rain”
- การค้นพบโปรตอน คือ ออยเกน โกลดสไตน์ ค้นพบรังสีบวก หรือรังสีแคแนล

- การทดลองของมิลลิแกน มิลลิแกนทดลองโดยฉีดน้ามันเป็นฝอยเล็กๆ ซึ่งมันมีความหนาแน่นมากกว่า


อากาศจึงค่อยๆตกผ่านช่องโลหะแผ่นบนลงมาชนแผ่นล่างเมื่อต่อความต่างศักย์เข้ากับแผ่นโลหะทั้งสองพบว่าบางหยด
เคลื่อนที่ลง บางหยดเคลื่อนที่ขึ้นบางหยดหยุดนิ่ง หรื อเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ “สรุปได้ว่ำ บนหยดนำมันแต่ละ
หยดที่มีประจุไฟฟ้ำลบนันได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มเป็นจำนวนต่ำง ๆ กัน เช่น เป็น 2,3, 4,...ตัว โดยประจุไฟฟ้ำของ
อิเล็กตรอนหนึ่งตัวมีขนำดเท่ำกับ 1.6 x 10-19 คูลอมบ์ และใช้สัญลักษณ์ e- แทนค่ำประจุไฟฟ้ำของอิเล็กตรอน”

 จากข้อมูลทัง้ หมดที่กล่าวมา ทาให้ทอมสัน ได้เสนอรูปแบบใหม่ของอะตอม

อะตอมมีลักษณะเป็นรูปร่างทรงกลม มีประจุบวก (p+) และประจุลบ (e-)


อยู่ภายในอะตอม และกระจายอยู่สม่าเสมอ และในอะตอมจะมีลักษณะเป็น
กลางทางไฟฟ้า คือมีประจุบวกและประจุลบเท่ากัน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 3
P “Rain”
1.3 แบบจาลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
ทาการทดลองโดยยิงอนุภาคแอลฟาที่ได้มาจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี ไปที่แผ่นทองคา และมีฉาก
เรืองแสงขดเป็นวงกลมล้อมรอบแผ่นทองคา หลังจากที่ยิงอนุภาคแอลฟาไปแล้วพบว่า อนุภาคส่วนใหญ่จะเดินทางเป็น
เส้นตรง และมีอนุภาคบางส่วนที่มีการเลี้ยวเบน หรือสะท้อนกลับมา

และจากการทดลอง รัทเทอร์ฟอร์ดจึงอธิบายผลการทดลองว่า
- การที่อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่ทะลุแผ่นทองคาเป็นแนวเส้นตรงแสดงว่า อะตอมนั้นจะต้องมีพื้นที่ ว่า ง
พอที่จะให้อนุภาคแอลฟาสามารถทะลุผ่านไปได้
- อนุภาคแอลฟาบางส่วนที่มีการเลี้ ยวเบนจากเส้นตรงหรือมีการสะท้อนกลับ เพราะภายในอะตอมนั้นมีมวล
และมีประจุไฟฟ้าบวกสูง ดังนั้นเมื่ออนุภาคแอลฟากระทบหรือเข้าใกล้กับอนุภาคนี้ จะเกิดการสะท้อนกลับหรือถูก
เบี่ยงเบนออกจากแนวเดิม
 จากข้อมูลทัง้ หมดที่กล่าวมา ทาให้รัทเทอร์ฟอร์ด ได้เสนอรูปแบบใหม่ของอะตอม

อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอน โดยโปรตอนจะรวมกันเป็น
นิวเคลียสอยู่ตรงกลาง มีประจุบวกและมีมวลมาก ส่วนอิเล็กตรอนจะมีประจุ
ลบ มีมวลน้อย และเคลื่อนทีอ่ ยู่รอบนิวเคลียส จานวนอิเล็กตรอนจะเท่ากับ
จานวนโปรตอน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 4
P “Rain”
1.4 แบบจาลองของโบร์ สรุปแบบจาลองอะตอมของโบร์
- อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง และมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ
นิวเคลียส ซึ่งอิเล็กตรอนจะอยู่ในระดับชั้นพลังงานต่างๆ
- แต่ละระดับพลังงานสามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ดังนี้
จานวนอิเล็กตรอน = 2n2 เมื่อ n คือชั้นระดับพลังงาน
ระดับพลังงาน K ………………………………………………………………………………
ระดับพลังงาน L ………………………………………………………………………………
ระดับพลังงาน M ………………………………………………………………………………
ระดับพลังงาน N ………………………………………………………………………………
- อิเล็กตรอนวงนอกสุด (Valent electron) เป็นอิเล็กตรอนที่อยู่ระดับพลังงานชั้นนอกสุด (ห่างจากนิวเคลียส
มากที่สุด) และเป็นอิเล็กตรอนที่จะเกิดปฏิกิริยาต่างๆ ได้ง่ายที่สุด

 จากข้อมูลทัง้ หมดที่กล่าวมา ทาให้โบร์ ได้เสนอรูปแบบใหม่ของอะตอม

อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกัน
เป็นนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง และมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ นิวเคลียส ซึ่งจะวิ่ง
เป็นชั้นๆ หรือระดับพลังงาน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 5
P “Rain”
การจัดระดับพลังงานหลัก โดยแถบระดับพลังงาน มี 7 ระดับ ได้แก่ K, L, M, N, O, P และ Q

ตัวอย่างการจัดเรียงพลังงานหลัก และแบบย่อยของธาตุต่างๆ
ธาตุ การจัดเรียงแบบหลัก การจัดเรียงแบบย่อย
11Na

20Ca

6C

16S

18Ar

21Sc

24Cr

28Ni

29Cu

29Cu
2+

35Br
-

19K
+

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 6
P “Rain”
เรื่องที่ 2 เคมีกับตารางธาตุ
ธาตุแบ่งออกเป็น 8 หมู่ 7 คาบ (H ……………………………….)
หมู่ 1 (โลหะอัลคาไลน์) หมู่ 2 (โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท) หมู่ 3
สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ

Li Be B
Na Mg Al
K Ca Ga
Rb Sr In
Cs Ba Tl
Fr Ra
หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 6 (ชาลโคเจน)
สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ

C N O
Si P S
Ge As Se
Sn Sb Te
Pb Bi Po

หมู่ 7 (ฮาโลเจน) หมู่ 8 (ก๊าซเฉื่อย)


สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ สัญลักษณ์ วิธีท่อง ชื่อธาตุ

He
F Ne
Cl Ar
Br Kr
I Xe
At Rn

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 7
P “Rain”
โลหะทรานซิชนั ที่ควรจา !
Sc ……………………………….. Fe ……………………………….. Ag ………………………………..
Ti ……………………………….. Co ……………………………….. Cd ………………………………..
V ……………………………….. Ni ……………………………….. Pt ………………………………..
Cr ……………………………….. Cu ……………………………….. Au ………………………………..
Mn……………………………….. Zn ……………………………….. Hg ………………………………..

- สรุปประเด็นสำคัญเกี่ยวกับตำรำงธำตุ
 ตารางธาตุแบ่งออกเป็น 8หมู่ 7คาบ
 ธาตุโลหะอยู่ด้ายซ้ายมือ อโลหะอยู่ด้านขวา และ กึ่งโลหะอยู่ตรงขั้นบันได
 H (ไฮโดรเจน) ไม่จัดอยู่ในหมูใ่ ดของตารางธาตุ
 ธาตุหมู่ 1A เรียกว่า โลหะแอลคาไล (Alkali), หมู่ 2A เรียกว่า โลหะแอลคาไลเอิร์ท (Alkali earth) เพราะพบ
บนพื้นโลก, หมู่ 6A เรียกว่า ชาลโคเจน (Chalcogen), หมู่ 7A เรียกว่า ฮาโลเจน (Halogen), หมู่ 8A เรียกว่า
ก๊าซเฉื่อย (Inert gas) ธาตุโลหะทุกธาตุเป็นของแข็งที่ RTP (Room Temperature Pressure) ยกเว้น Hg
 โลหะหมู่ 1A, 2A ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีมาก วางไว้ในอากาศไม่ได้ การเก็บรักษาต้องเก็บไว้ในน้ามัน
 โลหะทรานซิชนั ส่วนใหญ่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก

จงนาตัวเลขไปใส่หน้าข้อที่แสดงความสัมพันธ์อย่างเหมาะสมและถูกต้องที่สุด
ก) Cr Mn Fe ข) Xe Kr He ค) O S Se ง) Cs Rb Fr
จ) Be Ra Sr ฉ) N P As ช) C Si Ge ซ) Cl Br I ฌ) B Al In
.................. Alkali metals ................... Alkali earth metals .................. Chalcogens
.................. Halogens .................... Transition metals .................. Inert Gas

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 8
P “Rain”
เรื่องที่ 3 การเขียนสูตรสารประกอบและชื่อ มีการจาแนกเป็น 2 ประเภท
1. การเขียนสารประกอบแบบไอออนิก
 การเขียนสารประกอบประเภทนี้จะให้เขียนโลหะก่อนอโลหะ โลหะ + อโลหะ
โดยการเขียนสูตรจะเกิดจากการไขว้เลขออกซิเดชันของแต่ละธาตุ
เพิ่มเติม - โลหะหมู่ 1, 2, 3 เลขออกซิเดชัน +1, +2, +3 ตามลาดับ
- โลหะหมู่ 4 (± 4) , หมู่ 5 (-3) , หมู่ 6 (-2) , หมู่ 7 (-1)
 การอ่านชื่อสารประกอบ อ่านชื่อสารโลหะได้เลย ส่วนอโลหะให้ลงท้ายด้วยเสียง ไ-ด์
เช่น Na+ + Cl- = NaCl = โซเดียมคลอไรด์ (Sodiumchloride)

• การอ่านคาลงท้ายของการอ่านชื่อ
N3- Nitride (ไนไตรด์)
C4- …………………………………….
O2- …………………………………….
S2- …………………………………….
F- …………………………………….
Cl- …………………………………….
Br- …………………………………….
I- …………………………………….
H- …………………………………….

อนุมูลกลุ่ม ได้แก่

SO42- ………………….. PO43-………………….. CO32-………………….. ClO4-…………………..


NH4+………………….. NO3-………………….. CN-………………….. OH-…………………..
HCO3- …………………. HSO4-………………….. CH3COO-……………… NO2-…………………..
CrO42-………………….. Cr2O72-………………….. MnO4-………………….. ClO3-…………………..

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 9
P “Rain”
การเขียนสารประกอบไอออนิก
สารประกอบ สูตรสารประกอบ ชื่อสารประกอบ
1.Na + Cl
2.K + Cl
3.Li + F
4.Li + O
5.Na + S
6.Rb + O
7.Al + O
8.Al + Br
9.Mg + Cl
10.Ca + I
11.Sr + F
12.Ba + O
13.Ba + NO3-
14.Na + SO42-
15.K + PO43-
16.Li + NO3-
17.Cu + SO42-
18.Al + OH-
19.Cd + SO42-
20.Ca + OH-
21.Ag + NO3-
22.K + SO42-
23.NH4+ + Cl
24.K + NO3-
25.Ag + PO43-

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 10
P “Rain”
2. การเขียนสารประกอบแบบโคเวเลนต์
การเขียนสารประกอบประเภทนี้ อโลหะ + อโลหะ โดยการเขียนสูตรจะเกิดจากการไขว้เลขออกซิเดชันของ
แต่ละธาตุ

 การอ่านชื่อสารประกอบ อ่านเลขห้อยแล้วลงท้ายด้วยเสียง ไ-ด์


เพิ่มเติม คาอ่านของเลขห้อย มีดังนี้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Mono Di Tri Tetra Penta Hexa Hepta Octa Nona Deca

**Trick ของการเขียนชื่อสารประกอบโควาเลนต์

การเขียนสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบ สูตรสารประกอบ ชื่อสารประกอบ


1. C + O
2. Be + Cl
3. B + F
4. C + Cl
5. P + Cl
6. N + Cl
7. H + O
8. S + F
9. O + F
10. N + I
11. Si + Cl
12. P4O10
สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552
หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 11
P “Rain”
13. N2O
14. As + F
15.CH4
16.AsCl3
17.PCl3
18.ClF3
19.IF5
20.H2S

จงเขียนชื่อและสัญลักษณ์ธาตุให้ถูกต้อง
สัญลักษณ์ ชื่อธาตุ ชื่อภาษาไทย สัญลักษณ์ ชื่อธาตุ ชื่อภาษาไทย
Pb Pt
ปรอท Sn
silver เหล็ก
As กามะถัน
Sb สังกะสี

จงเขียนสูตรทางเคมีของสารประกอบต่อไปนี้
เอทานอล ....................................... น้าตาลทราย .......................................
ก๊าซไข่เน่า ....................................... กรดไนตริก .......................................
น้าปูนใส ....................................... หินปูน .......................................
ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ ....................................... คาร์บอนมอนอกไซด์ .......................................
ด่างทับทิม ....................................... โซดาไฟ .......................................

Write the molecular formulas or names of chemical compound in the table


Formula Name of Compounds Formula Name of Compounds
KClO4 Barium sulfide
Te(CN)2 Arsenic trichloride
BeF2 Xenon dioxide
Fe(NO3)3 Gallium hydride
NH4Cl Acetic acid
GeH4 Dry ice
สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552
หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 12
P “Rain”
3. การเขียนไอออนเชิงซ้อน/ สารประกอบเชิงซ้อน

: ไอออนเชิงซ้อน หมายถึง ไอออนที่เกิดจากอะตอมหรือกลุ่มอะตอม (ลิแกนด์) ล้อมรอบโลหะที่เป็นอะตอมกลาง


(ส่วนใหญ่เป็นโลหะทรานซิชัน) และยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
: เป็นได้ทงั้ ไอออนบวก และไอออนลบ
: เลขโคออดิเนชัน คือ จานวนลิแกนด์ทั้งหมดที่มาเกาะอะตอมกลาง
: ตัวอย่างสารประกอบเชิงซ้อน
สารประกอบเชิงซ้อน ไอออนที่มาจับด้วย สารประกอบเชิงซ้อนที่ได้

[Co(NH3)6]3+
3Cl- [Co(NH3)6]Cl3
อะตอมกลาง ลิแกนด์ เลขโคออดิเนชัน

[Fe(C2O4)3]3-
3K+ K3[Fe(C2O4)3]
อะตอมกลาง ลิแกนด์ เลขโคออดิเนชัน

: การอ่านชื่อสารประกอบ

 อ่านชื่อไอออนบวกก่อนแล้วค่อยอ่านชื่อไอออนลบ

 ถ้าโลหะอะตอมใดมีลิแกนด์เกาะอยู่ให้อ่านจานวนลิแกนด์ก่อนตามด้วยชื่อลิแกนด์แล้วค่อยอ่านชื่อโลหะ

 เลขจานวนลิแกนด์ อ่านดังนี้
จานวนลิแกนด์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อ่านว่า Mono Di Tri Tetra Penta Hexa Hepta Octa Nona Deca

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 13
P “Rain”
1. ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย –ide เปลี่ยน –o
ไอออนลบ ชื่อทั่วไป ชื่อเมื่อเป็นลิแกนด์
F-
Cl-
Br-
I-
O2-
OH-
CN-

2. ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย –ite หรือ -ate เปลี่ยน –ito, -ato


ไอออนลบ ชื่อทั่วไป ชื่อเมื่อเป็นลิแกนด์
CO32- carbonate
S2O32- thiosalfate
SCN- thiocyanate
NO2- nitrite
C2O42- oxalate

3. ลิแกนด์ที่เป็นกลาง เรียกชื่อเหมือนกับโมเลกุลที่เป็นกลาง
สารประกอบ ชื่อเมื่อเป็นลิแกนด์
H2O aqua
NH3 ammine
CO Carbonyl
NO Nitrosyl

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 14
P “Rain”

4. ไอออนเชิงซ้อนมีประจุลบ ตัวอย่าง
โลหะ ชื่อโลหะ ชื่อโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่มีประจุลบ
Al Aluminium aluminate
Cr Chromium chromate
Mn Manganese manganate
Ni Nickel nickelate
Co Cobalt colaltate
Zn Zinc Zincate
Mo Molybdenum Molybdate
Fe Iron Ferrete
Au Gold Aurate
Ag Silver Argentate
Cu Copper Cuprate

จงอ่านชื่อสารประกอบเชิงซ้อน
K3[Fe(CN)6]…………………………………………………………………………………………………………………………………….
[Co(NH3)6]Cl…………………………………………………………………………………………………………………………………….
[Cu(NH3)4]SO4…………………………………………………………………………………………………………………………………….
Li2[Ni(CN)6]…………………………………………………………………………………………………………………………………….
[Ni(H2O)6]SO4…………………………………………………………………………………………………………………………………….

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 15
P “Rain”
อนุภำคมูลฐำนของอะตอม ในปัจจุบันนี้เป็นที่ทราบกันแล้วว่า อะตอมประกอบไปด้วยอนุภาคที่สาคัญสามชนิด ได้แก่
อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน อนุภาคทั้งสามชนิดนี้เรียกว่า อนุภาคมูลฐาน ของอะตอม
อนุภาค ประจุ สัญลักษณ์ มวล (กรัม) มวล (a.m.u)
โปรตอน +1.6x10-19 +1 1.67x10-24 1.007285
อิเล็กตรอน -1.6x10-19 -1 9.10x10-28 0.000549
นิวตรอน 0 0 1.67x10-24 1.008665

 หมายเหตุ : 1 a.m.u = 1.66 x 10–24กรัม สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนโดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับจานวน


อนุภาคมูลฐานของอะตอม เรียกว่า สัญลักษณ์นิวเคลียร์ รูปแบบการเขียนเป็นดังนี้

 เลขอะตอม (Z) คือจานวนโปรตอนที่มีในนิวเคลียสและหากเป็นอะตอมปกติจะเป็นกลางทางไฟฟ้า (ประจุไฟฟ้า


รวมเป็น ศูนย์ ) จานวนโปรตอนจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ดังนั้นเลขอะตอมจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนด้วย
 เลขมวล ( A ) คือมวลรวมของอะตอม

ข้อควรทราบเกี่ยวกับสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ****
1. เลขอะตอม = จานวนโปรตอน = ลาดับของธาตุในตารางธาตุ
* ถ้ารู้จานวนโปรตอน จะรู้ว่าเป็นธาตุลาดับที่เท่าไรในตารางธาตุ และเป็นธาตุอะไร
* ถ้าจานวนโปรตอนของอะตอมเปลี่ยนไปชนิดและสมบัตขิ องอะตอมจะเปลี่ยนไป
* อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีจานวนโปรตอนเท่ากัน

2. อะตอมปกติ จานวน p+ = จานวน e- จะทาให้ประจุไฟฟ้ารวม = 0 (เป็นกลางทางไฟฟ้า)


* หากอะตอมปกติรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า 1 ตัว ประจุรวม = –1 เขียนเป็น AZX-
* หากรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า 2 ตัวประจุรวม = –2 เขียนสัญลักษณ์เป็น AZX2-
* หากเสียอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัว ประจุรวม = +1 เขียนสัญลักษณ์เป็น AZX+
* หากเสียอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัว ประจุรวม = +2 เขียนสัญลักษณ์เป็น AZX2+

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 16
P “Rain”
เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอม
คาสั่ง จงเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1. ในนิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยอนุภาค........ชนิด คือ........................................................................
2. อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า คืออนุภาค......................................................................................................
3. ตัวเลขที่แสดงจานวนโปรตอนในอะตอม เรียกว่า..........................................เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์......................
4. ตัวเลขที่แสดงผลรวมของจานวนโปรตอน และนิวตรอน เรียกว่า.......... หรือ......... เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์.............
5. อะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะมีจานวนอนุภาค................................ เท่ากับอนุภาค.......................................
6. จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุต่อไปนี้
6.1 ธาตุ Na มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 และเลขมวลเท่ากับ 23 ............................................
6.2 ธาตุ S มี 16 โปรตอน มีมวลอะตอมเท่ากับ 32 ............................................................
6.3 ธาตุ Ba มี 56 โปรตอน และ 81 นิวตรอน ....................................................................
6.4 ธาตุ P มี 15 อิเล็กตรอน และ 16 นิวตรอน ..................................................................
7. ไอออนของ X3- มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 10 มีมวลอะตอมเท่ากับ 31
ก. ธาตุ X มีโปรตอนกี่อนุภาค................. ข. ธาตุ X มีเลขอะตอมเท่าไร...............
ค. ธาตุ X มีนิวตรอนกี่อนุภาค................. ง. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ X คือ .....................
8. ไอออนของ Y2- มีอิเล็กตรอน 18 อนุภาค
ก. ธาตุ Y มีโปรตอนกี่อนุภาค................... ข. ธาตุ Y มีเลขอะตอมเท่าไร.....................
9. ไอออนของ Ca2+ มีอิเล็กตรอนเท่ากับ 18 มีนิวตรอนเท่ากับ 20 จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ
ธาตุ Ca …………………………………………….
10. จงเติมคาตอบลงในตาราง และตอบคาถามต่อไปนี้
ธาตุ เลขอะตอม เลขมวล อิเล็กตรอน โปรรตอน นิวตรอน สัญลักษณ์
นิวเคลียร์
A …………………………. 26 …………………… 14 …………………… ……………………
B2+ 38 88 …………………… …………………… …………………… ……………………
D 14 ……………………. …………………… …………………… 14 ……………………
X3- …………………………. ……………………. 54 …………………… 71 ……………………
Y …………………………. ……………………. 82 …………………… 125 ……………………
Z- 35 ……………………. …………………… …………………… 50 ……………………

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 17
P “Rain”
ไอโซโทป ไอโซบำร์ ไอโซโทน และไอโซอิเล็กทรอนิก
ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุเดียวกัน แต่มีมวลไม่เท่ากัน เช่น
12 C กับ 136C กับ 146C 16 O กับ 17 O กับ 18 O
6 8 8 8
สาเหตุที่เลขมวลไม่เท่ากัน เพราะมีจานวนนิวตรอนไม่เท่ากัน

ไอโซบาร์ คือ อะตอมของธาตุต่างชนิดกัน แต่มีมวลเท่ากัน เช่น


14 C กับ 147N
6

ไอโซโทน คือ อะตอมธาตุต่างชนิดกัน แต่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน เช่น


39 K กับ 40 Ca ทั้งสองตัวนี้มีจานวนนิวตรอน 20 ตัวเท่ากัน
19 20

ไอโซอิเล็กทรอนิก คือ อะตอมธาตุต่างชนิดกัน แต่มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน เช่น 168O2- กับ 2010Ne ทั้งสองตัวนี้มี


จานวนอิเล็กตรอน 10 ตัวเท่ากัน

จงเลือกธาตุที่เป็นไอโซโทป ไอโซบาร์ ไอโซโทน และไอโซอิเล็กทรอนิก จากธาตุที่กาหนดให้ต่อไปนี้


12 C , 13 C , 14 C , 10 B, 11 B , 14 N, 15 N, 16 O , 32 S2- และ 40 Ar
6 6 6 5 5 7 7 8 16 18
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 18
P “Rain”
เลขออกซิเดชัน

หมายถึง ตัวเลขแสดงค่าประจุไฟฟ้าที่แท้จริงหรือประจุไฟฟ้าสมมติของธาตุ

หลักการคิดเลขออกซิเดชัน
 หมู่ I, II, III มีเลขออกซิเดชัน +1, +2, +3 ตามลาดับ เช่น Na+, Mg2+, Al3+
 ธาตุ F มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1 เสมอ เนื่องจากมีค่า EN (ความสามารถในการดึงดูด
อิเล็กตรอน) สูงสุดในตารางธาตุ
 หมู่ V, VI, VII ส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชัน -3, -2, -1 ตามลาดับ
 ธาตุหมู่ VIII ไม่มีเลขออกซิเดชัน (มีค่า=0) เพราะเสถียรอยู่แล้ว จึงไม่เกิดสารประกอบ
 ธาตุแทรนสิชันบางชนิดส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าและมีค่าเป็นบวก ส่วนธาตุแทรนสิ
ชันบางชนิดที่มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียวได้แก่ Ag+, Zn2+, Sc3+
 H มีค่าเป็น +1 ถ้าเป็นพันธะโคเวเลนต์ และมีค่าเป็น -1 ถ้าเป็นพันธะไอออนิก
 ไอออนชนิดเดียวกันจะมีค่าประจุเท่ากัน
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
 ธาตุอิสระทุกตัวมีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ 0 เช่น Na, Zn, O2, S8
 เลขออกซิเดชันของสารประกอบใดๆ ก็ตาม รวมกันจะมีค่าเท่ากับ 0 หรือ เท่ากับไอออนที่ปรากฏ
อยู่
 เลขออกซิเดชันจะมีค่าเป็นจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ หรือเศษส่วนก็ได้
 ถ้าสารประกอบมีธาตุ 3 ตัว ให้หาเลขออกซิเดชันของธาตุ 2 ตัวริมก่อน!

ความแตกต่างของเลขออกซิเดชันและเลขแสดงประจุของธาตุ
ความแตกต่าง เลขออกซิเดชัน ประจุของธาตุ
1. ชนิดของประจุ +,-,0 +,-
2. วิธีการเขียน +หรือ- อยู่หน้าตัวเลข เช่น +1,+2,- +หรือ- อยู่หลังตัวเลข เช่น +, 2+, -
1 , 2-
3. หาได้จากสารประกอบ ไอออนิก,โควาเลนต์, โลหะ ไอออนิกเท่านั้น

ลองทำดูนะ!
สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552
หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 19
P “Rain”
จงคานวณหาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบและไอออนต่อไปนี้

ข้อ สูตรของสาร ผลของการหาเลขออกซิเดชันของธาตุต่างๆ


1 K4P2O7 K= P= O=
2 NaHCO3 Na= H= C= O=
3 K2Cr2O7 K= Cr = O=
4 CaSiO3 Ca= Si= O=
5 Fe3O4 Fe = O=

Calculate the oxidation number for underline-element of the compound


1.1 HMnO4 Mn = 1.2 AsH2 As =
1.3 K3CrF6 Cr = 1.4 HAsO42- As =
1.5 S4O62- S = 1.6 As4 As =
1.7 Na2CrO4 Cr = 1.8 Fe3O4 Fe =

จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิขันในสารประกอบหรือไอออนเชิงซ้อนต่อไปนี้
[Cu(NH3)3H2O]O = ……………………………… [Co(NH3)5CO3]+ = …………………………………..
[Cr(NH3)4(SO4)]+ = ……………………………… [ZnCl4]2- = …………………………………..
[PtCl4]2- = ……………………………… [Ag(CN)2]- = …………………………………..
K2[Ni(CN)4] = ………………………………

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 20
P “Rain”
เรื่องที่ 4 ปริมาณสารสัมพันธ์

สารละลาย (Solution)
คือ สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิเ์ กิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ
1. ตัวทาละลาย (solvent)= สารที่มีความสามารถในการทาให้สารต่างๆ ละลายได้ โดยไม่ทาปฏิกิริยาเคมีกับสารนั้น
2. ตัวละลาย (solute)= สารที่ถูกตัวทาละลายละลายให้กระจายออกไปทั่วในตัว ทาละลายโดยไม่ทาปฏิกิริยาเคมี

โดยมีวิธีการสังเกตตัวทาละลายและตัวละลายดังนี้
▪ ใช้สถานะของสารละลายเป็นเกณฑ์ สารใดที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลาย สารนั้นจะเป็นตัวทาละลาย เช่น น้า
ด่างทับทิม ประกอบน้าเป็นตัวทาละลายและด่างทับทิมเป็นตัวละลาย
▪ ใช้ปริมาณของสารแต่ละชนิดเป็นเกณฑ์ สารใดที่มีปริมาณมากกว่าสารนั้นจะเป็นตัว ทาละลาย เช่น ทองเหลือง
ประกอบด้วยทองแดงเป็นตัวทาละลายและสังกะสีเป็นตัวละลาย

ความเข้มข้นของสารละลาย

ตัวอย่าง 1 ต้องนา MgBr2 มากี่กรัม เพื่อทาให้ได้สารละลายจานวน 0.5 kg ที่มีความเข้มข้น 20% โดยมวล

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 21
P “Rain”
ตัวอย่าง 2 สารละลายอะซิโทนในน้าปริมาตร 1 dm3 ประกอบด้วยอะซิ โทน 20 g ความหนาแน่นอะซิโทน
0.79 g/cm3 สารละลายมีความเข้มข้นกี่ %โดยปริมาตร

ตัวอย่าง 3 น้าส้มสายชู 80 g มีกรดแอซิติกละลายอยู่ 5 g ถ้าน้าส้มสายชูมีความหนาแน่น 1.13 g/cm3 น้าส้มสายชูนี้


เข้มข้นกี่ %โดยมวล/ปริมาตร

ตัวอย่าง 4 สารละลาย NaCl เข้มข้น 20 %โดยมวล/ปริมาตร จานวน 200 cm3 จะมี NaCl กี่โมล

ตัวอย่าง 1 CaCl2 22.2 g ในสารละลาย 250 cm3 จงหาความเข้มข้นในหน่วย mol/dm3

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 22
P “Rain”
ตัวอย่าง 2 สารละลาย KMnO4 เข้มข้น 0.2 mol/dm3 จานวน 5 dm3 จะมีมวลของ KMnO4 กีก่ รัม

(ข้อสอบปี’54) สารละลายกรด HNO3 เข้มข้น 20% โดยปริมาตร ถ้ากรด HNO3 มีความหนาแน่น 1.4 g/cm3
จงคานวณหาความเข้มข้นของกรด HNO3 ในหน่วย โมล/ลิตร

ตัวอย่าง 1 จงหามวลของ NaBr ที่ละลายในน้า 0.25 kg เพื่อเตรียมสารละลายเข้มข้น 0.2 m

ตัวอย่าง 2 มีสาร A 4 g ในน้า 250 g พบว่ามีความเข้มข้น 0.4 mol/kg จงหามวลโมเลกุลของ A

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 23
P “Rain”
การเตรียมสารละลาย โดยทั่วไปมี 3 ลักษณะ
1. การนาสารบริสุทธิ์มาละลายในตัวทาละลาย (ส่วนใหญ่ใช้น้าเป็นตัวทาละลาย)
2. การนาสารละลายเข้มข้นที่มีอยู่แล้วมาทาให้เจือจาง
3. การนาสารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกันมาผสมกัน

กำรนำสำรบริสุทธิ์มำละลำยในตัวทำละลำย
หลักการเตรียม คือ ละลายสารบริสุทธิ์ที่เป็นของแข็งตามปริมาณที่ต้องการลงในตัวทาละลาย แล้วปรับปริมาตรของ
สารละลายให้ได้ตามที่ต้องการ

1. ถ้ามี Pb(NO3)2 อยู่ 3.31 กรัม ต้องการเตรียมสารละลาย Pb(NO3)2 ที่มีความเข้มข้น 0.4 โมลต่อลิตร จะได้
สารละลายนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

2. หากมีแคลเซียมไฮดรอกไซด์ Ca(OH)2 148 กรัม ต้องการนาสารที่มีทั้งหมดมาเตรียมเป็นสารละลายแคลเซียมไฮดร


อกไซด์เข้มข้น 5 M จะต้องเตรียมสารละลายได้มากสุดกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

3. นาสารชนิดหนึ่งมา 112 g ละลายน้าจนได้ปริมาตร 400 cm3 สารละลายจะมีความเข้มข้นเป็น


5 mol/dm3 สารละลายดังกล่าวน่าจะเป็นสารชนิดใด (NaOH , KOH , NaCl , MgCl2)

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 24
P “Rain”

1. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เข้มข้น 0.02 M จานวน 500 cm3 จากขวดที่บรรจุสารละลาย


กรดซัลฟิวริกที่มีความเข้มข้น 98 % โดยมวล/ปริมาตร และมีความหนาแน่น 1.82 g/cm3 จะต้องใช้สารละลายกรด
ซัลฟิวริกจากขวดดังกล่าวกี่ cm3

2. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เข้มข้น 0.4 M จานวน 250 cm3 จากสารละลายกรดซัลฟิวริก


ในขวดที่มีป้ายบอกว่ามีความเข้มข้น 1 M จะต้องใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกในขวดดังกล่าวกี่ cm3 และใช้น้ากลั่น
สาหรับเติมกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

3. ถ้านาสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1.0 โมล/ลิตรมา 20 cm3 แล้วเติมน้าจนมีปริมาตรเป็น 300 cm3 จะได้
สารละลายเข้มข้นกี่โมล/ลิตร

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 25
P “Rain”
4. สารละลาย NaOH 4.8 กรัม ในสารละลาย 1 ลิตร ถ้านามา 100 cm3 แล้วทาให้เป็นสารละลายเข้มข้น 0.1
mol/dm3 จะต้องเติมน้าจนปริมาตรรวมทั้งเป็นกี่ cm3 จึงจะได้ความเข้มข้นที่ต้องการ

5. มีสารละลาย NaOH 0.5 โมล/ลิตร จานวน 200 cm3 จะต้องเติมน้าลงไปเท่าใดจึงจะได้สารละลาย 0.2 โมลาร์

ตัวอย่าง 1 ผสมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.3 M จานวน 150 mL กับสารละลาย HCl 0.4 M จานวน 50 cm3 จะได้
สารละลายมีความเข้มข้นเท่าใด

ตัวอย่าง 2 นาสารละลาย HBr เข้มข้น 0.4 M และสารลาย HBr เข้มข้น 0.1 M อย่างละกี่ dm3 มาผสมกันจึงจะได้
สารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 M จานวน 5 dm3

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 26
P “Rain”

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 27
P “Rain”
1. สารละลายซูโครส 0.25 mol/Kg มีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งเท่าใด เมื่อกาหนดให้
(Kb ของน้าเท่ากับ 0.512 oC/mol/kg และ Kf ของน้าเท่ากับ 1.86 oC/mol/kg )

2. สารละลายที่มีแนฟทาลีน C10H8 2.56 g ในไนโตรเบนซีน C6H5NO2 80 g มีจุดเดือดสูงกว่า


ไนโตรเบนซีนบริสุทธิ์ 1.5 oC จงหาค่าคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด

3. สาร A 6.8 g ละลายในเอทานอล 56.2 g สารละลายทีไ่ ด้มีจุดเดือด 80.1 oC ที่ความดัน 1 atm


จงคานวณหามวลโมเลกุลของสาร A (เอทานอลมี Kb = 1.22 oC/m และมีจุดเดือด 78.5 oC)

4. จงหามวลของแนฟทาลีน (C10H8) ที่ละลายไนโตรเบนซีน (C6H5NO2) จานวน 250 กรัม ได้สารละลายมีจุดเดือด


213.50 oC กาหนดจุดเดือดของไนโตรเบนซีน เท่ากับ 210.88 oC และ Kb ของไนโตรเบนซีน เท่ากับ 5.24 oC/mol

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 28
P “Rain”

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 29
P “Rain”

(ข้อสอบปี’53) สารประกอบชนิดหนึ่งจานวน 16.5 กรัม ละลายในน้า 250 กรัม สารละลายมีจุดเดือดเพิ่มขึ้น


0.20 oC สารประกอบนี้มีคาร์บอน 57.2% ไฮโดรเจน 4.7% และออกซิเจน 38.1% โดยมวล จงหาสูตรโมเลกุลของ
สารนี้ กาหนด Kb ของน้า = 0.51 oC/m

(ข้อสอบปี’54) เมื่อนา 5 กรัม ของธาตุ X มาทาการเผาในก๊าซออกซิเจนที่มีจานวนมากเกินพอ ปรากฏว่าได้ออกไซด์


ของ X หนัก 6.9 กรัม ถ้ามวลอะตอมของธาตุ X = 56 และมวลโมเลกุลออกไซด์ของ X = 696 จงหาสูตรเอมพิริคัล
และสูตรโมเลกุลของออกไซด์นั้น

(ข้อสอบปี’57) สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยธาตุ C 42.4%, H 2.4%, N 16.8% และ O 38.4% โดยมวล ถ้า


สารประกอบนี้ 1 โมล หนัก 168 กรัม จงหาสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 30
P “Rain”
สมการเคมี
เป็นสมการที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร โดยเมื่อสารตั้งต้นเข้าทาปฏิกิริยากัน
จะเกิดสารใหม่ขึ้นซึ่งเราเรียกว่าผลิตภัณฑ์ เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
สารตั้งต้น → ผลิตภัณฑ์

1. _Al + _O2 → _Al2O3

2. _NaN3 → _Na + _N2

3. _H2 + _Fe3O4 → _Fe + _H2O

4. _KI + _MgCl2 → _KCl + _MgI2

5. _P4 + _Cl2 → _PCl3

6. _Sr + _P4 → _Sr3P2

7. _Cl2 + _KBr → _KCl + _Br2

8. _Ca(NO3)2 + _K2CO3 → _CaCO3 + _KNO3

9. _Cl2 + _Ba(OH)2 → _BaCl2 + _Ba(ClO3)2 + 6H2O

10. _I2 + _SO2 + _H2O → _HI + _H2SO4

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี (Calculation in Chemical Equation) สมการเคมีที่ดลุ


สมการแล้ว สามารถแสดงให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆของสารในปฏิกิริยาเคมีด้วย ตัวอย่างเช่น

…..H2(g) + ……O2(g) → ........H2O


จานวนโมล ...................... ..................... ......................
มวล(g) ...................... ..................... ......................
ปริมาตร ...................... ..................... ......................
(dm3ที่ STP)
จานวนโมเลกุล ...................... ..................... ......................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 31
P “Rain”

ตัวอย่าง 1 เมื่อใส่ Zn (สังกะสี) ลงในสารละลายกรด HCl (ไฮโดรคลอริก) 2.5 mol/l จานวนมากเกินพอ จะเกิดแก๊ส
H2 (แก๊สไฮโดรเจน) 5.6 dm3 ดังนั้นจะต้องใช้สังกะสีทั้งหมดกี่กรัม และใช้สารละลายกรด HCl กี่ cm3

ตัวอย่าง 2 จะต้องใช้ C6H12O6 กีก่ รัม จึงเกิด CO2 33.6 ลิตร ที่ STP กาหนดเป็นปฏิกิริยาดังนี้

ตัวอย่าง 3 นาหินปูน 5 g มาเผาจะสลายตัวหมดให้ CaO และได้ CO2 672 cm3 ที่ STP จงคานวณหามวลเป็นร้อย
ละของ CaCO3 ในหินปูน

ตัวอย่าง 4 แร่ชนิดหนึ่งประกอบด้วย FeS และสิ่งอื่นที่ไม่ทาปฏิกิริยากับกรด เมื่อนาแร่นี้มา 20 กรัม ต้มกับกรด


H2SO4 ซึ่งมีปริมาณมากเกินพอ จนเกิดปฏิกิริยาสิ้นสุด ปรากฏว่าได้ก๊าซ H2S ทั้งหมด 3.4 กรัม จงคานวณว่าแร่นั้น
ประกอบด้วย FeS ร้อยละเท่าใดโดยมวล
ถ้าสมการของปฏิกิริยาดังกล่าวคือ FeS + H2SO4 → FeSO4 + H2S

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 32
P “Rain”
สารกาหนดปริมาณและร้อยละของผลผลิต

ศึกษาปฏิกิริยาการเกิดน้า โดยให้แก๊สไฮโดรเจนทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ดังสมการ


2H2(g) + O2(g) → 2H2O(g)

ปฏิกิริยาข้างหมดจะพบว่า เมื่อปฏิกิริยาเกิดเป็นสมบูรณ์แล้ว จะมีแก๊สไฮโดรเจนเหลืออยู่ในปฏิกิริยา แสดงว่าปฏิกิริยา


นี้มีแก๊สไฮโดรเจนมากเกินพอ (Excess) และนอกจากนี้จะพบว่าแก๊สออกซิเจนถูกใช้จนหมดในการเกิดปฏิกิริยา
(Limit)

ดังนั้นแสดงว่าแก๊สออกซิเจนเป็น “สารกาหนดปริมาณ” และผลิตภัณฑ์จะเกิดขึ้นได้มากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับปริมาณ


ของสารกาหนดปริมาณ

▪ ขั้นตอนการหาสารกาหนดปริมาณ
. นาสิ่งที่โจทย์กาหนดมาให้ มาหารด้วยปริมาณของสารนั้นที่ทาปฏิกิริยาพอดี ตามสมการที่ดุลแล้ว
. พิจารณาผลหาร โดยสารที่หารแล้วเหลือน้อยกว่า จะเป็นสารกาหนดปริมาณ

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 33
P “Rain”
1. เมื่อเผาโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 336 กรัม จะได้โซเดียมคาร์บอเนต 169.6 กรัม กับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
และไอน้า ร้อยละของผลได้ของโซเดียมคาร์บอเนตเป็นเท่าใด
กาหนดสมการ 2NaHCO3 → Na2CO3 + CO2 + H2O

2. เมื่อเผา Zn กับผงกามะถัน จะได้ ZnS ดังสมการ


Zn + S → ZnS
ถ้านา Zn มา 100 กรัม ทาปฏิกิริยากับ S 32 กรัม หลังจากปฏิกิริยาสมบูรณ์จะได้ ZnS กีก่ รัม

3. จงคานวณร้อยละโดยมวลของธาตุต่างๆ ในกรดกามะถัน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 34
P “Rain”
4. หากนาแก๊สไนโตรเจน 84 กรัม มาทาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน 12 กรัม เพื่อผลิตแก๊สแอมโมเนีย
- จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาที่ถูกต้อง พร้อมดุลสมการ

- สารใดเป็นสารกาหนดปริมาณ

- สารใดเป็นสารมากเกินพอ และเหลืออยู่กี่กรัม

- จะเกิดแก๊สแอมโมเนียขึ้นกี่ลกู บาศก์เดซิเมตรที่ STP

5. จากสมการ Mg(s) + HCl(aq) → MgCl2(aq) + H2(g)


เมื่อนาโลหะแมกนีเซียม 9.6 กรัม มาทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1.2 mol/dm3 ปริมาตร 200 cm3 จะ
เกิด MgCl2 ขึ้นกี่กรัม และเหลือโลหะแมกนีเซียมหรือไม่ ถ้าเหลือจะเหลือกีก่ รัม

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 35
P “Rain”
6. ปฏิกิริยาระหว่าง Cr2O3 จานวน 3.01x1023 โมเลกุล ซึ่งทาปฏิกิริยาพอดีกับ Al ดังสมการ
Cr2O3 + Al → Al2O3 + Cr
จงคานวณผลผลิตร้อยละของธาตุ Cr ถ้าจากการทดลองพบว่าเกิดธาตุ Cr จานวน 26 กรัม

7. ปฏิกิริยาระหว่าง V จานวน 50 กรัม ทาปฏิกิริยากับ CaO จานวน 56 กรัม


ดังสมการ V + CaO → V2O5 + Ca
ก. สารใดคือสารกาหนดปริมาณ

ข. เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดจะเหลือสารใด ปริมาณกี่กรัม

ค. จงคานวณหาปริมาณเป็นกรัมของ V2O5 ที่ผลิตได้

ง. ถ้าจากการทดลองพบว่าเกิด V2O5 จานวน 2 กรัม จงคานวณค่าผลผลิตร้อยละของปฏิกิริยานี้

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 36
P “Rain”
เรื่องที่ 5 พันธะเคมี
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หมายถึง แรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นระหว่างประจุลบของอนุภาคหนึ่งกระทากับ
ประจุบวกของอีกอนุภาคหนึ่ง (อนุภาค = อะตอม, โมเลกุล และ ไอออน)

พันธะโคเวเลนต์ (Covalent Bond)


 เกิดจากธาตุที่เป็นอโลหะกับอโลหะ หรืออโลหะกับกึ่งโลหะ (รวมทั้ง B และ Be ) = เกิดจากธาตุทุกอะตอม
เอาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกัน เพื่อทาให้อะตอมแต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบแปด หรือเหมือน
แก๊สเฉื่อย (กฎออกเตต)
 สมบัติของโมเลกุลโคเวเลนต์
I. จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า เพราะการเดือดทาลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
พันธะไฮโดรเจน > แรงดึงดูดระหว่างขั้ว (ไดโพล-ไดโพล) > แรงลอนดอน
II. ส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟ้า แต่จะนาได้ถ้ามีขั้วและโมเลกุลนั้นสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ (กรดต่างๆ)
III. เขียนสูตรโมเลกุลได้
IV. หน่วยเล็กที่สุด เรียกว่า “โมเลกุล”

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 37
P “Rain”
กฏออกเตต หรือ กฏครบแปด
“ธาตุทุกธาตุจะพยายามทาให้ตัวเองมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดครบแปด (เหมือนกับธาตุหมู่ 8) โดยถ้าเป็นสารประกอบ
โคเวเลนต์ ธาตุแต่ละธาตุจะพยายามนาอิเล็กตรอนของตัวเองไปใช้งานร่วมกันกับธาตุอื่น”
 อะตอมที่ใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเรียกว่า อะตอมคู่ร่วมพันธะ
 ถ้าอะตอมคู่ร่วมพันธะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่จะเกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์ที่เรียกว่า พันธะเดี่ยว

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 38
P “Rain”
การเขียนสูตรโครงสร้างโมเลกุลโคเวเลนต์
1. สูตรแบบจุด คือ สูตรโครงสร้างที่แสดงจานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุดไว้ในรูปของจุด
2. สูตรแบบเส้น คือ สูตรโครงสร้างที่แสดงเฉพาะอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะโดยแสดง 1 เส้นเท่ากับ 1 คู่
 ตารางแสดงเวเลนต์อิเล็กตรอนของธาตุแต่ละหมู่

สารที่มีจานวนแขนมากที่สุด สารนั้นต้องเป็นอะตอมกลาง โดยจานวนแขนของสารต่างๆ ดังนี้


 F Cl Br I H มี 1 แขน
 O S มี 2 แขน
 N มี 3 แขน
 C Si มี 4 แขน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 39
P “Rain”
การเขียนแบบที่1 สารประกอบโคเวเลนต์แบบทั่วไป
สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น

CO2

CS2

HCN

BF3

BeCl2

PCl5

CCl4

NH3

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 40
P “Rain”
การเขียนแบบที่2 สารประกอบอินทรีย์ มีสูตรโมเลกุลที่แตกต่างกันดังนี้
 CnH2n+2 สารประกอบอัลเคน เกิดพันธะระหว่างคาร์บอน แบบพันธะเดี่ยว
 CnH2n สารประกอบอัลคีน เกิดพันธะระหว่างคาร์บอน แบบพันธะคู่
 CnH2n-2 สารประกอบอัลไคน์ เกิดพันธะระหว่างคาร์บอน แบบพันธะสาม

สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น

CH4

C2H4

C3H4

C5H12

C6H10

C2H6

C3H6

C4H10

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 41
P “Rain”
การเขียนแบบที่3 สารประกอบกรดออกซี
1. ให้เอา H ต่อกับ O แขนของ O อีกด้านหนึ่งต่อกับอะตอมกลาง
2. ส่วน O ที่เหลือจะต่อกับอะตอมกลางแบบพันธะคู่ หรือโคออร์ดิเนตก็ได้ ขึ้นอยู่กับอะตอมกลางนั้น
3. ถ้าอะตอมกลางยังไม่ครบ 8 ต้องต่อแบบพันธะคู่ แต่ถ้าอะตอมกลางครบ 8 แล้ว ให้ต่อแบบโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์

สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น

H2SO4

HNO3

H2CO3

HClO4

H3PO4

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 42
P “Rain”

การเขียนแบบที่4 สารประกอบพันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
พันธะที่เกิดจากอะตอมใดอะตอมหนึ่งจ่ายอิเล็กตรอนคู่ไปให้ธาตุตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อให้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน
ครบ 8 โดยไม่รับอิเล็กตรอนจากธาตุตัวนั้นกลับมา
สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น

NH4+

OCN-

การเขียนแบบที่5 สารประกอบเรโซแนนซ์
การเกิดเรโซแนนซ์ คือ ปรากฏการณ์ที่ทาให้สามารถเขียนโครงสร้างลิวอิสได้มากกว่า 1 แบบ ซึ่งการเกิด
เรโซแนนซ์จะทาให้โมเลกุลมีเสถียรภาพเพิ่มขึ้น โครงสร้างที่แสดงการเกิดเรโซแนนซ์ เรียกว่า โครงสร้างเรโซแนนซ์
สาร สูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น

SO2

O3

NO3-

N2O4

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 43
P “Rain”

รูปร่างพันธะ
โมเลกุลโคเวเลนต์ มีรูปร่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแรงผลักภายในโมเลกุลของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะและอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง
คู่ e- = จุดอะตอมกลาง – แขนอะตอมล้อมรอบ

ชื่อรูปร่าง โครงสร้างรูปร่าง มุมพันธะ ตัวอย่าง

เส้นตรง (Linear) 180o

มุมงอ (Bent) <120o

หรือ ตัววี (V-Shaped) <109.5o

สามเหลี่ยมแบนราบ
120o
(Trigonal planar)

พีระมิดฐานสามเหลี่ยม
<109.5o
(Trigonal pyramidal)

ทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 109.5o

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 44
P “Rain”

พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม
90o และ 120o
(Trigonal bipyramidal)

ทรงสี่เหลี่ยมแบนราบ
90o
(Square Planar)

ทรงแปดหน้า
90o
(Octahedral)

1. จงทานายรูปร่างโมเลกุลคเวเลนต์ของสารประกอบต่อไปนี้พร้อมทั้งบอกขนาดมุมระหว่างพันธะ

สาร เขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นตาม ชื่อรูปร่างโมเลกุล มุมพันธะ


รูปร่างโมเลกุล

NO3-

TeF2

SF6

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 45
P “Rain”

PO33-

AsH5

SO2

SiO2

H2SO4

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท


I. แรงแวนเดอร์วาลส์ (Van Der Waal Forces) เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ไม่แข็งแรงนัก เป็นแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้ว แรงนี้จะมีสภาพขั้วเกิดขึ้นชั่วคราวเนื่องจากอิเล็กตรอนในอะตอมไม่อยู่นิ่ง
ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนรอบๆ นิวเคลียสเปลี่ยนแปลงได้ ทาให้ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนไม่สม่า
เสมอ จึงเกิดเป็นขั้วขึ้นและโมเลกุลที่อยู่ข้างเคียงถูกเหนี่ยวนาให้เกิดขั้วขึ้นเช่นกัน แล้วโมเลกุลเหล่านั้นก็จะ
เกิดแรงดึงดูดกัน เรียกว่า แรงลอนดอน ตัวอย่าง สารที่ยึดเหนีย่ วระหว่างโมเลกุลเป็นแรงลอนดอน ได้แก่ He
Ar CH4 O2 เป็นต้น
แรงลอนดอนจะมีมากหรือน้อย ขึ้นกับ มวลโมเลกุล จานวนอิเล็กตรอน ขนาดและรูปร่าง
II. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่แข็งแรงกว่าแรงลอนดอน เนื่องจากสารพวกนี้
นอกจากจะมีแรงลอนดอนแล้ว ยังขึ้นกับสภาพของขั้วด้วย ตัวอย่าง สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
เป็นแรงระหว่างขั้ว เช่น SO2 HCl PCl3

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 46
P “Rain”
III. พันธะไฮโดรเจน เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่สภาพขั้วของโมเลกุลสูงมาก เกิดจากธาตุ H และธาตุที่
มีอิเล็กโทรเนกาติวิตี้ (EN) สูง และมีขนาดเล็ก ได้แก่ F O N สภาพขั้งที่สูงมาก เป็นเพราะผลต่างของค่า EN
มีค่ามาก จงเปรียบเทียบจุดเดือดของ HF H2O NH3……………………………………………………………………………….

หมายเหตุ : สารประกอบที่ มี แ รงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งโมเลกุ ล เฉพาะแรงแวนเดอร์ ว าลส์ อาจมี จุ ด เดื อ ดสู ง กว่ า
สารประกอบที่มีแรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจนก็ได้ ถ้าสารนั้นมีมวลโมเลกุลมากกว่ามากๆ

1. จงเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบต่อไปนี้ พร้อมทั้งระบุว่าสารแต่ละชนิดสามารถเกดพันธะไฮโดรเจนได้
หรือไม่
สาร สูตรโครงสร้างแบบเส้น แสดงการเกิดพันธไฮโดรเจน
HCOOH

HCiO3

CF2H2

2. จงระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเลนต์ต่อไปนี้
NHCl2 ..........................................................................................................
C2H2 ..........................................................................................................
HCN ..........................................................................................................
SiH3F ..........................................................................................................
SCl2 ..........................................................................................................
CH3OH ..........................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 47
P “Rain”
เรื่องที่ 6 แก๊ส ของแข็ง ของเหลว
การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ

 กระบวนการสร้างพันธะ เป็นกระบวนการคายความร้อน
 กระบวนการสลายพันธะ เป็นกระบวนการดูดความความ
การระเหิด

ความ
ร้อน

ดูด
การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
การแข็งตัว การควบแน่น
ความ
ร้อน

คาย

การพอกพูน

 สมบัติของแก๊ส (Gas)
พารามิเตอร์ในการคานวณเรื่องก๊าซ

T V
1L =
𝐂 𝐅 − 𝟑𝟐
𝟓
=
𝟗 อุณหภูมิ oC,oF, K 1000 cm3 ปริมาตร dm3, l

1dm3 =
K=oC+273
1ลิตร

P
1ATM =
760mmHg ความดัน ATM

1ATM =
1บรรยากาศ

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 48
P “Rain”
 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส แก๊สแบ่งเป็น
 แก๊สจริง (Real gas) มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ไม่เป็นตามทฤษฎีแก๊ส 100%
 แก๊สอุดมคติ (Ideal gas) ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล เป็นตามทฤษฎีแก๊ส 100% โดยมีสมบัติ
ดังนี้
 ไม่มีแรงกระทาระหว่างโมเลกุลของแก๊ส ยกเว้นเมื่อเกิดการชนกันเท่านั้น จึงไม่มีพลังงานศักย์ จะมีแต่
พลังงานจลน์เท่านั้น
 โมเลกุลเป็นทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และเท่ากันทุกโมเลกุล
 ไม่ว่าโมเลกุลของแก๊สจะชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะที่บรรจุ ถือว่าเป็นการชนแบบยืดหยุ่น
สมบูรณ์ คือ ไม่มีการสูญเสียพลังงานจลน์หลังการชน ทาให้โมเลกุลของแก๊สมีอัตราเร็วคงตัว

 กฎต่างๆ ของแก๊สมีดังนี้

 กฎของบอยล์ (Boyle’s Law)


เมื่ออุณหภูมแิ ละมวลคงที่ ความดันของแก๊สแปรผกผันกับปริมาตรแก๊ส (PและV หน่วยเป็นอะไรก็ได้)
P1V1 = P2V2

PV
T1
T2

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 49
P “Rain”
 กฎของชาร์ล (Charles’s Law)
เมื่อความดันและมวลคงที่ ปริมาตรแก๊สแปรผกผันกับอุณหภูมิ (V หน่วยเป็นอะไรก็ได้ แต่ T ต้องเป็นเคลวิน
เท่านั้น)

V V
1  2
T T
1 2
V P1
P2

T(K)

 กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s Law)


เมื่อปริมาตรและมวลคงที่ ความดันแก๊สแปรผกผันกับอุณหภูมิ (P หน่วยเป็นอะไรก็ได้ แต่ T ต้องเป็นเคลวิน
เท่านั้น)

P P
1  2
T T
1 2
P V1
V2

T(K)

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 50
P “Rain”
 กฎรวมก๊าซ  จาสูตรนี้สูตรเดียวพอ 3 สูตรแรกไม่ต้องจา ใช้ในการหาสมบัติของแก๊สที่สภาวะใหม่
P1V1 PV P1V1 PV
กรณีมวลคงที่  22 กรณีมวลไม่คงที่  22
T1 T2 m1T1 m2T2
 m = มวลของแก๊ส หน่วย g หรือ kg ก็ได้

 กฎของก๊าซอุดมคติ  ใช้สูตรนี้ก็ต่อเมื่อโจทย์ต้องการหาสมบัติของแก๊สที่สภาวะใดๆ

P= ความดันแก๊ส
PV = nRT n = โมลของแก๊ส
(ATM)
V= ปริมาตรแก๊ส
m = มวลของแก๊ส (g)
(dm3)
แปลงค่า n MW=มวลโมเลกุลแก๊ส T= อุณหภูมิแก๊ส (K)
N=ความเข้มข้นแก๊ส
R= 0.082 atm·dm3/mol·K
(mol/dm3)
PV m
 P=NRT
RT MW

 กฎความดันย่อยของดาลตัน
 ใช้สูตรนี้ก็ต่อเมื่อหาความดันรวมของแก๊สหลายๆ ชนิดที่กระทาต่อภาชนะ
 แก๊สหลายชนิดอยู่ในภาชนะ เดียวกัน
Pรวม = P1 + P2 + P3 + … + Pn

 แก๊สหลายชนิดอยู่ในภาชนะหลายใบที่ต่อท่อกันถึง PรวมVรวม = P1V1 + P2V2 + P3V3 + … + PnVn

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 51
P “Rain”

 กฎการแพร่ของเกรแฮม

R = อัตราการแพร่ของแก๊ส (ml/min)
d = ความหนาแน่นของแก๊ส (g/cm3)
R1 d M2 v1 s1 t2
 2    
R2 d1 M1 v 2 t1 s2 M = มวลโมเลกุลของแก๊ส

v = ความเร็วของแก๊ส

การแพร่ (Diffusion) = การเคลื่อนที่ของแก๊สจาก


การแพร่ผ่าน (Effusion) = การที่แก๊สแพร่ผ่านรูเล็กๆ
บริเวณหนึ่งไปสู่อีกบริเวณหนึ่ง โดยมีการชนกันของ
ไปสู่อีกบริเวณหนึ่ง โดยไม่มีการชนกันของโมเลกุลแก๊ส
โมเลกุลแก๊สตลอดเวลาการแพร่

 ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของแก๊ส :
1. มวลโมเลกุล แก๊สทีม่ ีมวลน้อยกว่าจะแพร่ได้เร็วกว่าแก๊สที่มีมวลมาก
2. ความหนาแน่น แก๊สที่ความหนาแน่นน้อยจะแพร่ได้เร็วกว่า
 กฎของเกรแฮม : อัตราการแพร่ผ่านของแก๊สจะแปรผกผันกับรากที่สองของความหนาแน่น

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 52
P “Rain”
1. จงจับคู่นักวิทยาศาสตร์กับทฤษฎีของนักวิทศาสตร์ให้ถูกต้อง
Boyle’s Law Gay Lassac’s Law Charle’s Law Combined gas law
Graham’s Law Avogadro’s Law Ideal gas equation DmitriIvanovish Mendeleev
John Newlands Johaun Dobereiner Henry Moseley
𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2 𝑃1 𝑃2 𝑉1 𝑉2 𝑉1 𝑉2
= 𝑃1 𝑉1 = 𝑃2 𝑉2 = = = 𝑃𝑉 = 𝑛𝑅𝑇
𝑉1 𝑇2 𝑇1 𝑇2 𝑛1 𝑛2 𝑇1 𝑇2

1.1 เมื่อทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันของแก๊สกับอุณหภูมิ เมื่อปริมาตรคงที่ พบว่า ความดันของ


แก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ เป็นกฎของ.........................................สูตรคือ..................................................

2.2 เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผกผันกับความดันเป็นกฎของ


..........................................................สูตรคือ................................................................................

2.3 แก๊สทุกชนิดที่มีปริมาตรเท่ากันภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะมีจานวนโมลและโมเลกุลเท่ากัน


เป็นกฎของ.....................................................สูตรคือ.................................................................................

2.4 เมื่อมวลและความดันของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน

เป็นกฎของ........................................................ สูตคือ……………………………………………………………………………

2.5 อัตราการแพร่ของแก๊สแปรผกผัน กับรากกาลังที่สองของมวลโมเลกุลของแก๊ส เป็นกฎของ

............................................................................................................................................................................

3. เครื่องดับเพลิงบรรจุแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์จนเต็ม หนัก 3 กิโลกรัม ถ้าใช้แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ไป 2


ใน 3 อยากทราบว่าแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ที่เหลือทั้งหมดที่ถูกปล่อยมาที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ณ ความ
ดัน 760 มิลลิเมตรปรอท จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 53
P “Rain”
4. เมื่ออัดอากาศที่มีแก๊ส N2 : O2 ในอัตราส่วน 5 : 1 โดยปริมาตร ในถังที่มีความจุ 1,000 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่
27 องศาเซลเซียส ให้มีความดัน 100 บรรยากาศ แล้วลดอุณหภูมิจนถึง -183 องศาเซลเซียส จน O2 กลายเป็น
ของเหลวพอดี ความดันภายในตัวถังขณะนี้ มีค่าเท่าใด (กาหนดให้ออกซิเจนเหลวมีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับ
ขนาดของถัง)
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
5. แก๊สชนิดหนึ่งที่ความดัน 1 บรรยากาศ มีปริมาตร 20 ลิตร มีจานวนโมล 5 โมล ณ อุณหภูมิหนึ่ง ถ้าเพิ่มความดันให้
แก๊สนี้ 2 เท่า ลดปริมาตรลงครึ่งหนึ่ ง และเพิ่มจานวนโมลของแก๊สขึ้น 3 เท่าของสภาวะเดิม จงหาว่าอุณหภูมิจะ
เปลี่ยนไปอย่างไร
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
6. ถ้าแก๊ส A มีอัตราการแพร่เร็วกว่าแก๊ส B 1.5 เท่า ส่วนแก๊ส C มีอัตราการแพร่เร็วกว่าแก๊ส A 3 เท่า จงคานวณว่า
แก๊ส C มีอัตราการแพร่เร็วกว่าแก๊ส B กี่เท่า
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 54
P “Rain”
 สมบัติของของแข็ง (Solid)
- มีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคมากกวาของเหลวและกาซ
- จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารในสถานะของแข็งสวนใหญมีคาสูงกวาของเหลวและกาซ
- มีรูปรางแนนอนไมขึ้นอยูกับภาชนะทีบ่ รรจุ
- มีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่
- ไมสามารถไหลไดตามภาวะปกติ เนื่องจากอนุภาคของแข็งอยูชิดกันมาก

การจัดเรียงตัวของอนุภาคของของแข็ง

 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง
1. ของแข็งผลึก 2. ของแข็งอสัณฐาน
 เป็นโครงสร้างของแข็งที่อยู่กันเป็นระเบียบแบบแผน  อยูปะปนกันอยางไมเปนระเบียบ ไมมีรูปรางที่แนนอน
 ผิวหนาเรียบ มุมระหวางผิวหนามีคาแนนอน  ผิวหนาไม่เรียบ
 มีจุดหลอมเหลวแนนอน  ช่วงหลอมเหลวกว้าง
 มีสมบัติไมเหมือนกันทุกทิศทาง  มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง
 เช่น คาร์บอน ฟอสฟอรัส กามะถัน  เช่น พลาสติก แก้ว พอลิเมอร์บางชนิด ยาง
ตัวอย่างผลึกของแข็งที่เกิดจากธาตุเดียวกันแต่โครงสร้างต่างกัน ซึ่งผลึกลักษณะนี้จะเรียกว่า อัญรูป จะมีสมบัติทาง
กายภาพและทางเคมีต่างกัน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 55
P “Rain”
อัญรูปของธาตุคาร์บอน (C)

ฟลูเลอรีน (Fullerene) เพชร (Diamond) แกรไฟต์ (Graphite)

อัญรูปของธาตุกามะถัน (S8)

กามะถันมอนอคลินิก มีสถานะเปนของแข็งรูปผลึกเป
กามะถันรอมบิก เปนกามะถันทีอ่ ยูในธรรมชาติ และ
นรูปเข็ม ผลึกนี้จะอยูตัวที่อุณหภูมิสูงกวา 96 ๐C ดังนั้น
เสถียรที่อุณหภูมิปกติ
จึงไมอยูตัวที่ภาวะปกติ

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 56
P “Rain”
 ประเภทของผลึกของแข็ง
ชนิดของ ชนิดของแรงยึด
ประเภทของผลึก สมบัติของผลึก ตัวอย่างของผลึก
อนุภาค เหนี่ยวหรือพันธะ
 ผลึกโมเลกุล โมเลกุ ล หรื อ โมเลกุลมีขั้ว - จุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า โมเลกุลมีขั้ว
อะตอม - พันธะไฮโดรเจน - ไม่นาความร้อนและไฟฟ้า - น้าแข็ง (H2O)
- แรงดึงดูดระหว่างขั้ว - เป็นของแข็ง ไม่เปราะมาก - แอมโมเนีย (NH3)
โมเลกุลไม่มีขั้ว โมเลกุลไม่มีขั้ว
- แรงลอนดอน - น้าแข็งแห้ง
- แนฟทาลีน
- กามะถัน
- ไอโอดีน
 ผลึกไอออนิก ไอออน พันธะไอออนิก - แข็งแต่เปราะ - สปก.ไอออนิกทุกชนิด
- ไม่ น าไฟฟ้ า ในสภาพของแข็ ง เช่น –เกลือแกง
แ ต่ น า ไ ฟ ฟ้ า ไ ด้ ดี ใ น ส ภ า พ - ด่างทับทิม
หลอมเหลว - โซดาไฟ
- จุ ด เ ดื อ ด จุ ด ห ล อ ม เ ห ล ว - ปูนดิบ
ค่อนข้างสูง
 ผลึกโลหะ อะตอม พันธะโลหะ - น าไฟฟ้ า และความร้ อ นได้ ดี - เหล็ก
มาก - ทองแดง
- แข็งและเหนียว ยืดเป็นเส้นได้ - แมกนีเซียม
- จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมาก - โซเดียม
- จัดตัวไม่เป็นระเบียบบางส่วน
 ผลึก อะตอม พันธะโคเวเลนต์ - จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมาก - เพชร
โคเวเลนต์ร่างตาข่าย - ไม่นาไฟฟ้าและความร้อน - แกรไฟต์
- การจัดเรียงตัวเป็นระเบียบสูง - ซิลิกาไดออกไซด์
- ผลึกบางชนิดนาไฟฟ้าได้ เช่น
แกรไฟต์, ฟอสฟอรัสดา

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 57
P “Rain”
 การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง
1. การหลอมเหลว 2. การระเหิด
เมื่ อ ของแข็ ง ได รั บ ความร อน อนุ ภ าคจะเกิ ด การ อนุภาคของของแข็ง ที่อยู ใกลกันมาก ทาใหมีโอกาส
สั่นคลอนและมีพลังงานจลน์มากขึ้น จนสูงสุดที่ทาให้ กระทบกันได จึงมีการถายเทพลังงานใหแกกันที่อุณหภูมิ
อนุภาคหลุดออกจากกัน ความเป็นระเบียบของของแข็ง หนึ่ ง บาง อนุ ภ าคที่ ผิ ว หนาของของแข็ ง มี พ ลั ง งานสู ง
จะลดลงจนท าให้ อ นุ ภ าคสามารถเคลื่ อ นที่ ไ ปมาได้ พอที่จะหลุดเปนไอได การที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป
ของแข็งนั้นจึงกลายเป็นของเหลว อุณหภูมินั้นจึงเป็นจุด นไอ โดยไมผานสถานะของเหลวกอน เรี ย กวา การ
หลอมเหลวของของแข็ง และขณะเดียวกันอุณหภูมิของ ระเหิด (Sublimation) จึงทาใหของแข็งมีขนาดเล็กลง
ของแข็งที่เปลี่ยนเป็นของเหลวเรียกว่า จุดเยือกแข็ง และหมดไปในที่สุด สารที่ระเหิดได เช่น แนฟทาลีน(ลูก
* จุดหลอมเหลว= จุดหลอมเหลวของของแข็งที่ ความ เหม็น) การบูร พิมเสน ไอโอดีน เปนตน
ดัน 1 บรรยากาศ ในระหวางการหลอมเหลวของแข็งอยู  ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหิด
ใน สมดุลกับของเหลว จุดหลอมเหลวของของแข็ง เป - อุณหภูมิสูงระเหิดได้ดีขึ้น
นอุณหภูมิที่ของแข็งและของเหลวอยูรวมกันในสมดุล ที่ - ความดันต่าลงระเหิดได้ดีขึ้น
อุณหภูมิ 0 ๐C - พื้นที่ผิวมาก ระเหิดได้ดีขึ้น (อัตราการระเหิดมากขึ้น)
- แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ระเหิดได้มากขึ้น
________________________________________________________________________

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 58
P “Rain”
 สมบัติของของเหลว (Liquid)
- โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่ไม่เป็นระเบียบ ชนกันตลอดเวลา
- โมเลกุลของของเหลวมีแรงดึงดูดกันมากกว่าแก๊สทาให้มีปริมาตรที่แน่นอนกว่าแก๊ส แต่น้อยกว่าของแข็ง
- ของเหลวจะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และมีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง
- เนื่องจากภายในของเหลวมีช่องว่างระหว่างโมเลกุล เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนจะมีการหดตัวและขยายตัว

การจัดเรียงตัวของอนุภาคของของเหลว

สมบัติของของเหลวทั่วไปที่ต้องศึกษา
 การระเหย (Evaporation)

- ของเหลว → ไอ ที่อุณหภูมิต่ากว่าจุดเดือด
- เกิดจากโมเลกุลเคลื่อนที่ตลอดเวลาทาให้แต่ละโมเลกุลมีความเร็วไม่เท่ากัน ทาให้โมเลกุลที่มีพลังงานจลน์
สูงจนชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลหลุดออกจากผิวหน้าของเหลวกลายเป็นไอ

- ของเหลวที่ระเหยง่าย → มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลต่า

- ของเหลวที่ระเหยยาก → มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง
- เมื่อของเหลวเกิดการระเหยแล้วของเหลวที่เหลือจะมีพลังงานจลน์ลดลงเสมอทาให้อุณหภูมิของของเหลว
ลดลง→นามาทาเครื่องทาความเย็น

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 59
P “Rain”
ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย
1. อุณหภูมิ α การระเหย
2. พื้นที่ผิว α การระเหย
3. ความดันของบรรยากาศเหนือของเหลว
4. การถ่ายเทของอากาศเหนือของเหลว จากการกวนหรือคนของเหลว

 ความดันไอ (Vapor pressure)


- เป็นความดันไอของสารที่อยู่เหนือของเหลวในสภาวะสมดุลไดนามิก (ความดันไอ=การควบแน่น)
- สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงจะมีความดันไอต่า (ระเหยยาก) จุดเดือดจะสูง
- สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลต่าจะมีความดันไอสูง (ระเหยง่าย) จุดเดือดจะต่า

 ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอ

1. แรงระหว่างโมเลกุล  1
ความดันไอ
2. จุดเดือด  ความดันไอ
3. สารชนิดเดียวกันอุณหภูมิความดันไอจะเท่ากันเสมอ ไม่ว่าจะปริมาตรต่างกัน
 ความดันไอไม่ขึ้นกับปริมาตร
4. ความดันไอเกิดขึ้นที่สภาวะสมดุล  เกิดขึ้นทีร่ ะบบปิดเท่านั้น
5. อุณหภูมิ  ความดันไอ

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 60
P “Rain”

 การเดือดของของเหลว
- การเดือด (Boiling) จะเกิดขึ้นเมื่อความดันไอของของเหลวเท่ากับความดันของบรรยากาศ ณ อุณหภูมินั้นๆ
เรียกว่า จุดเดือด (Boiling point, b.p.)
- จุดเดือดปกติ คือความดัน 1 บรรยากาศ (1 atm)
- จุดเดือด  ความดันบรรยากาศ

- จุดเดือด  1
ความสูงของ ของเหลว

แรงระหว่าง โมเลกุล α จุดเดือด α 1


ความดันไอ

 แรงตึงผิว (Surface Tension)


- ความตึงผิว คือ ความพยายามในการยึดผิวของเหลว
- แรงตึงผิว คือ แรงที่เกิดที่บริเวณผิวของเหลว ทาให้ของเหลวเกิดความตึงผิวที่ด้านแรงดึงได้เล็กน้อย ทิศของ
แรงขนานกับผิวของเหลาและตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นแรงึงผิวของเหลวจะลดลง

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 61
P “Rain”

โมเลกุลของเหลวบริเวณภายในไม่เกิดแรงตึงผิว โมเลกุลของของเหลวบริเวณผิวหน้าเกิดแรงตึงผิว

1. ของเหลว X, Y และ Z มีจุดเดือด 78oC, 100oC และ 150oC ตามลาดับ


1.1 มีอุณหภูมิเดียวกัน ของเหลวใดจะมีความดันไอต่าที่สุด
.........................................................................................................................................................................................
1.2 ของเหลวใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยที่สุด
.........................................................................................................................................................................................
2. จากตารางแสดงจุดเดือดและมวลโมเลกุลของสาร
สาร มวลโมเลกุล จุดเดือด (oC)
น้า 18.00 100.0
เอทิลแอลกอฮอล์ 46.0 78.5
คลอโรฟอร์ม 119.5 61.3
ไดเมทิล อีเทอร์ 74.0 34.6

2.1 ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ของเหลวชนิดใดมีความดันไอสูงสุด


.........................................................................................................................................................................................
2.2 ของเหลวใดระเหยได้เร็วที่สุด และของเหลวใดระเหยได้ช้าสุด
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
2.3 ของเหลวใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงสุด
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 62
P “Rain”
3. จงตอบคาถามต่อไปนี้
3.1 สารที่มีอนุภาคเรียงชิดกัน มีรูปร่างทีแ่ น่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ และบางชนิดสามารถ
ระเหิดได้คือคุณสมบัติของสารในสถานะใด
.........................................................................................................................................................................................
3.2 สารที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ สามารถระเหยได้ คือคุณสมบัติของสารในสถานะใด
.........................................................................................................................................................................................
3.3 สารที่มีรูปร่างไม่แน่นอน ฟุ้งกระจาย อนุภาคไม่เรียงชิดกัน คือคุณสมบัติของสารในสถานะใด
.........................................................................................................................................................................................
3.4 เมื่ออุณหภูมิและมวลของก๊าซคงที่ ปริมาตรของก๊าซจะแปรผกผันกับความดัน เป็นไปตามกฎของใคร
...................................................................................................................................................................................
3.5 สารทีม่ ีจุดเดือดต่าจะมีความดันไออย่างไร
...................................................................................................................................................................................
3.6 กามะถันรอมบิกและมอนอคลินิก ต่างก็มีสูตรโมเลกุล S8 แต่มีสมบัติต่างกันเพราะเหตุใด
.........................................................................................................................................................................................

4. ประโยคในแต่ละข้อต่อไปนี้ถูกหรือผิด หากผิดให้แก้ไขให้ถูกต้องสมบูรณ์
4.1 ของเหลว X ความดันไอสูง จุดเดือดจะสูง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลจะสูงด้วย
.........................................................................................................................................................................................
4.2 ที่อุณหภูมิเดียวกันสาร A และสาร B มีความดันไอ 0.15 และ 0.05 atm ตามลาดับ สาร A จะมีจุดเดือด
ต่ากว่าสาร B และสาร A จะระเหยยากกว่าสาร B
.........................................................................................................................................................................................
4.3 ของเหลวจะเดือดเมื่อความดันไอของของเหลวสูงกว่าความดันบรรยากาศ
.........................................................................................................................................................................................
4.4 ก๊าซสามารถเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวได้ ถ้าเพิ่มทั้งอุณหภูมิและความดันให้มากขึ้น
.........................................................................................................................................................................................
4.5 การระเหิดเกิดขึ้นเนื่องจากโมเลกุลของของแข็งเกิดการชนกันตลอดเวลาจึงมีการถ่ายเทพลังงานให้แก่กัน
และกัน และจะเกิดทั่วทุกบริเวณของของแข็ง
.........................................................................................................................................................................................
4.6 กามะถันมีการจัดเรียงโมเลกุลต่างกัน จึงทาให้กามะถันจึงมีรูปร่าง สมบัติและสูตรโมเลกุลที่แตกต่างกัน
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 63
P “Rain”
5. จงอธิบายกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกับความดันไอของของเหลว A B C และ D

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอกับจุดเดือด
และตอบคาถามต่อไปนี้
ก. ที่อุณหภูมิ 50oc ของเหลวชนิดใดมีความดันไอสูงที่สุด
.........................................................................................................................................................................................
ข. ที่ความดันไอ 0.5 atm ของเหลว A B C และ D จะเดือดที่อุณหภูมิเท่าใด
.........................................................................................................................................................................................
ค. ของเหลวแต่ละชนิดมีจุดเดือดปกติ เท่าใด
.........................................................................................................................................................................................
ง. จงเรียงลาดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวทั้งสามชนิดที่ความดัน 1 atm จากมากไปน้อย
.........................................................................................................................................................................................
จ. ถ้านาของเหลวดังกล่าวไปต้มที่อุณหภูมิ 100oc ของเหลวชนิดใดที่สามารถเดือดได้บ้าง
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 64
P “Rain”

เรื่องที่ 7 อัตราปฏิกิริยาเคมี (Kinetically)


: อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร คือ การเปลี่ยนแปลง ปริมาณของสารในหนึ่งหน่วยเวลา
 ลดลง มวล วินาที
 เพิ่มขึ้น ปริมาตร นาที
ความเข้มข้น ชั่วโมง
วัน

: สมมติปฏิกิรยิ า A → C ปริมาณสารมีการเปลี่ยนแปลงดังกราฟ

: อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของสารที่ช้าที่สุดในสมการเคมี สามารถหาได้จากสาร


ทุกตัวในสมการเคมี โดยหาจากอัตราการเปลี่ยนแปลงสารหารด้วยเลขดุลหน้าสารนั้น จะได้ค่าเท่ากันทุกสาร หน่วย
ของอัตรา (Rate) คือ g/sec, cm3/sec, dm3/sec, mol/dm3∙sec เป็นต้น สามารถเขียนสูตรความสัมพันธ์ได้ดังนี้

ปริมาณของส ารตัง้ ต้นท ี่ลดลง ปริมาณของส ารผลิตภัณฑ ์ทเี่ พิม่ ข ึ้น


อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = เวลา หรือ เวลา

R   1 A    1 B  1 C  1 D


a t b t c t d t

R   1 d A    1 d B  1 d C  1 d D


หรือ a dt b dt c dt d dt

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 65
P “Rain”
ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิริยา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

 อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย (average rate) คืออัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก การเปลี่ยนแปลงของ


สารตั้งตนที่ลดลง หรือผลิตภัณฑที่เพิ่มขึ้น ทั้งหมดตั้งแตเริ่มตนจนเขาสูสมดุลในหนึ่งหนวยเวลา
 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous rate) คืออัตราการ เกิด ปฏิกิริยาที่คิด
จากการลดลงของสารตั้งตน หรือการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ ณ ชวงเวลาหนึ่งที่ ปฏิกิริยาดาเนินอยู
 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา คืออัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก การเปลี่ยนแปลง
ปริมาณสารตั้งตนที่ลดลง หรือผลิตภัณฑที่เพิ่มขึ้น ณ เวลานั้น

กฎอัตรา (Rate law)


: อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นสารตัง้ ต้นที่เข้ามาทาปฏิกิริยา
: สมการแสดงความสัมพันธ์
สมการทั่วไป aA + bB → cC + dD
จากกฎอัตรา R α [A]n∙[B]m
จะได้ว่า R = k[A]n∙[B]m

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบ่งออกเป็นดังนี้

 ธรรมชาติของสารตั้งต้น

โครงสร้างโมเลกุล : หากซับซ้อนเกิดปฏิกิริยาเคมียาก หากโมเลกุลไม่ซับซ้อนเกิดปฏิกิริยาเคมีง่ายกว่า

ลักษณะการสลายพันธะ : หากสารตั้งต้นโครงสร้างเสถียรอยู่แล้วจะเกิดปฏิกิริยาเคมียากกว่าสารไม่เสถียร

ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสดา ฟอสฟอรัสแดง

โมเลกุลไม่ซับซ้อน
โมเลกุลซับซ้อนมากเกิดปฏิกิริยายากมาก โมเลกุลซับซ้อนเกิดปฏิกิริยายาก
เกิดปฏิกิริยาง่าย

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 66
P “Rain”
 อุณหภูมิ : เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะเพิ่ ม ขึ้ น เสมอ เพราะโมเลกุลของสารมีพลังงานสูงขึ้น

คือเส้นก่อนเพิ่มอุณหภูมิ

คือเส้นหลังเพิ่มอุณหภูมิ

จะเห็นได้ว่า ก่อนเพิ่มอุณหภูมิ จานวนอนุภาคที่มี


พลังงานเกินกว่าค่า Ea (พลังงานก่อกัมมันต์) มี
ปริมาณน้อย แต่เมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้น อนุภาคที่มี
พลังงานสูงเกินกว่าค่า Ea จะมีจานวนมากขึ้น ทาให้
เกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น

ควรจา : การเพิ่มอุณหภูมิทาให้อัตราเร็วเพิ่มขึ้นเสมอ และทาให้กราฟจานวนอนุภาคเอียงไปทางขว

 พื้นที่ผิวของสารตัง้ ต้น : พื้นที่ผิวมากเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าพื้นที่ผิวน้อย เพราะสารเคมีสัมผัสกันได้ดีขึ้น

พื้นที่ผิวน้อย พื้นที่ผิวมากขึน้ พื้นที่ผิวมากทีส่ ุด


อัตราการเกิดปฏิกิริยาต่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงสุด

เพิ่มเติม : พื้นที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉพาะปฏิกิริยาเนื้อผสมเท่านั้นเนื้อเดียวไม่มีผล

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 67
P “Rain”
 ตัวเร่งปฏิกิริยา : ช่วยให้อัตราเกิดปฏิกิริยาเพิ่ ม ขึ้ น เสมอ เนื่องจากช่วยลดพลังงานก่อกัมมันต์

ตัวเร่งปฏิกิริยาทาหน้าที่ลดพลังงานก่อกัมมันต์ของสาร ตัวเร่งปฏิกิริยาทาให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง อนุภาคที่


ตั้งต้น ทาให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น มีพลังงานสูงเกินค่า Ea จึงมากขึ้น

เพิ่มเติม : ตัวขัดขวางปฏิกิริยา ทางานตรงข้ามกับตัวเร่งปฏิกิริยา คือทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง หรืออาจ


ทาให้ไม่เกิดปฏิกิริยา

 ความเข้มข้นของสารตั้งต้น : สารตั้งต้นความเข้มข้นมาก จะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าความเข้มข้นน้อย

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 68
P “Rain”
ทฤษฎีการชน (Collision Theory)

: ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึน้ ได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้น อาจเป็นโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้ จะต้องมีการ


เคลื่อนที่ชนกันก่อน:

สารตั้งต้น สารเชิงซ้อนกัมมันต์ สารผลิตภัณฑ์

 ปัจจัยที่จะเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ต้องทีจานวนโมเลกุลมากพอ
 ต้องมีการชนกัน
 ต้องมีพลังงานสูงพออย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์
 ต้องมีทิศทางที่เหมาะสม

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 69
P “Rain”
• จากปฏิกิริยา Al(s) + H2SO4(aq) → Al2(SO4)3(aq) + H2(g) เมื่อใส่โลหะอะลูมิเนียม 8.1 กรัม ทาปฏิกิริยากับ
กรดซัลฟิวริกความเข้มข้น 2M ปริมาตร 200 cm3 เกิดเกลืออะลูมิเนียมซัลเฟตและแก๊สไฮโดรเจนเมื่อเวลาผ่านไป 5
นาที พบว่าเหลือโลหะอะลูมิเนียม 2.7 กรัม (กาหนดมวลอะตอมของอะลูมิเนียม เท่ากับ 27)
จงคานวณหาต่อไปนี้
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในหน่วย M.s-1
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
2. อัตราการลดลงของกรดซัลฟิวริกในหน่วย M.s-1
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
3. อัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนในหน่วย dm3.s-1 ที่ STP
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

• สารละลายแอมโมเนียมคาร์บอเนต 6 โมลาร์ ทาปฏิกิริยากับสารละลายอะลูมิเนียมคลอไรด์ 4 โมลาร์เมื่อเวลาผ่าน


ไป 50 วินาทีพบว่ามีตะกอนอะลูมิเนียมคาร์บอเนตเกิดขึ้น 117 กรัม ดังสมการ
(NH4)2CO3(aq) + AlCl3(aq) → Al2(CO3)3(s) + NH4Cl(aq)
(กาหนดมวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16, Al=27, Cl=35.5) จงคานวณหา
1. อัตราการลดลงของแอมโมเนียมคาร์บอเนต (ในหน่วย g.s-1)

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 70
P “Rain”
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา (ในหน่วย mol.s-1)

3. อัตราการเกิดแอมโมเนียมคลอไรด์ (ในหน่วย mol.s-1)

• กาหนดปฏิกิริยาเคมีดังต่อไปนี้ CO32-(aq) + H+(aq) → H2O(l) + CO2(g)


ถ้าอัตราการลดลงของ CO32- เท่ากับ 0.5 Ms-1 จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงแสดงสมการแสดงความสัมพันธ์ของการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. จงหาอัตราการลดลงของ H+
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ถ้าเวลาผ่านไป 10 วินาที มีน้าเกิดขึ้น 1.8 กรัม อัตราการเกิดแก๊ส CO2 มีค่าเท่ากับกี่ลูกบาศก์เดซิเมตร/วินาที


ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (กาหนดมวลอะตอม H=1, C=12, O=16)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 71
P “Rain”
• สารละลาย M ทาปฏิกิริยากั บสารละลาย N ได้ตะกอน P เกิดขึ้นจากการทดลองพบว่ามีอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1
เท่ากับ 3 เท่าของอัตราการลดลงของสารละลาย M หรือมีค่าเท่ากับ 2 เท่าของอัตราการลดลงของสารละลาย N หรือ
1
มีค่าเท่ากับ 2 เท่าของอัตราการเกิดตะกอน P
1 จงเขียนสมการของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น พร้อมระบุสถานะของสารแต่ละชนิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2 จากปฏิกิริยาดังกล่าว นาสารละลาย M มาทาปฏิกิริยากับสารละลาย N จานวนหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไป 20
วินาที พบว่าเกิดตะกอน P เกิดขึ้น 120 กรัม จงหาอัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสารละลาย N ในช่วงเวลา 0-20 วินาที
มีค่าเป็นเท่าใด (ในหน่วยกรัม/วินาที) (กาหนดมวลโมเลกุลของ N และ P มีค่าเป็น 50 และ 60 g/mol)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

• จงพิจารณาข้อมูลการทดลองของปฏิกิริยา NaOH(aq)+HCl(aq) → NaCl(aq)+H2O(l)


การทดลองที่ [NaOH] (mol/dm3) [HCl] (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm3.s)
1 2 x 10-2 2 x 10-2 1.2 x 10-2
2 2 x 10-2 4 x 10-2 2.4 x 10-2
3 4 x 10-2 4 x 10-2 9.6 x 10-2
4 4 x 10-2 8 x 10-2 Y

1. จงหากฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 72
P “Rain”
2. จงคานวณหาค่า Y
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ถ้าทาการทดลองที่ 5 โดยกาหนดให้ความเข้มข้นของ NaOH และ HCl เท่ากับ 6 mol และ 5 mol ใน
ภาชนะขนาด 5 dm3 ตามลาดับ จงคานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

• จากปฏิกิริยา X(g) + Y(g) → Z(g) ในการศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้ นของสารละลาย X และ Y


ได้ผลการทดลองดังนี้
เวลาที่ใช้ในการ
การทดลองที่ [X] mol/dm3 [Y] mol/dm3 [Z] mol/dm3
เกิดปฏิกิริยา (min)
1 0.1 0.1 1 2
2 0.1 0.2 3 24
3 0.8 0.2 2 128
4 0.4 0.1 A 16

1. จงหาอันดับของปฏิกิริยา พร้อมเขียนสมการแสดงกฎอัตราของปฏิกิริยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 73
P “Rain”
2. จงหาค่าคงที่กฎอัตราของปฏิกิริยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. ถ้าทาการทดลองเพิ่มขึ้นอีก 1 การทดลอง โดยให้สาร X มีความเข้มข้นเท่ากับ 4 mol, สาร Y มีความเข้มข้น
8 mol ในภาชนะขนาด 2 ลิตร อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. ค่า A ในการทดลองที่ 4 มีค่าเป็นเท่าไร
.………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

• จงตอบคาถาม จากกลไกปฏิกิริยาต่อไปนี้

1. 2M + A C+X Ea = 52 kJ
X+B C+Y Ea = 12 kJ
Y+B A Ea = 25 kJ
a. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารวมของกลไกข้างบนนี้
..............................................................................................................................................................................
b. สารเร่งปฏิกิริยา คือ.........................................................................................................................................
c. สารมัธยันตร์ของปฏิกิริยานี้คือ........................................................................................................................
d. สมการแสดงกฎอัตราของปฏิกิริยา คือ............................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 74
P “Rain”
2. ปฏิกิริยาหนึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน และมีแผนภาพแสดงพลังงานของสารเมื่อมีการดาเนินไปของปฏิกิริยา
ดังนี้
ขั้นที่ 1 A B
ขั้นที่ 2 B C
ขั้นที่ 3 C D+E

a. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารวมของกลไกข้างบนนี้
..............................................................................................................................................................................
b. สารเร่งปฏิกิริยา คือ.........................................................................................................................................
c. สารมัธยันตร์ของปฏิกิริยานี้คือ........................................................................................................................
d. สมการแสดงกฎอัตราของปฏิกิริยา คือ............................................................................................................

•จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. แคลเซียมคาร์บอเนตทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกดังสมการ
CaCO3(s) + 2HCl(aq) → CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g)
เมื่ อ ใช้ แ คลเซี ย มคาร์ บ อเนตชนิ ด ก้ อ นและชนิ ด ผงที่ มี ม วลเท่ า กั น ท าปฏิ กิ ริ ย ากั บ กรดไฮโดรคลอริ ก อั ต ราการ
เกิดปฏิกิริยาจะต่างกันหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. ในปฏิ กิ ริ ย า H2(g) + Cl2(g) → 2HCl(g) ถ้ า เติ ม ผงนิ ก เกิ ล ลงไปเล็ ก น้ อ ยจะมี ผ ลท าให้ อั ต ราการ
เกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น นักเรียนคิดว่าผงนิกเกิลทาหน้าที่อะไร และมีผลต่อการดาเนินไปของปฏิกิริยาอย่างไร จงอธิบาย
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 75
P “Rain”
• จงตอบคาถาม จากกลไกปฏิกิริยาต่อไปนี้
1. 2 SO2 (g) + 2 NO2 (g) → 2SO3 (g) + 2 NO (g) พลังงานก่อกัมมันต์ = 300 kJ
2 NO (g) + O2 (g) → 2 NO2 (g) พลังงานก่อกัมมันต์ = 250 kJ
ก. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารวมของกลไกข้างบนนี้
..............................................................................................................................................................................
ข. สารเร่งปฏิกิริยา คือ................................................................................................................................
ค. สารมัธยันตร์ของปฏิกิริยานี้คือ................................................................................................................
ง. สมการแสดงกฎอัตราของปฏิกิริยา คือ...................................................................................................
2.

ก. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารวมของกลไกข้างบนนี้
..............................................................................................................................................................................
ข. สารมัธยันตร์ของปฏิกิริยานี้คือ................................................................................................................
ค. สารเชิงซ้อนก่อกัมมันต์ (Activated complex) คือสารใด.....................................................................
ง. พลังงานก่อกัมมันต์ของแต่ละขั้นมีค่าเท่าใดบ้าง......................................................................................
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. ปัจจัยใดที่ทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้นอย่างน้อย 2 ปัจจัย อธิบายพอสังเขป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. โลหะแมกนีเซียมแบบก่อน หรือ แบบผง ชนิดใดจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่ากัน เพราะเหตุใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. สารเคมีที่ใส่ลงไปในปฏิกิริยา แล้วทาให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง เรียกว่า........................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 76
P “Rain”
เรื่องที่ 8 สมดุลเคมี (Equlibrium)
การเกิดสมดุล
 ปฏิกิริยาที่ไม่อยู่ในภาวะสมดุล เช่น
2Mg + O2 → 2MgO

 ปฏิกิริยาที่อยู่ในภาวะสมดุล เช่น

 เกิดในระบบปิดเท่านั้น (ระบบปิด คือ ระบบที่ไม่มีการแลกเปลี่ยนมวลกับสิ่งแวดล้อม)


 ต้องเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราเร็วย้อนกลับ
 คุณสมบัตขิ องระบบต้องคงที่ คือ สี กลิ่น รส ความเข้มข้นคงที

A+B⇋C+D

 สมดุลไดนามิก คือ สมดุลที่มีการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าและย้อนกลับตลอดเวลา โดยสมดุลไม่หยุดนิ่ง


สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552
หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 77
P “Rain”

 ตัวเร่งกับภาวะสมดุล
ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือคะตะลิสต์ ถ้าใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปปฏิกิริยาที่อยู่ในภาวะสมดุล และปฏิกิริยานี้ยังไม่เข้าสู่ภาวะ
สมดุล ตัวเร่งปฏิกิริยาจะเร่งปฏิกิริยาเข้าส่สมดุลได้เร็วขึ้น โดยเร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและย้อนกลับให้
เท่ากัน แต่ถ้า ระบบเข้าสู่สมดุลอยู่แล้ว การเพิ่มตัวเร่งปฏิกิริยาจะไม่มีผลต่อระบบ

การเปลี่ยนภาวะสมดุล
เลอชาเตอลิเอ กล่าวว่า
“ระบบใดทีเ่ ข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว ถ้าถูกรบกวนด้วยภาวะต่างๆ จะทาให้สมดุลของระบบเสียไป
แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะใหม่ เพื่อให้กลับมาสมดุลได้อีกครั้ง แต่จะไม่เหมือนกับครั้งแรก”

• สิง่ ที่ทาให้สมดุลเปลี่ยนได้แก่
1. ความเข้มข้น
2. ความดันและปริมาตร
การเพิ่มความดัน

 การลดความดัน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 78
P “Rain”
ถ้า เพิ่มความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทาง โมลน้อย เพื่อลดความดันรวมของระบบ
ถ้า ลดความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทาง โมลมาก เพื่อเพิ่มความดันรวมของระบบ
ถ้าระบบที่ จานวนโมลเท่ากันทั้งสองฝั่ง การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อระบบ

3. อุณหภูมิ *มีผลต่อค่ำคงที่สมดุล*
การจะบอกว่า สมดุลเลื่อนไปทางใด ต้องรู้ว่าระบบนั้นๆ เป็นระบบดูดหรือคายความร้อน
ตัวอย่าง ระบบดูดและคายความร้อนแบบต่างๆ
1. A + B ⇋ C + D ดูดความร้อน
2. A + B ⇋ C + D คายความร้อน
3. A + B ⇋ C + D + heat
4. A + B ⇋ C + D - heat
5. A + B + heat ⇋ C + D
6. A + B - heat ⇋ C + D
7. A + B ⇋ C + D ΔH เป็นบวก
8. A + B ⇋ C + D ΔH เป็นลบ

การทดลองเกี่ยวกับอุณหภูมิกับภาวะสมดุล
จากปฏิกิริยา
2NO2(g) ⇋ N2O4(g)
สีน้าตาลแดง ไม่มีสี

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 79
P “Rain”
การเพิ่ม-ลดอุณหภูมิ
 ถ้าเป็นระบบ ดูดควำมร้อน ต้อง เพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาจะเกิดดีขึ้น
 ถ้าเป็นระบบ คำยควำมร้อน ต้อง ลดอุณหภูมิ ปฏิกิริยาจะเกิดดีขึ้น

ค่าคงที่สมดุล Keq (Equilibrium constant)


 การหาค่า Kc (c=concentrate)
ระบบจะเข้าสู่สมดุล เมื่อ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ

ค่าคงที่สมดุลจะไม่คิดค่าของสารในสถานะ ของแข็ง(s) และ ของเหลว (l)


เพราะมีความเข้มข้นมากพอที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลง

การหาค่า Kp (p=pressure)
ถ้าสารในสมการสมดุล มีสถานะเป็นแก๊ส เราสามารถหาค่า K จากความดันย่อยของแก๊สได้
ความสัมพันธ์ของ Kc กับ Kp
PV = nRT
P = NRT
จากสมการ aA + bB ⇋ cC + dD

Kp = Kc(RT)∆n ∆n = (c+d)-(a+b) *สภาวะแก๊ส ถ้า ∆n มีค่าเท่ากับศูนย์ ค่า Kp = Kc

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 80
P “Rain”

- ข้อความใดไม่จาเป็นสาหรับระบบที่อยู่ที่สมดุล
1. เป็นระบบใด
2. มีอัตราเร็วของปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับเท่ากัน
3. มีความเข้มข้นคงที่
4. มีความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์เท่ากับสารตั้งต้น

- ผลการทดลองต่อไปนี้
2CrO42- + 2H+ ↔ Cr2O72− + H2O
ถ้าเติม NaOH 6 mol/l 10 หยด ลงในสารผสมของปฏิกิริยา ผลคือ ปฏิกิริยาจะดาเนินไปทางด้านขวา หรือด้านซ้าย
และสารละลาย จะมีสีอะไร

- ถ้าเพิ่มความดันให้แก่ระบบแล้ว ปฏิกิริยาข้อใดที่จะเพิ่มปริมาณผลิตภัณฑ์
1. 2CO(g) + 2NO(g) ↔ 2CO2(g) + N2(g)
2. C2H4(g) ↔ C2H2(g) + H2(g)
3. C(s) + O2(g) ↔ CO2(g)
4. 3Fe(s) + 4H2O(g) ↔ Fe3O4(s) + 4H2(g)

- ปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุลที่อุณหภูมิคงที่ต่อไปนี้ ปฏิกิริยาใดหากมีการขยายปริมาตรจากเดิมเป็นสองเท่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางของปฏิกิริยาไปทางขวามือ
1. H2(g) + CO2(g) ↔ H2O(g) + CO(g) 2. PCl5(g) ↔ PCl3(g) + Cl2(g)
3. H2(g) + Cl2(g) ↔ 2HCl(g) 4. N2(g) + 3H2(g) ↔ 2NH3(g)

- ปฏิกิริยาในการผลิตก๊าซแอมโมเนีย N2(g) + 3H2(g) ↔ 2NH3(g) + 92 kJ ข้อใดต่อไปนีผ้ ิด


1. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. การลดอุณหภูมิทาให้เกิดก๊าซ แอมโมเนียมากขึ้น
3. การเพิ่มความดันทาให้เกิดก๊าซแอมโมเนียน้อยลง
4. การผลิตก๊าซแอมโมเนียสามารถใช้เหล็กเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 81
P “Rain”
- ปฏิกิริยาการเตรียม แก๊สฟอสจีน COCl2 เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนที่สภาวะสมดุลมีสมการเป็น
CO(g) + Cl2(g) ↔ COCl2(g) ข้อสรุปใดไม่ถูกต้อง
1. การเพิ่มแก๊สคลอรีนจะทาให้เกิด COCl2 เพิ่มขึ้น
2. เมื่อลดความดัน ปฏิกิริยาจะดาเนินไปทางขวามือ
3. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาจะดาเนินไปทางขวามือ
4. เมื่อเพิ่มแก๊ส CO ทาให้ปฏิกิริยาดาเนินไปทางขวามือ

- ปฏิกิริยา C(s) + H2O(g) ↔ CO(g) + H2 (g) เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนสภาวะ


ใดที่จะทาให้คา่ คงที่ของสมดุลเพิ่มขึ้น
1. เพิ่ม H2O(g) 2. เพิ่มปริมาตร
3. เพิ่มอุณหภูมิ 4. ทุกสภาวะในข้อ 1 , 2 และ 3

- ปฏิกิริยาต่อไปนี้ 4NH3(g) + 3O2(g) ↔ 2N2(g) + 6H2O(g) มีค่าคงทีส่ มดุลที่ 25oC เท่ากับ 1x1028 ถ้าเพิ่มความ
ดันของปฏิกิริยานี้ที่ 25oC ข้อความต่อไปนี้ข้อความใดถูกต้อง
1. จะเกิด NH3(g) เพิ่มขึ้น เป็นผลให้ค่าคงทีข่ องสมดุลนี้ลดลง
2. จะเกิด O2(g) ลดลง เป็นผลทาให้ค่าคงทีข่ องสมดุลนี้เพิ่มขึ้น
3. จะเกิด N2(g) เพิ่มขึ้น เป็นผลทาให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้เพิ่มขึ้น
4. จะเกิด H2O(g) ลดลง เป็นผลทาให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้เท่าเดิม

การคานวณค่าคงทีส่ มดุล (K)


คานวณค่า K แบ่งเป็น 3 ประเภท
 ให้หาค่า K โดยกาหนดความเข้มข้นให้ทุกค่า
 ให้หาค่า K โดยกาหนดความเข้มข้นให้บางค่า ส่วนค่าที่เหลือหาจากสมการเคมี
 กาหนดค่า K ให้ และ ให้หาความเข้มข้นของสารบางตัว

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 82
P “Rain”
1. จงเขียนค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้
1.1 CoO (s) + H2 (g) ⇄ Co (s) + H2O (g)
………………………………………………………………………………………………………………………
1.2 2HgO (s) ⇄ 2Hg (l) + O2 (g)
………………………………………………………………………………………………………………………
1.3 Pbl2 (s) ⇄ Pb2+ (aq) + 2I- (aq)
………………………………………………………………………………………………………………………
1.4 H2O (g) + CO (g) ⇄ H2 (g) + CO2 (g)
………………………………………………………………………………………………………………………
1.5 Ca(OH) 2 (s) + CO3 2– aq ⇄ CaCO3 (s) + OH – (aq)
………………………………………………………………………………………………………………………

2. นาก๊าซ C2H2 และ H2 บรรจุในภาชนะปริมาตร 10 ลิตร เกิดปฏิกิริยาดังสมการ


C2H2 (g) + H2 (g) ⇄ C2H6 (g)
พบว่าที่สมดุลมีปริมาณก๊าซ C2H2 11.2 dm3 ที่ STP , H2 40 กรัม และ C2H6 2.408 x 10 24 เมโลกุล
จงคานวณหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้ (C=12 , H=1)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 83
P “Rain”
3. สมดุ ล ของปฏิ กิ ริ ย า NH3 (g) + O2 (g) ⇄ NO (g) + H2O (g) ในภาชนะขนาด 0.5 dm3 เริ่ ม ต้ น บรรจุ NH3
จานวน 1 mol และบรรจุ O2 จานวน 0.5 mol เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลพบว่ามีไอน้าเกิดขึ้นจานวน 0.06
mol/dm3 อยากทราบว่าเมื่อเข้าสู่สมดุลจะเหลือสารตั้งต้นความเข้มข้นเท่ากับเท่าไร และค่าคงที่สมดุลของ
ปฏิกิริยานี้เป็นเท่าไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จากปฏิกิริยา 2A (g) + B (l) ⇄ C (g) + D (g) บรรจุสาร A 14 mol ในภาชนะ 10 ลิตร ถ้าค่าคงที่สมดุลของ
ปฏิกิริยานี้เท่ากับ 9 จงหาเปอร์เซ็นต์การสลายตัวของสาร A
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. จากสมการการละลาย AgNO3 (s) ⇄ Ag+ (aq) + NO3- (aq) จงตอบค าถามต่ อ ไปนี้ พร้ อ มทั้ ง บอกปริ ม าณ
AgNO3 (s) เพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร
5.1 เติม KNO3 สมดุลจะเลื่อนไปทาง........................................ปริมาณ AgNO3 (s)…………………………..
5.2 เติม NaCl สมดุลจะเลื่อนไปทาง........................................ปริมาณ AgNO3 (s)………………………….
5.3 ลดความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทาง....................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 84
P “Rain”
6. จากสมการ NO2 (g) ⇄ N2O4(g) ในภาชนะ 2 dm3 พบว่าสิ่งที่สภาวะสมดุล จานวน NO2 46 กรัม และพบ
จานวนโมเลกุลของแก๊ส N2O4 12.04x1023 โมเลกุล อยากทราบว่าจะต้องเติม N2O4 กี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
เพื่อให้ระบบเข้าสู่สมดุลใหม่ที่มีความเข้มข้นของ NO2 อยู่ 1.0 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (กาหนดให้มวลอะตอม
N=14, O=16)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. เมื่อปล่อยให้แก๊ส A2 ปริมาตร 44.8 dm3 ผสมกับแก๊ส B2 ปริมาตร 44.8 dm3 ที่ STP เข้าสู่สมดุลในภาชนะ ขนาด
4 ลิ ต ร ที่ 25 ๐ C ตามสมการ A2 (g) + B2 (g) ⇄ 2AB (g) ถ้ า ค่ า สมดุ ล ของปฏิ กิ ริ ย าเท่ า กั บ 9 เปอร์ เ ซ็ น ต์
การสลายตัวของ A มีค่าเท่ากับเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. ในการผลิตแก๊ส NH3 เมื่อผสมแก๊ส H2 และแก๊ส N2 ในภาชนะปิดที่อุณหภูมิหนึ่ง ปฏิกิริยาที่ เกิดขึ้นเป็นดังนี้


H2 (g) + N2 (g) ⇄ NH3 (g) ที่ภาวะสมดุลพบว่า ความเข้มข้นของ H2, N2 และ NH3 เท่ากับ 4,7 และ 4 mol/dm3
ตามลาดับ จงหาความเข้มข้นเริ่มต้นของแก๊ส H2 และ N2
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 85
P “Rain”

เรื่องที่ 9 กรด-เบส (Acid-Based)


สมบัติทั่วไปของเรื่องนี้
 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือสารละลายที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนในตัวทาละลายและสามารถนาไฟฟ้าได้
แบ่งเป็น

 สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ คือ สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้ 100 % และนาไฟฟ้าได้ดีมาก เช่น


 กรดแก่ และเบสแก่
 เกลือ เพราะส่วนใหญ่จะสามารถแตกตัวได้ 100 %
 สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน คือ สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้บางส่วน ไม่ 100% นาไฟฟ้าได้น้อย เช่น
 กรดอ่อน และเบสอ่อน
 สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ คือ สารที่ละลายในตัวทาละลายแล้วไม่แตกตัวเป็นไอออน ไม่นาไฟฟ้า เช่น
น้าเชื่อม (น้าตาล+น้า), แอลกอฮอล์ เป็นต้น

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 86
P “Rain”
สรุป

นาไฟฟ้า
+โลหะเกิด น้าเงิน→
ก๊าซH2 แดง
กรด
กัดกร่อน
โลหะ
pH <7
รส
เปรี้ยว

นาไฟฟ้า
+กรดได้ แดง→
เกลือและน้า น้าเงิน
เบส
ไม่กัดกร่อน
โลหะ
pH >7
รสฝาด

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 87
P “Rain”

ทฤษฎีกรด-เบส
ผู้คิดค้น กรด เบส ข้อจากัด
สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวให้ H+ สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวให้ OH- ต้องเป็นสารที่
เช่น HCl → H+ + Cl- เช่น NaOH → Na+ + OH- ละลายน้าแล้วมี
อารีเนียส
H+ และ OH- เป็น
องค์ประกอบ
สารที่ให้ H+ แก่สารอื่น สารที่รับ H+ จากสารอื่น ต้องเป็นสารที่แตก
เบิรสเตดและ เช่น HCl+H2O → H3O++Cl- เช่น NH3+H2O → NH4++OH- ตัวเป็นไอออนหรือ
ลาวรี มี H+เป็น
องค์ประกอบ
ลิวอิส สารที่รับ lone pair e- จากสารอื่น สารที่ให้ lone pair e- แก่สารอื่น -

คู่กรด-เบส เป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ มีการถ่ายเทโปรตอนระหว่างโมเลกุลกรดและโมเลกุลเบส


Trick : คู่กรดเบส จะมีสูตรเคมีต่างกันเพียง H+ตัวเดียว ตัวที่มี H มากกว่าจะทาหน้าที่เป็นกรด
คู่กรดเบสจะอยู่คนละฝั่งสมการเสมอ
สมการ คู่กรด(1) คู่เบส(1) คู่กรด(2) คู่เบส(2)
HCl + H2O → Cl- + H3O+ HCl Cl- H3O+ H2O
HS- + H2O ⇌ S2- + H3O+
H2PO4- + CH3NH2 ⇌ HPO2-4 + CH3NH3+
NH3 + H2O ⇌ NH4+ + OH-
H2O + H2O ⇌ H3O+ + OH-

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 88
P “Rain”

การแบ่งชนิดของเบส การแบ่งชนิดของกรด
เบสที่มี OH- เบสที่มี OH- เบสที่มี OH- 3 แบ่งตามจานวนการแตก แบ่งตามองค์ประกอบธาตุ
ตัว  กรดไฮโดร H+อโลหะ
1หมู่ เช่น 2หมู่ เช่น หมู่ เช่น
Al(OH)3  กรดโมโนโปรติก แตก เช่น HF, HCl, HBr,
LiOH Mg(OH)2
Fe(OH)2 ตัวได้ 1 ครั้ง เช่น HCl, H2O
NaOH Ca(OH)2
HBr, HF  กรดออกซี H+O+ธาตุ
KOH Sr(OH)2
 กรดไดโปรติก แตกตัว อื่น เช่น HNO3, HClO4,
ได้ 2 ครั้ง เช่น H2SO4, HNO2
H2CO3
 กรดไตรโปรติก แตกตัว
ได้ 3 ครั้ง เช่น H3PO4

ความแรงของกรด-เบส

กรด เบส
กรดแก่ กรดอ่อน เบสแก่ เบสอ่อน
HCl HNO3 HF HCOOH NaOH Ca(OH)2 NH4OH
HBr HClO4 CH3COOH HCN LiOH Sr(OH)2 NH3
HI HClO3 H2CO3 HNO2 KOH Ba(OH)2 CH3NH2
H2SO4 H3PO4 HClO2 CsOH Ra(OH)2 Mg(OH)2
RbOH Be(OH)2
FrOH Al(OH)3

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 89
P “Rain”
ชื่อสาร สูตรโมเลกุล ประเภทความแรง
1. Hydrofluoric acid
2. Sulfuric acid
3. Lithium hydroxide
4. Acetic acid
5. Ammonium hydroxide
6. Hydrochloric acid
7. Nitric acid
8. Sodium hydroxide
9. Potassium hydroxide
10. Hydrobromic acid
11. Ammonia
12. Methyl amine
13. Phosphoric acid
14. Nitrous acid
15. Berryllium hydroxide
16. Magnesium hydroxide
17. Perchloric acid
18. Chloric acid
19. Carbonic acid
20. Calcium hydroxide
21. Stronsium hydroxide
22. Formic acid
23. Hydroiodic acid
24. Barium hydroxide
25. Radium hydroxide
26. Iron (III) hydroxide
27. Fransium hydroxide
28. Cyanic acid
29. Hydrogen sulfide
30. Aluminium hydroxide

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 90
P “Rain”
กรดแก่-เบสแก่ แตกตัวได้ 100% เพราะฉะนั้นไม่เกิดภาวะสมดุล จึงไม่มีค่า Ka และ Kb

การคานวณการแตกตัวของกรด-เบส-น้า (Ka, Kb, Kw)

 การคานวณกรดแก่-เบสแก่
เมื่อนากรดแก่แ ละเบสแก่ไปละลายน้า จะเกิดการแตกตัวได้อย่ างสมบูรณ์ ปฏิกิริย าการแตกตั วจะเป็ น
ปฏิกิริยาไปข้างหน้าอย่างเดียวไม่ผันกลับ การคานวณใช้วิธีเหมือนการคานวณปริมาณสารสัมพันธ์และสมการเคมี
ธรรมดาคือใช้สมการ
g Vgas CV N g 1000
n    Molar (mol/dm 3 )  
MW 22.4 1000 6.02x10 23 MW cm3
% 10  d
% 10 Molar (mol/dm3 ) 
Molar (mol/dm 3 )  กรณี (%w/v) MW
MW กรณี (%w/w) หรือ (%v/v) ,d = ความหนาแน่น (g/cm3)

 การคานวณกรดอ่อน-เบสอ่อน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 91
P “Rain”
 ลองทาโจทย์กัน
1. กรดอ่อน 0.025 โมล ในสารละลาย 250 cm3 จากการทดลองพบว่ากรดนี้แตกตัวได้ 5% จงคานวณ Ka ของ
กรดอ่อนนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงคานวณหา [H3O+] ในสารละลาย HCN เข้มข้น 0.1 mol/dm3 (Ka = 4.9x10 10) พร้อมทั้งเขียนสมการการแตก
ตัวของกรดนี้
สมการการแตกตัว................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. นา Ca(OH)2 37 g มาละลายน้าจนมีปริมาตรเป็น 0.25 ลิตร จะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออนเข้มข้นกี่โมลาร์
กาหนดให้มวลอะตอม Ca = 40, O = 16 และ H = 1
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. กรด HClO เข้มข้น 1.5 M เมื่อละลายน้าพบว่ามีความเข้มข้นของกรดลดลงเหลือ 1.0 M จงหาค่าคงที่การแตกตัว
และร้อยละการแตกตัวของกรด HClO
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552
หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 92
P “Rain”

5. จงหาความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) และร้อยละการแตกตัวของ methylamine (CH3NH2) 0.1 โมล


ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ซึ่งมีค่าคงที่การแตกตัว เท่ากับ 4x10-4
CH3NH2 + H2O ⇄ CH3NH3+ + OH-
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

6. จงใช้การคานวณแสดงเหตุผลว่าเพราะเหตุใด กรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร มีความแรง


ของกรดมากกว่ากรดโดรไซยานิกเข้มข้น 1 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (กาหนดให้กรดไฮโดนไซยานิกมีค่าคงที่การแตก
ตัวเท่ากับ 4x10-4)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 93
P “Rain”
 การแตกตัวเป็นไอออนของน้า

 การคานวณค่าหา pH, pOH ของสารละลาย

1. จงคานวณความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน และหาค่า pH ของสารละลายแอมโมเนียซึ่งมีแก๊สแอมโมเนีย


4.25 กรัม ละลายในน้าได้สารละลายปริมาตร 250 cm3 (N=14, H=1, Kb=4x10-6)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 94
P “Rain”
2. กรดอ่อน HX มีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 2x10-6 สารละลายกรด HX จะต้องมีความเข้มข้นเท่าไหร่ จึงจะทาให้
ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนเท่ากับ 2x10-3 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. สารละลายแอมโมเนีย 0.4 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร มีค่า Kb=4x10-5
3.1 สารละลายนี้จะมีเปอร์เซ็นต์การแตกตัวเท่ากับเท่าไหร่
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3.2 จงคานวณหาความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4. นาสารละลายน้าส้มสายชู 10 cm3 เติมน้าลงไปอีก 10 cm3 ไทเทรตกับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 M ปริมาตร


20 cm3 จงหาความเข้มข้นของสารละลายน้าส้มสายชูในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 95
P “Rain”
5. นาเบสแก่ XOH ชนิดหนึ่งมาละลายน้า เป็นสารละลายปริมาตร 1 ลิตร เมื่อวัดค่า pH พบว่าสารละลายมีค่า
pH = 13 แสดงว่านาสาร XOH มาละลายน้าทั้งหมดกี่กรัม กาหนดมวลโมเลกุลของ XOH = 80
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. สารละลาย HClO4 เข้มข้น 20% โดยมวล ซึ่งมีความหนาแน่น 2 g/cm3 ปริมาตร 100 cm3 ปริมาตร 100 cm3
มาผสมกับสารละลายกนด HClO4 เข้มข้น 5 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 จากนั้นปรับปริมาตรจนเป็น 1000
cm3 สารละลายนี้จะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน และไฮดรอกไซด์ไอออนเท่าใด
(กาหนดให้ H = 1, Cl =35.5, O = 16)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 96
P “Rain”
 อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบส
อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบส
1. กาหนดอินดิเคเตอร์ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH ต่อไปนี้
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สีที่เปลี่ยนแปลง
ลิตมัส 5.0-8.0 แดง – น้าเงิน
เมทิลเรด 4.4-6.2 แดง – เหลือง
ไทมอลบลู 8.0-9.6 เหลือง – น้าเงิน
โบรโมไทมอลบลู 6.0-7.6 เหลือง – น้าเงิน

11.1 เมื่อทดสอบสารละลาย X ด้วยกระดาษลิตมัส จะให้สีม่วง สารละลาย X ควรมีค่า pH เท่าใด


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
1.2 เมื่อทดสอบสารละลาย Y ด้วย อินดิเคเตอร์ต่างๆให้ผลดังนี้
อินดิเคเตอร์ สีที่เปลี่ยน
ไทมอลบลู เหลือง
ลิตมัส ม่วง
เมทิลเรด ส้ม
โบรโมไทมอลบลู เขียว
สารละลาย Y ควรมี pH เท่าใด
..............................................................................................................................................................................
2. เมื่อนาน้าทิ้งจากโรงงานแห่งหนึ่งมากรอง ได้สารละลายใสไม่ใส่สี แบ่งสารละลายมาเติมอินดิเคเตอร์ต่างๆ ลงไป
ควรจะได้ผลการทดลองเป็นอย่างไร ถ้าน้าทิ้งดังกล่าวมีค่า pH อยู่ในช่วง 6.0-6.3
อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลีย่ นสี สีที่อินเดเคเตอร์เปลี่ยน สีของสารละลาย
หลังจากเติมคิเดเตอร์
เมทิลเรด 3.8 – 6.3 แดง – เหลือง
ลิตมัส 5.8 – 8.1 แดง – น้าเงิน
ฟีนอลเรด 6.6 – 8.3 เหลือง – แดง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.1 เหลือง – น้าเงิน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 97
P “Rain”
 ปฏิกิริยาของกรดและเบส กรดทำปฏิกริ ิยำกับเบส ได้เป็นผลิตภัณฑ์เกลือกับน้า
เรียกปฏิกิริยานี้ ว่า ปฏิกิริยาสะเทิน NaOH + HCl → NaCl + H2O
เกลือเกิดจาก การที่ไอออนบวกเข้าไปแทนที่ H+ ในกรด เช่น CH3COOH + Li+ → CH3COOLi
เกลือเกิดจาก การที่ไอออนลบเข้าไปแทนที่ OH- ในเบส เช่น NH4OH + F- → NH4F
 เกลือและปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส (Hydrolysis) สมบัตขิ องเกลือ แบ่งตามความแรงของกรด-เบสที่ทาปฏิกิริยากัน
1. เกลือที่มีฤทธิ์เป็นกลาง คือ เกลือที่เกิดจากกรดแก่ เบสแก่ เช่น NaCl, Ca(NO3)2 , KI
2. เกลือที่มีฤทธิ์เป็นกรด คือ เกลือที่เกิดจากกรดแก่ เบสอ่อน เช่น NH4Cl, FeCl2 ,Al(ClO3)3
โปรดจาให้แม่น เบสอ่อนจะสร้างกรด (H3O+)
3. เกลือที่มีฤทธิ์เป็นเบส คือ เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน เบสแก่ เช่น CH3COONa , KCN
โปรดจาให้แม่น กรดอ่อนจะสร้างเบส (OH–)
4. เกลือที่อาจจะเป็นกรด เบส หรือกลางก็ได้ ขึน้ อยู่กับค่า Ka, Kb คือ เกลือที่เกิดจากกรดอ่อน เบสอ่อน

จงระบุว่าสารต่อไปนี้เป็น กรด , เบส หรือ เกลือ


1) NH4OH ………….. 2) Cu(OH)2 ……………. 3) LiOH ……………..
4) KOH ……………… 5) CH3COOH…….……. 6) HF… ……………..
7) HCN …….……….. 8) H2SO4 ……………… 9) LiCN ……………..
10) NH4CN ………….. 11) KCN ……….………. 12) KI ………………..
13) CaCl2 ……..…….. 14) AlCl3 ……….………. 15) HCOOK………….
จงบอกว่า สารละลายเกลือต่อไปนี้จะมีฤทธิเป็นกรด หรือ เบส หรือ เป็นกลาง

1) CH3COONa 2) Na2CO3 3) NaCN


4) NH4Cl 5) NH4 I 6) NH4NO3
7) NH4CN 8) K2SO4 9) KNO3

(แนว En) เมื่อนาเกลือ 4 ชนิด ต่อไปนี้มาละลายน้า


ก. NH4NO3 ข. CH3COONa ค. Na2CO3 ง. K2SO4
สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่มีฤทธิ์เป็นเบส
1. ก. และ ข.
2. ก. และ ค.
3. ข. และ ค.
4. ข. และ ง.

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 98
P “Rain”
 สารละลายบัฟเฟอร์ คือ สารทีส่ ามารถควบคุม pH ได้ แม้ว่า เติมกรดหรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อย ชนิดของ
บัฟเฟอร์ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. บัฟเฟอร์กรด คือ บัฟเฟอร์ที่เป็นคู่กรด คู่เบส ของกรดอ่อน หรือบัฟเฟอร์ที่เกิดจากกรดอ่อนกับ
เกลือของกรดอ่อน
2. บัฟเฟอร์เบส คือ บัฟเฟอร์ที่เป็นคู่กรด คู่เบสของเบสอ่อน หรือบัฟเฟอร์ที่เกิดจากเบสอ่อนคู่กับ
เกลือของเบสอ่อน

การพิจารณาว่าสารผสมคู่ใดเป็นบัฟเฟอร์หรือไม่นั้น ให้ใช้หลักดังนี้
 กรณีที่สารที่ผสมกันนั้นไม่ทาปฏิกิริยากัน ให้ดูว่ามีสารตัวหนึ่งเป็นกรดอ่อนหรือเบสอ่อน แล้วอีกตัวเป็นเกลือซึ่งมี
ไอออนของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นหรือไม่ ถ้าใช่สารผสมนั้นจะเป็นบัฟเฟอร์ทันที ไม่ต้องสนใจปริมาณสารแต่ละตัว
 กรณีที่เป็นสารผสมของกรดกับเบส ให้พิจารณาปริมาณ H+ ของกรด และ OH– ของเบส หากไอออนที่มีมากกว่า
เป็นของกรดอ่อนหรือเบสอ่อน สารผสมนั้นจะเป็นบัฟเฟอร์ เพราะกรดจะทาปฏิกิริยากับเบสแล้วเกิดเกลือของกรด
อ่อนหรือเบสอ่อนผสมอยู่กับกรดอ่อนหรือเบสอ่อนที่เหลือนั้น

การหาปริมาณปริมาณ H+ ของกรด และ OH– ของเบส อาจหาได้จากสมการต่อไปนี้


ปริมาณ H+ ของกรด = a cava
ปริมาณ OH– ของเบส = b cbvb

(แนว มช) นาสารละลายสองชนิดมาผสมกันใช้ปริมาตรเท่ากันคือ 50 cm3 ข้อใดทีไ่ ม่มีสมบัติเป็นบัฟเฟอร์


1. HNO3 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.6 mol/dm3
2. NH4OH 0.5 mol/dm3 + HCl 0.3 mol/dm3
3. HCl 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.25 mol/dm3
4. NaOH 0.5 mol/dm3 + CH3COOH 0.75 mol/dm3

 การคานวณเกี่ยวกับปฏิริยาของกรดและเบส
 กรณีที่กรดกับเบสทาปฏิกิริยากันหมดพอดี
กรณีที่กรดกับเบสทาปฏิกิริยากันหมดพอดี เช่นกรณีที่โจทย์บอกกรดและเบสทาปฏิกิริยาสะเทินกันพอดี หรือทาการ
ไทเทรตแล้วถึงจุดยุติพอดี เป็นต้น กรณีเหล่านี้สูตรที่ใช้คานวณมีดังนี้
acava = bcbvb
แบเรียมไฮดรอกไซด์ทา ปฎิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกดังสมการ
Ba(OH)2(aq) + 2HCl(aq) → BaCl2(aq) + 2H2O(l)

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 99
P “Rain”
1. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยา ระหว่างสารต่อไปนี้พร้อมทั้งเรียกชื่อเกลือที่เกิดขึ้นด้วย
1.1 กรดแอซิตกิ กับ แคลเซียมไฮดรอกไซด์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
1.2 กรดไฮโดรคลอริก กับ โซเดียมคาร์บอเนต
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
1.3 กรดซัลฟิวริก กับ โซเดียมไฮดรอกไซด์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

 การไทเทรตกรด –เบส
เป็นวิธีการหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารในสารละลายตัวอย่างโดยให้ทาปฏิกิริยากับสารที่ทราบความเข้มข้น
(สารมาตราฐาน =สารที่อยู่ในบิวเรต) และวัดปริมาตรของสารที่ทาปฏิกิริยากันพอดี
จุดสมมูลหรือจุดสะเทิน (Equivalent point) = จุดทีส่ ารละลายทั้งสองทาปฏิกิริยากันพอดี
จุดยุติ (End point) = จุดที่หยุดการไทเทรต

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 100
P “Rain”
 กราฟของการไทเทรต
กรณีที่ 1 การไทเทรตเบสแก่กับกรดแก่
เช่นการไทเทรต NaOH โดยหยด HCl ลงไป เขียนกราฟ
ไทเทรชั่นได้ดังรูป ปฎิกิริยาที่เกิดคือ
HCl + NaOH → NaCl + H2O
สารละลายจึงมี pH = 7 การเลือกใช้อินดิเคเตอร์ ควร
เลือกใช้อินดิเคเตอร์ซึ่งเปลี่ยนสีที่ pH ประมาณ 7 เช่น
Bromothymol Blue ช่วงเปลี่ยนสี 6.0 – 8.0

กรณีที่ 2 การไทเทรตเบสแก่ กับกรดอ่อน


เช่นการไทเทรต NaOH โดยหยด CH3COOH ลงไป เขียน
กราฟไทเทรชั่นได้ดังรูป ปฎิกิริยาที่เกิดคือ
CH3COOH + NaOH → CH3COONa + H2O
สารละลายจึงมี pH > 7 การเลือกใช้อินดิเคเตอร์
ควรใช้อินดิเคเตอร์ซึ่งเปลี่ยนสีที่ pH สูงกว่า 7 เช่น
Phenolphthalein ช่วงเปลี่ยนสี 8.3 – 10.0
กรณีที่ 3 การไทเทรตเบสอ่อนกับกรดแก่
เช่นการไทเทรต NH3 โดยหยด HCl ลงไป เขียนกราฟไท
เทรชั่นได้ดังรูป ปฎิกิริยาที่เกิดคือ
NH3 + HCl → NH4Cl
สารละลายจึงมี pH < 7 การเลือกใช้อินดิเค-เตอร์ ควรใช้
อินดิเคเตอร์ซึ่งเปลี่ยนสีที่ pH ต่ากว่า 7 เช่น methyl red
ช่วงเปลี่ยนสี 4.2 – 6.2

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 101
P “Rain”
1. นายาแก้ปวดมา 0.5 กรัม ซึ่งมีแอสไพริน (HC9H7O4) เป็นส่วนประกอบ มาไทเทรตกับ NaOH เข้มข้น 0.1
mol/dm3 พบว่าต้องใช้ NaOH 20 cm3 จงหาว่ามีแอสไพรินในยานี้กี่กรัม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. จงเขียนสมการของปฏิกิริยาสะเทินและคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายแบเรียมไฮดอรกไซด์เป็นโมลาร์เมื่อ
นาแบเรียมไฮดรอกไซด์ 20 cm3 มาทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 30 cm3
พร้อมทั้งเขียนกราฟของการไทเทรตของปฏิกิริยานี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ถ้านากรดเปอร์คลอริกซึ่งมีคา่ pH เท่ากับ 1 มาไทเทรตกับสารละลายแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ปริมาตร 10
ลูกบาศก์-เซนติเมตร ปรากฏว่าต้องใช้กรดในการไทเทรตเท่ากับ 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร อยากทราบว่าสารละลาย
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์จะมีความเข้มข้นเท่ากับเท่าไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สารละลาย HCI 5 ml เติมน้าลงไปอีก 25 ml แล้วแบ่งสารละลายมา 10 ml นามาไทเทรตกับสารละลาย NaOH
เข้ ม ข้ น 0.1 M ปรากฏว่ า ต้ อ งใช้ NaOH 20 ml จึ ง จะท าปฏิ กิ ริ ย ากั น พอดี อยากทราบว่ า ความเข้ ม ข้ น ของ
สารละลาย HCI ก่อนการเจือจางเป็นเท่าไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 102
P “Rain”
เรื่องที่ 10 ไฟฟ้า (Electrochemical)
1. เลขออกซิเดชัน
หมายถึง ตัวเลขแสดงค่าประจุไฟฟ้าที่แท้จริงหรือประจุไฟฟ้าสมมติของธาตุ หลักการคิดเลขออกซิเดชัน
 หมู่ I, II, III มีเลขออกซิเดชัน +1, +2, +3 ตามลาดับ เช่น Na+, Mg2+, Al3+
 ธาตุ F มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1 เสมอ เนื่องจากมีค่า EN (ความสามารถในการดึงดูด
อิเล็กตรอน) สูงสุดในตารางธาตุ
 หมู่ V, VI, VII ส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชัน -3, -2, -1 ตามลาดับ
 ธาตุหมู่ VIII ไม่มีเลขออกซิเดชัน (มีค่า=0) เพราะเสถียรอยู่แล้ว จึงไม่เกิดสารประกอบ
 ธาตุแทรนสิชันบางชนิดส่วนใหญ่มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าและมีค่าเป็นบวก ส่วนธาตุแทรนสิ
ชันบางชนิดที่มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียวได้แก่ Ag+, Zn2+, Sc3+
 H มีค่าเป็น +1 ถ้าเป็นพันธะโคเวเลนต์ และมีค่าเป็น -1 ถ้าเป็นพันธะไอออนิก
 ไอออนชนิดเดียวกันจะมีค่าประจุเท่ากัน SO42-, CO32-, PO43-, NO3-, ClO4-
 ธาตุอิสระทุกตัวมีเลขออกซิเดชัน เท่ากับ 0 เช่น Na, Zn, O2, S8
 เลขออกซิเดชันของสารประกอบใดๆ ก็ตาม รวมกันจะมีค่าเท่ากับ 0 หรือ เท่ากับไอออนที่ปรากฏ
อยู่
 เลขออกซิเดชันจะมีค่าเป็นจานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ หรือเศษส่วนก็ได้
 ถ้าสารประกอบมีธาตุ 3 ตัว ให้หาเลขออกซิเดชันของธาตุ 2 ตัวริมก่อน!

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
เคมีปรับพื้นสอบเข้า >> P&T Learning Institute Center << 103
P “Rain”
2. ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction)
* มาจากคาว่า Reduction และ Oxidation หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีทั้งการรับและให้อิเล็กตรอนของธาตุ
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยทั่วไป แบ่งได้หลายแบบขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่นามาใช้ แต่ถ้ายึดเกณฑ์เกี่ยวกับการโอนอิเล็กตรอน
อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
2.1 ปฏิกิริยาที่ไม่เป็นรีดอกซ์ (Non-Redox reaction)
หมายถึง ปฏิกิริยาที่ไม่มีการให้และรับอิเล็กตรอน หรือ 2.2 ปฏิกิริยาที่เป็นรีดอกซ์แน่นอน (Redox reaction)
ปฏิกิริยาที่ให้อิเล็กตรอนเพียงอย่างเดียวหรือ ปฏิกิริยาที่รับ หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีทั้งการให้และรับอิเล็กตรอนเกิดขึ้น
อิเล็กตรอนเพียงอย่างเดียว เช่น พร้อมกัน ซึ่งมีผลให้เลขออกซิเดชันของธาตุต่างๆ เปลี่ยนไป
- การละลายน้าหรือการแตกตัวในน้าของกรด-เบส- เช่น
เกลือ เช่น - ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระปรากฏอยู่ในสมการ
NH3 + H2O → NH4+ + OH- - ปฏิกิริยาที่ไอออนของธาตุเดียวกันมีประจุ
- ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดกับเบส เปลี่ยนไป
- ปฏิกิริยาการรวมตัวสารประกอบไอออนิกเกิด - ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอะตอมของธาตุ
ตะกอน ปฏิกิริยารีดอกซ์ แบ่งเป็น 2 ปฏิกิริยาย่อยคือ
รูปการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ - ปฏิกิริยารีดักชัน (Reduction) ปฏิกิริยารับ
อิเล็กตรอน ทาหน้าที่เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizer)
และถูกรีดิวซ์
Reduction = รีดักชัน = รับ e- = ลด เลขออกซิเดชัน
- ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) ปฏิกิริยาให้
อิเล็กตรอน ทาหน้าที่เป็นตัวรีดิวซ์ (reduce) และ
ถูกออกซิไดซ์
Oxidation = ออกซิเดชัน = e- ออก = เพิ่ม เลข
ออกซิเดชัน

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที พี่เบียร์ 094-929-2552


หัวโค้งหน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด-สอบเข้า การันตีดว้ ยประสบการณ์มากกว่า25ปี
www.facebook.com/schoolpandt
Page | 104 เคมี ปรับพืนป.ตรี

3. เซลล์ไฟฟ้าเคมี
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
3.1 เซลล์กัลวานิก หรือ เซลล์โวลตาอิก (Galvanic cell หรือ Voltaic cell)
3.2 เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte cell)

3.1 เซลล์กัลวานิก
เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี ที่สารทาปฏิกิริยากันแล้วให้กระแสไฟฟ้าออกมา เป็นเซลล์ที่สามารถเกิดขึ้นได้เอง มีค่า Ecello
เป็นค่าบวกเสมอ ในชีวิตประจาวัน เราใช้เซลล์กลั วานิกกับอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด เช่น ไฟฉาย วิทยุ นาฬิกา
โทรศัพท์มือถือ เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

พลังงานเคมี → พลังงานไฟฟ้า

รูปแสดงส่วนประกอบของเซลล์กัลป์วานิก

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี
Page | 105 เคมี ปรับพืนป.ตรี

 ส่วนประกอบของเซลล์กลั วานิก 
1. ครึ่งเซลล์ (half cell) 2. สะพานไอออน (salt bridge) 3. เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
 ครึ่งเซลล์ที่มีขวั้ ว่องไวในการ เป็ น ตั ว เชื่ อ มวงจรไฟฟ้ า แต่ ล ะครึ่ ง (Voltmeter)
เกิดปฏิกิริยา (ส่วนใหญ่เป็น เซลล์ เ ข้ า ด้ ว ยกั น ถ้ า ไม่ มี ส ะพาน - เป็นเครื่องมือวัดว่า ทั้ง 2 ครึ่ง
ขั้วไฟฟ้าที่ทาจากโลหะ) เช่น ไอออน จะไม่ มี ก ระแสไฟฟ้ า ไหลใน เซลล์ มีศักย์ไฟฟ้าต่างกันกี่โวลต์
- โลหะ Zn จุ่มในสารละลายทีม่ ี วงจร เนื่ อ งจากวงจรไฟฟ้ า ไม่ ค รบ
Zn2+ นอกจากนี้ สะพานไอออนยังทาหน้าที่ - ในกรณีที่ความต่างศักย์มาก ๆ
รักษาสมดุลระหว่า งไอออนบวกและ อาจใช้หลอดไฟวัดความสว่างก็
- โลหะ Cu จุ่มในสารละลายทีม่ ี ไอออนลบ ได้
Cu2+ สารที่ใช้ทาสะพานไอออน
 ครึ่งเซลล์ที่มีขวั้ เฉื่อยในการ คือ สารละลายอิ่มตัวของเกลือต่าง ๆ
เกิดปฏิกิริยา เช่น NH4NO3 , KCl , KNO3 ,
NH4Cl เกลือที่ใช้ทาสะพานไอออนนี้
- ใช้ขั้วไฟฟ้าที่ทาจากโลหะหรือ
ต้องไม่มีไอออนที่ไปทาปฏิกิริยากับ
อโลหะบางชนิด เช่น โลหะ
สารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์ด้วย
แพลทินัม (Pt) และแกรไฟต์ (C)
- ขั้วไฟฟ้าชนิดนี้ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการเกิดปฏิกิริยาใด ไม่มีการผุ
กร่อน เพราะทาหน้าที่เป็นตัวถ่าย
โอนอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่ครบ
วงจร
 ครึ่งเซลล์ที่มีขวั้ ไฟฟ้าเป็นแก๊ส
- ครึ่งเซลล์นี้จะประกอบด้วยโลหะ
Pt ห รื อ แ ก ร ไ ฟ ต์ จุ่ ม อ ยู่ ใ น
สารละลายอิ เ ล็ ก โทรไลต์ โดยมี
แก๊สผ่านเข้าไปในสารละลายนั้ น
ตลอดเวลา
- ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นที่แผ่น Pt การที่
ต้องมีแผ่น Pt อยู่ด้วย เพราะแก๊ส
ทาหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าไม่ได้

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี
Page | 106 เคมี ปรับพืนป.ตรี

 การเขียนแผนภาพเซลล์แบบต่าง ๆ 

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี
Page | 107 เคมี ปรับพืนป.ตรี

 ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์และศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (การคานวณค่า E0)

E0 = ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตราฐาน

สูตรที่ใช้ Ecell0 = Ecathode- EAnode

ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน 2H+ (aq , 1 mol/dm3) + 2e- → H2 (g , 1 atm) E° = 0.00 V

1. กาหนด เซลล์ 1 คือ Ni |Ni2+ || Cu2+ |Cu E๐ เซลล์ = 0.57 v


เซลล์ 2 คือ Mg | Mg2+ || Ni2+ | Ni E๐ เซลล์ = 2.15 v
เมื่อนาครึ่งเซลล์ของ Cu|Cu2+ มาต่อกับครึ่งเซลล์ของ Mg|Mg2+ จานวณศักย์ไฟฟ้าของเซลล์พร้อมระบุว่าครึ่งเซลล์
ใดเป็นขั้วแคโทดและแอโนด (ใช้ข้อมูลจากที่โจทย์กาหนดให้เท่านั้น)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………
2. ปฏิกิริยาต่อไปนี้สารใดที่เป็นสารรีดิวซ์ และสารใดเป็นสารออกซิไดส์ พร้อมทั้งเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาของแต่ละ
ครึ่งเซลล์
2.1 Cr(OH)3 + ClO- + OH- CrO42- + Cl- + H2O
สารรีดิวซ์ คือ.........................................สารออกซิไดส์ คือ.....................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน..............................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................
2.2 C + H2SO4 H2O + CO2
สารรีดิวซ์ คือ.........................................สารออกซิไดส์ คือ.....................................................
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน..............................................................................................................
ปฏิกิริยารีดักชัน....................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี
Page | 108 เคมี ปรับพืนป.ตรี

3. ในการสร้างเซลล์กัลวานิกชุดหนึ่ง ครึ่งเซลล์ไฟฟ้าประกอบด้วยแท่งโลหะแคลเซียมจุ่มในสารละลายแคลเซียมไนเต
รท เข้มข้น 1 โมล/ลิตร และอีกครึ่งเซลล์ไฟฟ้าประกอบด้วนสารละลาย HCl เข้มข้น 1 โมล/ลิตร ซึ่งมีก๊าซไฮโดรเจน
1 บรรยากาศผ่านอยู่ และเชื่อมด้วยสะพานเกลือ (ซึ่งเป็นหลอดแก้วรูปตัวยูบรรจุวุ้นที่มี KNO3 บรรจุอยู่) จงตอบ
คาถามต่อไปนี้
3.1 จงวาดรูปแสดงการเกิดเซลล์กัลวานิก พร้อมทั้งแสดงทิศทางการไหลของอิเล็กตรอน

3.2 เขียนสมการของปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน..................................................................................................


3.3 เขียนสมการของปฏิกิริยารีดักชัน .....................................................................................................
3.4 เขียนสมการของปฏิกิริยารีดอกซ์.........................................................................................................
3.5 เขียนแผนภาพแบบย่อของเซลล์กัลวานิก..........................................................................................
3.6 จงคานวณหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี
Page | 109 เคมี ปรับพืนป.ตรี

4. จงตอบคาถามจากข้อมูลต่อไปนี้
A (s)/A+ (aq) E๐ = -3.0 V C (s)/C2+ (aq) E๐ = -0.7 V
B (s)/B2+ (aq) E๐ = -2.0 V D (s)/D3+ (aq) E๐ = -0.4 V
4.1 ถ้าจุ่มโลหะ A ลงในสารละลาย B2+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
____________________________________________________________________________________
4.2 ถ้าจุ่มโลหะ A ลงในสารละลาย C2+ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพราะเหตุใด
____________________________________________________________________________________
4.3 ถ้าต้องการให้เกิดปฏิกิริยาระหว่าง B (s)/B2+ (aq) กับ D (s)/D3+ (aq) ควรใช้โลหะใดเป็นขั้วไฟฟ้า และ
ควรใช้ไอออนใดเป็นสารละลาย
___________________________________________________________________________________
Half-oxidation reaction :______________________________________________________________
Half-redution reaction :________________________________________________________________
Redox reaction :______________________________________________________________________
Reducing agent:______________________________________________________________________
4.4 จากครึ่งเซลล์ที่กาหนดให้ จงเรียงลาดับความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อย
____________________________________________________________________________________
4.5 จากครึ่งเซลล์ที่กาหนดให้ จงเรียงลาดับความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์จากมากไปน้อย
____________________________________________________________________________________
5. กาหนด ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานรีดักชันของโลหะและภาพเซลล์กัลป์วานิก
A2+(aq) + 2e-  A (s) E๐ = + 1.00 V
B3+(aq) + 3e-  B (s) E๐ = - 1.00 V
ก. ต้องนาครึ่งเซลล์ของโลหะชนิดใดมาต่อเป็นเซลล์กัลป์วานิกกับครึ่งเซลล์
Ag/AgNO3 เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเป้นไปตามภาพที่กาหนดให้
............................................................................................................
ข. อิเล็กโทรดชนิดใดที่จะผุกร่อนเมื่อเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์
.............................................................................................................
ค. ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยา reduction
คือ..........................................................................................................................................................................
ง. ปฏิกิริยา redoxคือ....................................................................................................................................................
จ. แผนภาพเซลล์กัลป์วานิก คือ.....................................................................................................................................
ฉ. ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์กัลป์วานิก คือ......................................................................................................................

สถาบันกวดวิชาพีแอนด์ที Tel : 094-929-2552 พี่เบียร์ www.facebook/schoolpandt


หัวโค้ง หน้า มจพ. ติวเพิ่มเกรด – สอบเข้า การันตีด้วยประสบการณ์มากกว่า24ปี

You might also like