You are on page 1of 67

การศึกษาสภาวะที่ส่งผลต่อการบำบัดน้ำเสียสังเคราะห์

ปนเปื้อนยาปฏิชีวนะด้วยกระบวนการ Electrooxidation ร่วมกับ UV

จัดทำโดย
นายพงศพล บรรเทพ 63050201
นายรัชตะ ไชยเชษฐ 63050204
นางสาวศศิพร บุญเขียว 63050490
อาจารย์ที่ปรึกษา
ดร. ตติยา วรรณโนมัย
1

ลำดับการนำเสนอ

บทที่ 1 : บทนำ บทที่ 3 : วิธีการดำเนินงาน


ที่มาและความสำคัญ สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
วัตถุประสงค์ เครื่องมือในการทดลอง
ขอบเขตการศึกษา ขั้นตอนการทดลอง
สมมติฐาน การวิเคราะห์ผล
ระยะเวลาในการดำเนินงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 : ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2

บทที่ 1 : บทนำ
3

ที่มาและความสำคัญ
พบการตกค้างและปนเปื้อนทั้งในน้ำผิวดิน น้ำทิ้ง น้ำใต้ดิน ดิน เป็นต้น

https://www.drugs.com/mtm/sulfame https://botupharma.com https://livewithdrug.com/2018/10/1


thoxazole-and-trimethoprim.html /produto/17-beta/ 4/using-diclofenac-and-risk-fo
r-cardiac-arrest/

ถึงแม้ Trimethoprim จะมีประโยชน์ในรักษาโรคแต่ถ้ามีการปน


เปื้อนในแหล่งน้ำ อาจสร้างปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมการติดเชื้อ
http://www.thaihealthconsumer.org/news/rivers-contaminated-antibiotics/
แบคทีเรียที่ดีน้อยลง
4

ที่มาและความสำคัญ (ต่อ)
กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางกายภาพ กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางเคมี
(Physical Treatment) (Biological Treatment) (Chemical Treatment)

https://chem.libretexts.org/Courses/Furman_University/CHM1
https://www.matichon.co.th/local/news_3467442 https://civildigital.com/anaerobic-treatment-of-d
01%3A_Chemistry_and_Global_Awareness_%28Gordon%29/08%3
omestic-sewage-with-special-emphasis-on-uasb/
A_Water_Chemistry/8.08%3A_Other_Water_treatment_processes
5

ที่มาและความสำคัญ (ต่อ)
กระบวนการทางเลือกบำบัดขั้นสูง(Advance Oxidation Process, AOP)
Electrooxidation (EO) Ultraviolet (UV)

https://esemag.com/wastewater/electro-oxidation-shows-promis https://www.hotsr.com/news/2017/nov/12/wastewater-uv-system-goes-live/
e-for-treating-high-strength-ethylene-glycol-wastewater/
6

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการบำบัดไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ด้วยกระบวนการ Electrooxidation (EO) และ
Electrooxidation/Ultraviolet (EO/UV) ในสภาวะที่แตกต่างกัน
2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบำบัดไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ด้วยกระบวนการ
Electrooxidation (EO) และ Electrooxidation/Ultraviolet (EO/UV)
3. เพื่อเปรียบเทียบสภาวะการทดลองที่ต่างกันที่ใช้ในกระบวนการบำบัดไตรเมโทพริม (TMP) ด้วยวิธีการ
Electrooxidation (EO) และ Electrooxidation/Ultraviolet (EO/UV)
7

ขอบเขตการศึกษา
1. บำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนยาปฏิชีวนะชนิดไตรเมโทพริมด้วยกระบวนการ
Electrooxidation
2. บำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนยาปฏิชีวนะชนิดไตรเมโทพริมด้วยกระบวนการ
Electrooxidation ร่วมกับกระบวนการ Ultraviolet
3. กำหนดความเข้มข้นของตัวยาไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ในน้ำเสียสังเคราะห์ 50 µM
(อ้างอิงจากความสามารถของเครื่องมือ HPLC), ความเข้มข้นสารอิเล็กโทรไลต์ (NaCl) 500
mg/L, pH 5.8, 6.8 และ 7.8 ความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า 10 mA/cm2 และหลอด UV
16 วัตต์ 254 นาโนเมตร
8

ขอบเขตการศึกษา (ต่อ)
4. ใช้เครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) สำหรับการวิเคราะห์
ความเข้มข้นไตรเมโทพริมที่เหลืออยู่ในน้ำตัวอย่างหลังจากทำการทดลอง
5. ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บน้ำตัวอย่างของการทดลองเริ่มจาก 0-60 นาที
6. ศึกษาอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากการทดลอง โดยใช้สาร Nitrobenzene (NB) และ
Benzoic Acid (BA)
9

สมมติฐาน
1. กระบวนการ Electrooxidation/Ultraviolet (EO/UV) สามารถถูกเลือกใช้ให้เป็นหนึ่งในกระบวนการ
บำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ที่ปนเปื้อนยาไตรเมโทพริม
2. ปริมาณคลอรีนที่เหลือซึ่งได้มาจากสารอิเล็กโทรไลต์ (NaCl) สามารถถูกกำจัดได้ด้วยกระบวนการ UV
3. ความเข้มของแสง UV มีผลต่อเวลาในการกำจัดความเข้มข้นไตรเมโทพริมในน้ำเสียสังเคราะห์
4. ค่า pH ที่ 6.8 มีความเหมาะสมในการบำบัดไตรเมโทพริม ในเรื่องความคุ้มค่าเช่น เวลา ค่าใช้จ่าย
ปริมาณสารอิเล็กโทรไลต์
10

ระยะเวลาในการดำเนินงาน
11

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. งานวิจัยนี้สามารถช่วยหรือเป็นพื้นฐานที่จะต่อยอดเพื่อใช้ในการบำบัดน้ำเสียจริงที่มีการปนเปื้อน
ยาไตรเมโทพริมได้
2. กระบวนการนี้อาจนำไปสู่การพัฒนาระบบการบำบัดน้ำในระบบน้ำเสียที่มีการปนเปื้อนตัวยา
ประเภทอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้
3. ปริมาณยาที่ลดลงหลังการบำบัดจะช่วยลดความเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
12

บทที่ 2 : ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
13
10

ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics)

https://www.center4research.org/wp-content/uploads/2016/06/shutterstock_504085291-scaled.jpg

ตัวอย่างชนิดของกลุ่มยาปฏิชีวนะ เช่น เพนิซิลลิน อะมิโนไกลโคไซด์ ควิโนโลน ซัลโฟนาไมด์ เป็นต้น


14
11
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) (ต่อ)

Trimethoprim
Chemical Formula : C14 H18 N4 O3

https://go.drugbank.com/drugs/DB00440

ยาไตรเมโทพริม (Trimethoprim) จัดอยู่ในกลุ่มยาซัลโฟนาไมด์ มักถูกใช้เป็นยาป้องกันและรักษาโรคติดเชื้อ


ระบบทางเดินปัสสาวะ
การออกฤทธิ์ของยาไตรเมโทพริม คือ ตัวยาจะเข้าไปรบกวนกระบวนการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย โดยเปลี่ยน
กรดไดไฮโดรโฟลิก (Dihydrofolic acid) ไปเป็นกรดเตตระไฮโดรโฟลิก (Tetrahydrofolic acid) ซึ่งเป็น
กระบวนการสำคัญในการสร้างสารพันธุกรรมชนิดดีเอ็นเอ (DNA) ทำให้แบคทีเรียหยุดการเจริญเติบโตหรือตายลง
15
12
กระบวนการออกซิเดชันด้วยไฟฟ้า (Electrooxidation)
การบําบัดน้ำเสียที่มีสารอินทรีย์ที่ใช้กันปัจจุบัน ได้แก่
กระบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าทางตรง (Direct electrochemical process)
การบวนการออกซิเดชันด้วยกระแสไฟฟ้าทางอ้อม (Indirect electrochemical process)

https://study.com/learn/lesson/spectroscopy-types-techniques-absorption-nuclear-magnetic-mass.html
16
14
กระบวนการอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet, UV)

https://study.com/learn/lesson/spectroscopy-types-techniques-absorption-nuclear-magnetic-mass.html

การใช้รังสีเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถทำลายเชื้อที่อยู่บนพื้นผิวได้ โดยรังสีที่นำมาใช้สำหรับฆ่าเชื้อคือ รังสียูวีซี (UVC)


รังสียูวีซีเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น 100 - 280 นาโนเมตร รังสียูวีซีมีความสามารถในการทำลายเชื้อโรค
หรือเรียกว่า Ultraviolet Germicidal Irradiation ซึ่งทำลายเชื้อโรค แบคทีเรีย ไวรัส ราเส้นใย ยีสต์ เป็นต้น
17
15
ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า (Current Density, CD)
ความหนาแน่นกระแสคือการวัดความหนาแน่นของกระแสไฟฟ้า กำหนดให้เป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเป็นกระแส
ไฟฟ้าต่อพื้นที่หน้าตัด ในหน่วย SI ความหนาแน่นกระแสจะวัดเป็นแอมแปร์ต่อตารางเมตร

มีผลต่อประสิทธิภาพของกระบวนการ electrochemical oxidation หรือหลายกระบวนการทางอิเล็กโทร


เคมี (electrochemical processes) อื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงค่า current density สามารถมีผลต่อความเร็ว
และประสิทธิภาพในกระบวนการที่มีปัจจัยเท่ากัน กล่าวคือ ทุกตัวแปรมีค่าเท่าเดิมเพียงเปลี่ยนแปลงค่า Current
density
18

ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า (Current Density, CD) (ต่อ)

https://www.researchgate.net/figure/E-ff-ect-of-current-density-on-electrochemical-oxidation-of-ROC-at-1-0-dilution-using_fig5_269984639
19
16

พีเอช (pH)

สารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7 จะเป็น “กรด” ในขณะที่สารละลายที่มีค่ามากกว่า 7 เป็น “ด่าง” ในขณะ


ระดับพีเอชเท่ากับ 7.0 ที่ 25°C ถูกกำหนดให้เป็น “เป็นกลาง”
pH ของลำน้ำธรรมชาติจะอยู่ในช่วง 6.5 - 8.5แต่ส่วนใหญ่แล้วค่อนข้างเป็นเบสเล็กน้อยเนื่องจากมี
คาร์บอเนตและไบคาร์บอเนต
ในกระบวนการ Electrooxidation ยิ่งมีสภาพเป็นกรดยิ่งส่งผลให้มีประสิทธิภาพในการทำปฏิกิริยาสูง
เนื่องจากส่งผลให้การทำงานของอนุมูลอิสระเพิ่มมากขึ้น
20
17

ORP หรือ Oxidation reduction potential


ORP หรือที่เรียกว่า REDOX เป็นการวัดค่าไอออนในน้ำที่สะท้อนความสามารถของโมเลกุลในการออกซิไดซ์หรือ
การรีดิวซ์โมเลกุลอื่น
1. การออกซิเดชันคือการสูญเสียอิเล็กตรอน ดังนั้นตัวออกซิไดซ์จึงรับอิเล็กตรอนจากโมเลกุลอื่น
2. การรีดิวซ์คือการได้รับอิเล็กตรอน ดังนั้นรีดิวเซอร์จึงบริจาคอิเล็กตรอนให้กับโมเลกุลอื่น
ORP (Oxidation reduction potential) ถูกวัดเป็นแรงดันไฟฟ้าแสดงค่าเป็นตัวเลขบวกและลบในหน่วยมิลลิโวลต์
(mV) โดยที่ตัวออกซิไดเซอร์มีค่า ORP เป็นบวก (รับอิเล็กตรอน) ในขณะที่รีดิวเซอร์มีค่า ORP เป็นลบ
(ให้อิเล็กตรอน)
21
17

ORP หรือ Oxidation reduction potential (ต่อ)

http://www.hmgawater.ca/blog/demystifying-oxidation-reduction-potential
22
18
การเลือกวัสดุของขั้วแคโทดและแอโนด
วัสดุที่เลือกจะต้องมีคุณสมบัติทางไฟฟ้าที่ดีเพื่อให้การทำงานของวงจรเป็นไปได้ด้วยประสิทธิภาพเพื่อให้ได้
ประสิทธิภาพและความเสถียรในการทำงานของวงจรไฟฟ้า โดยทั่วไปวัสดุที่ถูกเลือกต้องมีคุณสมบัติทางไฟฟ้าที่
เหมาะสมและทนทานต่อเงื่อนไขการทำงาน

https://www.egr.msu.edu/fraunhofer-usa-cmw/projects/boron-doped-diamond-electrodes https://standardanode.com/?gclid=EAIaIQobChMIrZrNgbG8ggMV_ahmAh1Ugwh5EAAYAyAAEgKDn_D_BwE

Boron doped diamond Titanium


23
19
อนุมูลอิสระ (Free radical)
โมเลกุลหรืออะตอมที่ไม่เสถียรเนื่องจากขาดอิเล็กตรอน เพราะมีอิเล็กตรอนที่โดดเดี่ยว อนุมูลอิสระจึงเป็นสารที่มี
ความไวในการเข้าทำปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอื่นสูง ขั้นตอนการเกินอนุมูลอิสระแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. Heterolytic Cleavage
2. Hemolytic Cleavage

https://www.masterorganicchemistry.com/2013/09/06/initiation-propagation-termination/
24
20
Scavengers
สารที่ถูกใส่ไปในระบบเพื่อช่วยลดหรือกำจัดสารตกค้างหรือสารที่มีอันตรายต่อการทำงานของวัตถุหรือสารใน
ระบบนั้น ๆ โดยทั่วไป scavengers จะทำหน้าที่ตระเตรียมหรือทำลายสารตกค้างหรือสารที่ไม่ต้องการในระบบ
โดย scavenger จะเข้าไปจับกับอิเล็กตรอนของอนุมูลอิสระ

อุณหภูมิ (Temperature)
อุณหภูมิที่สูงของน้ำจะทำให้เกิดการแบ่งชั้น (Stratification) ของลำน้ำ เร่งปฏิกิริยาการใช้ออกซิเจนของ
จุลินทรีย์และลดระดับของการละลายของออกซิเจนในน้ำ อาจทำให้เกิดสภาพเน่าเหม็นขึ้นได้ มีการทดลองเกี่ยวกับ
ผลกระทบของอุณหภูมิในการเกิดออกซิเดชันด้วยไฟฟ้าของเอทานอลบนแพลทตินัมในกรดฟอสฟอริกพบว่าการเกิด
ปฏิกิริยามีอัตราเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
25
21
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.Oxidation of Selected Trace Organic Compounds through the Combination of the Inline Electro-
Chlorination with UV Radiation (UV/ECl2) as Alternative AOP for Decentralized Drinking Water
Treatment (Philipp Otter et al., 2020)
ศึกษาเกี่ยวกับการผสมระหว่างการสร้างคลอรีนด้วยไฟฟ้าแบบอินไลน์ (ECl2 ) กับเครื่องปฏิกรณ์ UV ความดันต่ำ (UV/ECl2 ) เพื่อใช้งาน AOP
ที่ใช้คลอรีนโดยไม่ต้องเติมคลอรีน
26
22
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
1.Oxidation of Selected Trace Organic Compounds through the Combination of the Inline Electro-
Chlorination with UV Radiation (UV/ECl ) as Alternative
2 AOP for Decentralized Drinking Water
Treatment (Philipp Otter et al., 2020) (ต่อ)
27
24
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
2.Trimethoprim removal from wastewater : Adsorption and electro-oxidation comparative case
study (Simeone Chianese et al., 2023)
28
24
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
2.Trimethoprim removal from wastewater : Adsorption and electro-oxidation comparative case
study (Simeone Chianese et al., 2023) (ต่อ)
29
25
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
3. Review of antibiotics treatment by advance oxidation processes
(Mohammad Zahir Akbari et al., 2021)

https://doi.org/10.1016/j.envadv.2021.100111

นําเสนอวิธี Advance Oxidation Processes (AOPs) ต่าง ๆ สำหรับบําบัดยาปฏิชีวนะจากน้ำเสีย เช่น การเกิดออกซิเดชันแบบเฟนตัน โอโซน
โฟโตคาตาไลติกออกซิเดชัน การเกิดออกซิเดชันทางเคมีไฟฟ้า และกระบวนการออกซิเดชันแบบเปียก รวมถึงการแนะนําสั้น ๆ
เกี่ยวกับหลักการ ลักษณะสำคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาและการใช้งาน
30
26
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
4. Comparative removal of trimethoprim and its phytotoxicity by using chlorination, UV irradiation, and
UV/chlorine process : Factors affecting the removals and kinetics (Sirilak Ekwong et al., 2022)
เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกำจัดไตรเมโทพริม (Trimethoprim) และความเป็นพิษต่อพืชโดยใช้กระบวนการ Chlorination,
UV irradiation และ UV/Chlorine โดยทำการทดลองในน้ำเสียสังเคราะห์และน้ำทิ้งที่มีปริมาณคลอรีนที่แตกต่างกัน (50, 250, 500 µM),
pHs (6, 7, 8) ความเข้มข้นของ TMP (25, 50, 75 µM)

กราฟแสดงการเปรียบเทียบในการกำจัดไตรเมโทพริม
ของกระบวนการ UV กระบวนการ Chlorination
และกระบวนการ UV/Chlorine
31
28
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
Application of Electrochemical Oxidation for Water and Wastewater Treatment : An
Overview (Mohammad Saleh Najafinejad et al., 2023)
32
29
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
Boron-Doped Diamond Electrodes : Fundamentals for Electrochemical Applications
(Yasuaki Einaga et al.,2022)
33
30
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
Electrochemical-based advanced oxidation for hospital wastewater treatment (Motasem
Y.D. Alazaiza et al.,2023)

งานวิจัยนี้คือการพัฒนาวิธีการในการกำจัดสารเคมีในน้ำเสียจาก
โรงพยาบาล โดยใช้เทคโนโลยีอิเล็กโทรเคมีและกระบวนการ
advanced oxidation process (AOP) เพื่อลดความเสี่ยงต่อ
สุขภาพและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังมีการใช้ไฟฟ้าหรือสารตัว
ช่วยในกระบวนการกำจัดสารเคมีที่เป็นพิษ
34

บทที่ 3 : วิธีการดำเนินงาน
35

สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
สารเคมี
1. สารเคมีที่ใช้ในการเตรียมน้ำเสียสังเคราะห์
- ไตรเมโทพริม (Trimethoprim), ความบริสุทธิ์ ≥ 98% จากบริษัท Sigma Aldrich
- สารอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ คือ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 500 mg/L
- สาร pH Buffer สำหรับน้ำตัวอย่าง คือ ไดโพแทสเซียมฟอสเฟต (K2 HPO4 )
และโพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (KH2 PO4 )
2. สารเคมีสำหรับหาปริมาณความเข้มข้นของยาไตรเมโทพริมโดยใช้เครื่อง HPLC
- โซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2 O3)
- สาร Moblie phase ได้แก่ Methanol, Glacial Acetic Acid
36

สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
สารเคมี (ต่อ)
3. สารเคมีสำหรับการวิเคราะห์หาคลอรีน
- Phosphate buffer (Disodium Phosphate; Na2 HPO4 , Potassium dihydrogen phosphate;
KH2 PO4 , Disodium EDTA; C10 H16 N2Na2 O8 )
- DPD (DPD sulfate; C10 H16 N2 · H2SO4 , Sulfuric Acid; H2 SO4 , Disodium EDTA;
C10 H16 N2 Na2 O8 )
- FAS (Ferrous Ammonium Sulfate; Fe(NH4 )2(SO4 ) 2 · 6H2O, Sulfuric Acid; H2 SO4 )
4. สารเคมีการวิเคราะห์อนุมูลอิสระที่มีผลต่อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลอง (Scavengers)
- กรดเบนโซอิก (Benzoic Acid, BA)
- ไนโตรเบนซีน (Nitrobenzene, NB)
37

สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
อุปกรณ์การทดลอง
1. อุปกรณ์เครื่องแก้วพื้นฐาน
2. ชุดปฏิกรณ์ Electrogen
3. เครื่องชั่งแบบละเอียด (4 และ 5 ตำแหน่ง)
4. เครื่องวัดพีเอช (pH meter)
5. เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer)
6. Magnetic Stirrer
7. เครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC)
38

เครื่องมือในการทดลอง

1. เครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC)


ที่มา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2566

2. ชุดปฏิกรณ์ Electrogen สำหรับการทดลอง Electrooxidation


ที่มา : สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2566
39

ขั้นตอนการทดลอง
1. เตรียมน้ำเสียสังเคราะห์
40

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
เตรียม TMP 1000 µM เพื่อใช้เป็น Stock จำนวน 1 L (MwTMP = 290.32 g/mol)
mol = g/Mw g = mol x Mw
l l = 1,000 µmol x 290.32 g
mol
= 29,032 µg
= 0.29032 g ต่อน้ำ 1 L

ต้องการให้มีความเข้มข้น 50 µM ในสารละลายปริมาตร 400 ml ต้องใช้ 20 ml จากในStock


C1 V1 = C2V2
1,000 µmol x V1 = 50 µmol x 400 ml
l l
V1 = 20 ml
41

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
เตรียม Phosphate buffer

ปริมาณสารละลาย (ml)
pH
K2HPO4 KH2PO4

5.8 8.5 91.5

6.8 49.7 50.3

7.8 90.8 9.2


42

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
เตรียม NaCl

C1 V1 = C2V2

20,000 mg x V1 = 500 mg x 400 ml

V1 = 500 mg x 400 ml
20,000 mg
V1 = 10 ml
43

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation
K2HPO4 KH2 PO4
2.1

เติม NaCl
เพื่อเป็นสารElectrolyte
ให้ได้ความเข้มข้น 500 mg/l

เติม pH buffer
ให้ได้ค่า pH ที่ต้องการ Ultrapure
water

น้ำเสียสังเคราะห์ที่มี เติมน้ำ Ultrapure


ความเข้มข้นของตัวยาTMP ให้ได้ปริมาตรรวม 400 ml
44

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation (ต่อ)

2.2 2.3 2.4


4m

Ti
BDD

หนีบขั้วไฟฟ้าโดยใช้ขั้วแอโนดเป็นTi
และหนีบขั้วแคโทดเป็นBDD นำน้ำเสียสังเคราะห์เข้าทำการทดลอง
วัด pH ของน้ำเสีย ในชุดปฏิกรณ์ Electrogen
ให้มีระยะห่างระหว่างขั้วทั้งสอง 4 cm
45

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation (ต่อ)

2.5

เปิดเครืื่องทดลองโดยเลือกความหนาแน่นกระแส 10 A/cm2
หลังจากนั้นทำการจับเวลา โดยจับเวลา 5, 10, 30 และ 60 นาที
เพื่อเก็บตัวอย่างพร้อมวัดค่า pH ในทุกๆช่วงการเก็บตัวอย่าง
46

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ) FAS

2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation (ต่อ)

2.6 จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน


K2HPO4
การวิเคราะห์ปริมาณคลอรีน
DPD
2

เติม K2HPO4
เพื่อปรับค่า pH นำน้ำเสียเข้าสู่
ดูดน้ำ 10 ml จากน้ำเสียสังเคราะห์ กระบวนการไทเทรตโดยใช้สาร FAS
แล้วเติม DPD เพื่อยับยั้งการเกิดคลอรีน
47

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation (ต่อ)

2.6 การวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของ
ปริมาณไตรเมทโทพริม
นำเข้าเครื่อง HPLC
Na2S2O3

นำน้ำเสียมาเติม กรองด้วย Syringe filter เก็บน้ำตัวอย่างเข้าขวดเก็บตัวอย่าง


Sodium thiosulfate เพื่อกำจัดคลอรีน รูพรุนขนาด 0.22 µm
48

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
2.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation (ต่อ)

2.7 2.8

นำค่าที่ได้จากการทดลองไปพล๊อตกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2.1 - 2.6
ความเข้มข้นของตัวยาไตรเมโทพริม กับ ระยะเวลา
โดยมีการเปลี่ยนค่า pHเพื่อเปรียบเทียบ
49

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
3.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation/UV

3.1 3.2

หลังจากการวิเคราะห์ในข้อ 2. ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation ทำขั้นตอนเริ่มต้นเช่นเดียวกับการทดลอง


นำมาใช้ร่วมกับรังสี UV เลือกสภาวะที่มีประสิทธิภาพบำบัดสูงสุด Electrooxidation ในข้อ 2.1 - 2.3
50

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
3.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation/UV (ต่อ)
หลอด UV
3.3 3.4

นำน้ำเสียสังเคราะห์เข้าทำการทดลองในชุดปฏิกรณ์ Electrogen
ก่อนเริ่มทำการทดลอง ทำการเปิดหลอด UV ทำการเปิดแผ่นกั้นบริเวณการฉายของรังสี UV ออก เพื่อทำการ
ที่จะใช้โดยเปิดทิ้งไว้ 20 - 30 นาที ฉายรังสี UV ลงสู่น้ำเสียสังเคราะห์ จากนั้นทำการจับเวลา 5,
10, 30 และ 60 นาที เพื่อเก็บตัวอย่างพร้อมวัดค่า pH
51

ขั้นตอนการทดลอง (ต่อ)
3.ขั้นตอนการทดลอง Electrooxidation/UV (ต่อ)

3.5

ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2.5 - 2.8


ในความหนาแน่นกระแสที่มีผลดีที่สุดในการทดลอง Electrooxidation
52

การวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์ความหนาแน่นของกระแส (Current Density)
คำนวณหา current density (CD) สิ่งที่ต้องทราบคือ ค่ากระแสไฟฟ้า (I) และพื้นที่เปียกน้ำของแผ่นขั้ว
กระแสไฟฟ้า (Ap) จากนั่นทำการปรับค่า (I) ตาม (CD) ที่ต้องการ
53

การวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์คลอรีน

}
การวิเคราะห์คลอรีนที่มีผลมาจากความเข้มข้นของสารอิเล็กโทรไลต์ที่เกิดในระบบโดยใช้วิธีการไทเทรตรายละเอียดดังนี้

Phosphate buffer
https://youtu.be/cQqGzmgLI_I?feature=shared
5 ml
Ferrous ammonium sulfate (FAS)
N-Diethyl-p-phenylenediamine https://www.fishersci.com/shop/products/ferrous-ammonium-sulfate-0-
1n-standardized-solution-spectrum-chemical/18610553

(DPD)
5 ml
https://youtu.be/cQqGzmgLI_I?feature=shared
https://youtu.be/cQqGzmgLI_I?feature=shared

น้ำตัวอย่างที่เจือจาง ปริมาตรรวมเป็น
ด้วยน้ำ DI 100ml 110 ml
ทำการไทเตรทด้วย FAS จนเป็นสีใส
https://youtu.be/cQqGzmgLI_I?feature=shared
54

การวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์ไตรเมโทพริม (Trimethoprim)
ใช้เครื่องมือ High Performance Liquid Chromatography (HPLC) รายละเอียดดังนี้

Vial

Syringe Filter
0.22 µm https://sykam.com/product/valves/s-6021-hplc-valve/ https://shorturl.asia/VxTnF https://jascoinc.com/products/chromatography/hplc/
modules/detectors/uv-visible-hplc-detectors/

Mobile phase Pump Injector Column Detector

79:20:1 10 ml/min 20 µM AQS C18 HPLC column UV ที่ 254 nm


Ultra-pure : เมทานอล (4.6 mm 150 mm 5 µm)
: กรดอะซิติก
55

การวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์อนุมูลอิสระ
การวิเคราะห์อนุมูลอิสระที่มีผลต่อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลอง อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ
Electrooxidation ในระบบจะใช้ Scavengers 2 ชนิด คือ Nitrobenzene (NB) และ Benzoic Acid (BA) โดย
NB มีคุณสมบัติในการจับอนุมูลอิสระตระกูล OH• เท่านั้น และ BA มีคุณสมบัติในการจับอนุมูลอิสระตระกูล OH•
และ Cl• ซี่งปริมาณที่ใช้อ้างอิงจากปริมาณของการเตรียมความเข้มข้นไตรเมโทพริมเริ่มต้น (50 µM) จากนั้นนำ
ข้อมูลที่ได้ไปพล็อตกราฟระหว่าง C/C0 กับเวลา
56

บทที่ 4 : ผลการศึกษาและอภิปราย
57
29
4.1 ตัวแปรศึกษาสำหรับการทดลอง Electrooxidation, Electrooxidation/UV
ตารางผลของการทดลองค่าความเข้มแสงกับหลอด UV 16 Watts 3 หลอดเปรียบเทียบกับการทดลองค่าความเข้ม
แสงหลอด UV 6 Watts 3 หลอด (ศราวุธ และคณะ, 2565)
เวลา ค่าจากเครื่อง Spectrophotometer UV 16 Watts 3 หลอด UV 6 Watts 3 หลอด เวลา ค่าจากเครื่อง Spectrophotometer UV 16 Watts 3 หลอด UV 6 Watts 3 หลอด
(min.) (Dilute 100 เท่า) (mW/cm2) (mW/cm2) (min.) (Dilute 100 เท่า) (mW/cm2) (mW/cm2)

5 - - 0.986 60 0.3532 1.36 0.858

10 - - 0.920 70 0.3939 1.30 -

30 0.2104 1.62 0.901 80 0.3860 1.11 -

40 0.2321 1.34 - 90 0.5775 1.48 -

50 0.3023 1.40 - AVG. - 1.37 0.916


58
29
4.1 ตัวแปรศึกษาสำหรับการทดลอง Electrooxidation, Electrooxidation/UV (ต่อ)
ปริมาณคลอรีน (Cl2) ที่เกิดขึ้นจากการเข้าสู่ระบบบำบัดที่มีการผสมยา Trimethoprim

เวลา EO EO/UV EO-BA EO/UV-BA EO-NB EO/UV-NB


(min.) (mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L) (mg/L)

1 9 12 5 4 3 4

5 35 18 7 3 6 6

15 18 22 11 12 12 13

30 22 23 18 12 13 21

50 49 36 31 15 18 35

pH 5.8 วิเคราะห์ปริมาณคลอรีนด้วยวิธีการ Titration


59
29
4.1 ตัวแปรศึกษาสำหรับการทดลอง Electrooxidation, Electrooxidation/UV (ต่อ)
ปริมาณคลอรีน (Cl2) ที่เกิดขึ้นจากการเข้าสู่ระบบบำบัดที่มีการผสมยา Trimethoprim
เวลา EO EO/UV EO (mg/L)
(min.) (mg/L) (mg/L) (ศราวุธ และคณะ, 2565) เวลา EO EO/UV
(min.) (mg/L) (mg/L)
1 0.35 0.24 -
1 0.19 0.10
5 3.15 1.46 2
5 0.45 0.61
10 - 2.60 2
15 1.90 1.55
15 5.49 3.65 -
30 2.15 2.50
30 8.99 6.29 4
60 1.30 1.70
50 11.49 2.80 4

pH 7.8 วิเคราะห์ปริมาณคลอรีน
pH 6.8 วิเคราะห์ปริมาณคลอรีน
ด้วยเครื่องวัดค่าคลอรีน ponpe 505CL
ด้วยเครื่องวัดค่าคลอรีน ponpe 505CL
60
29
4.2 ประสิทธิภาพการบำบัด
ผลของกระบวนการ Electrooxidation เทียบกับพีเอชต่อการบำบัดยา TMP

กราฟที่ 1 เปรียบเทียบค่าพีเอช 5.8, 6.8, และ 7.8 ในกระบวนการ Electrooxidation


61
29
4.2 ประสิทธิภาพการบำบัด (ต่อ)
ผลของกระบวนการ Electrooxidation/UV เทียบกับพีเอชต่อการบำบัดยา TMP

กราฟที่ 2 เปรียบเทียบค่าพีเอช 5.8, 6.8, และ 7.8 ในกระบวนการ Electrooxidation/UV


62
29
4.2 ประสิทธิภาพการบำบัด (ต่อ)
ประสิทธิภาพการบำบัดด้วยกระบวนการ Electrooxidation เทียบกับ Electrooxidation/UV

ประสิทธิภาพการบำบัดด้วยกระบวนการ Electrooxidation เทียบกับ Electrooxidation/UV ที่สภาวะต่าง ๆ


65
29
4.2 ประสิทธิภาพการบำบัด (ต่อ)
อนุมูลอิสระที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบ

จากผลการทดลองพบว่า ในระยะเวลาเริ่มต้น ค่าที่ได้เป็นไปตามสมมติฐาน กล่าวคือประสิทธิภาพในการบำบัดเรียงจากสภาวะปกติ > NB > BA


66
29
4.2 ประสิทธิภาพการบำบัด (ต่อ)
อนุมูลอิสระที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบ

เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบำบัดด้วยกระบวนการ Electrooxidation และ Electrooxidation/UV


ที่สภาวะ pH 5.8 โดยใช้ Benzoic Acid เทียบกับ Nitrobenzene
67
29
5. ผลการทดลอง
จากสภาวะการทดลองที่เลือกใช้โดยมีความเข้มข้นของสารอิเล็กโทรไลต์ที่ 500 mg/L และความเข้มกระแสเท่ากับ 10 mA/cm2 จะเห็นได้ว่า
กระบวนการ Electrooxidation และ Electrooxidation/UV สามารถกำจัดยาไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ได้จริง โดยมีตัวแปรอย่าง pH สามารถ
เพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดตัวยา ไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ในการทดลองได้ โดยใช้ค่า pH ที่ 5.8, 6.8 และ 7.8 ซึ่ง pH ที่ 5.8 เป็นเงื่อนไขที่
สามารถบำบัดยาไตรเมโทพริม (Trimethoprim) ได้ดีที่สุดทั้งในกระบวนการ Electrooxidation และ Electrooxidation/UV ในกระบวนการ
Electrooxidation ที่ pH 5.8, 6.8 และ 7.8 มีประสิทธิภาพการบำบัดในช่วงระยะเวลา 30 นาที อยู่ที่ 100% 71.37% และ 96.49% ตามลำดับ ใน
กระบวณการ Electrooxidation/UV ที่ pH 5.8, 6.8 และ 7.8 มีประสิทธิภาพการบำบัดในช่วงระยะเวลา 30 นาที อยู่ที่ 100% 96.02% และ 100%
ตามลำดับ ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า pH มีผลต่อกระบวนการบำบัดตัวยาไตรเมโทพริม (Trimethoprim) เมื่อ pH มีค่าต่ำหรือสูงมากจะทำให้ปฏิกิริยาเกิด
ขึ้นเร็วเนื่องจากความเป็นกรดหรือด่างอย่างรุนแรงจะมีการทำปฏิกิริยาได้ดีในกระบวณการ Electrooxidation
56

Thank you
Questions?

You might also like