You are on page 1of 6

29/04/59

บทที 15
สารเคมีทใช้
ี ในการควบคุมโรคพืช
Chemicals for Plant Disease Control

วัตถุประสงค์
เพือให้ นิสิตทราบเกียวกับคุณสมบัติ รู ปแบบ และวิธีการใช้ สารเคมีควบคุมโรคพืช

ข้อมูลจากสํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

สารป้ องกันกําจัดโรคพืชทีมีปริมาณการนําเข้าสูงสุด 10 อันดับแรกในปี 2555 สารป้ องกันกําจัดโรคพืชทีมีมูลค่าการนําเข้ าสู งสุ ด 10 อันดับแรกในปี 2555

ข้อมูลจากสํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ข้อมูลจากสํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

สารชีวนิ ทรีย์กําจัดศัตรูพชื (Bio-Pesticide) ทีประเทศไทยนําเข้ า วัตถุประสงค์ ในการใช้ สารเคมีควบคุมโรคพืช


• Bacillus thuringiensis • ลดจํานวนเชื+อโรค/กําจัดเชื+ อโรค (Eradication)
• Bacillus thuringiensis var. aizawai • ป้ องกันการเกิดโรค (Protection)
• Bacillus thuringiensis var. kurstakii
• รักษาพืชทีเป็ นโรค (Therapy)
Agrios, 2005
สารเคมีทใช้
ี กนั มากทางโรคพืช คือ
• สารเคมีป้องกันกําจัดเชื+ อรา (fungicides)
• สารเคมีป้องกันเชื+ อแบคทีเรี ย (bactericides)
• สารเคมีป้องกันไส้เดือนฝอย (nematicides)

1
29/04/59

สารเคมีทใช้
ี กนั มากทางโรคพืช คือ โดยทัวไปสารป้ องกันกําจัดเชื+อราสาเหตุโรคพืชจะแบ่งเป็ นชนิ ดต่าง ๆ ดังนี+
• สารเคมีป้องกันกําจัดเชื+ อรา (fungicides) Protective (preventative): ใช้เพือป้ องกันก่อนการเข้าทําลายของเชื+อรา
สาเหตุโรคพืช
• สารเคมีป้องกันเชื+ อแบคทีเรี ย (bactericides) Curative: ใช้เพือขัดขวางการเข้าทําลายในช่วงเริ มเข้าทําลายก่อนทีจะเห็น
อาการของโรค
• สารเคมีป้องกันไส้เดือนฝอย (nematicides)
Eradicate: ใช้เพือขัดขวางไม่ให้เชื+อราทําลายพืชต่อไปในช่วงทีเห็นอาการ
การแบ่ งประเภทสารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืช แล้ว
Translaminar: สารทีสามารถเคลือนทีจากผิวใบไปยังใต้ใบได้
• แบ่ งตามคุณสมบัติทางเคมี Residual: จัดเป็ นสารทีมีคุณสมบัติป้องกันการเข้าทําลายของเชื+อรา
โดยสารยังคงอยู่ทีผิวใบ
• แบ่ งตามบทบาทของสารและฤทธิ?ของสาร Systemic: เป็ นสารป้ องกันกําจัดเชื+อราสาเหตุโรคพืชทีสามารถเคลือนย้าย
ภายในต้นพืชได้ ทั+งแบบเคลือนทีในระยะไกลและระยะใกล้
• แบ่ งตามการใช้ งานหรือการใช้ กบั พืช

• การจําแนกตามบทบาทและฤทธิ?ของสารป้องกันกําจัดโรคพืชแบ่ งออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่


ดังนีC
1. ยับยั+งกระบวนการขนส่ งอิเล็คตรอน (Inhibitors of electron transport chain )
เช่น สารประกอบ sulfur
2. ยับยั+งกระบวนการทํางานของเอนไซม์ (Inhibitors of enzymes)
เช่น สารประกอบกลุ่ม copper และกลุ่ม organophosphonate
3. ยับยั+งกระบวนการเมตาบอริ ซึมของกรดนิวคลีอิก และกระบวนการสังเคราะห
โปรตีน (Inhibitors of nucleic acid metabolism and protein synthesis)
เช่น สารประกอบกลุ่ม benzimidazoles และ กลุ่ม phenylamides
4. ยับยั+งกระบวนการการสังเคราะห์สเตอรอล (Inhibitors of sterol synthesis)
เช่น สารประกอบกลุ่ม imidazoles และ กลุ่ม triazoles

Translaminar Fungicides

สารเคมีกลุ่มหลักทีใช้ ในการป้องกันกําจัดโรคพืช คือ • แบ่ งตามการใช้ งานหรือการใช้ กบั พืช


1. Inorganic Fungicides เช่น สารประกอบ sulfur, สารประกอบ copper 1. สารปกป้ องและคุม้ ครองเมล็ดพันธุ์ (seed protectant)
2. สารกําจัดสาเหตุโรคพืชในดิน (soil fumigant)
2. Organic Fungicides เช่น สารประกอบ carbamates, dicarboximides
3. สารปกป้ องคุม้ ครองใบและช่อดอก (foliage and blossom protectants)
3. Antibiotics เช่น streptomycin, terramycin 4. สารปกป้ องคุม้ ครองผล (fruits protectants)
4. สารเคมีชนิ ดดูดซึ ม Systemic Fungicides เช่น สารประกอบกลุ่ม แหล่งทีมาของสารป้ องกันกําจัดโรคพืช
Benzimidazoles, oxathiins, sterol inhibitors 1. จากการสังเคราะห์
5. Fumigants เช่น chloropicin, methyl bromide, ethylene bromide 2. จากธรรมชาติ
• antibiosis
• strobilurins

Sherman V. Thomson , 2001

2
29/04/59

ตัวอย่างสารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืชจากธรรมชาติ คุณสมบัตขิ องสารเคมีควบคุมโรคพืชทีดี


1. มีคุณสมบัติทีดีเมือนําไปใช้ในสภาพไร่ นา
- คงความเป็ นพิษต่อเชื+อโรคเมือนําไปใช้ในสภาพไร่ นา
- ประกอบด้วยสารเคมีออกฤทธิgทีมีคุณสมบัติยบั ยั+งเชื+อโรคได้
- สามารถปกคลุมผิวพืชได้ดีและสมําเสมอ
- มีความคงทนในด้านความเป็ นพิษบนพืชเป็ นเวลานาน
2. มีความเป็ นพิษต่อพืชตําหรื อไม่มีเลยในสภาพแวดล้อมต่างๆ
strobilurins Strobilurus tenacellus 3. สามารถเก็บรักษาได้เป็ นเวลานาน
• เป็ นสารป้ องกันกําจัดเชื+อราสาเหตุโรคพืช (fungicide)
4. เมือผสมนํ+าก่อนนําไปใช้ ยังคงมีประสิ ทธิ ภาพสูงเป็ นระยะเวลานาน
• มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 20% ของสารป้ องกันกําจัดเชื+อราทีมีจาํ หน่ายอยูท่ วโลก

• มีฤทธิg ยับยั+งกระบวนการหายใจของไมโตคอนเดรี ยและขัดขวางการทํางานของ 5. มีความเป็ นพิษต่อมนุษย์หรื อสัตว์ตาํ หรื อไม่เป็ นพิษ
cytochrome bc1 complex ของเชื+อราสาเหตุโรคพืช
Fernandez-Ortuno et al., 2008

สารเฉีอย (inert ingredients):


ชือเคมี (Chemical name)
สารตัวพา (carriers) – ได้แก่ดินเหนี ยว นํ+ามัน อินทรี ยว์ ตั ถุ ซึ งสามารถยึดเกาะกับสารออกฤทธิg
การเรี ยกชือสารเคมี ชือสามัญ (Common name) และช่วยในการนําสารออกฤทธิg ไปยังผิวพืชได้

ชือการค้ า (Trade name) สารป้ องกันการตกตะกอน (Antiprecipitants) – เป็ นสารทีป้ องกันไม่ไห้สารป้ องกันกําจัดโรค
พืชตกตะกอนในนํ+า
ชือเคมี ชือสามัญ ชือการค้ า
zinc ethylene bisdithiocarbamate zineb Zineb, Dithane Z 78 สารป้ องกันการเกิดโฟม (Antifoam agents) – เป็ นสารทีป้ องกันไม่ไห้เกิดฟองหรื อโฬม ขณะ
กําลังผสมสารในแท็งค์
องค์ ประกอบของสารเคมี มี 2 ส่ วน สารจับใบ (Wetting agents) – เป็ นสารช่วยให้สารป้ องกันกําจัดโรคพืชยึดเกาะกับใบหรื อผิวพืช
สารออกฤทธิ? : Active ingredients (a.i.) ได้
สารไม่ ออกฤทธิ? : Inert ingredients
สารยึดเกาะ (Sticking agents) –Chemicals that help secure carrier and active ingredients to
plant surfaces.

รู ปแบบของสารเคมี
1. สารเคมีชนิดเม็ด (Granules, G.)
2. สารเคมีชนิดผง (Dust, D.)
3. สารเคมีชนิดผงผสมนํ+า (Wettable Powder, W.P.)
4. สารเคมีน+ าํ ชนิดข้น (Flowables, Fl.) Phostoxin
4.1 สารเคมีชนิดสารละลายนํ+ามัน (Emulsifiable concentrates, E.C.)
4.2 สารเคมีชนิดสารละลาย (Solution, S.)
5. สารเคมีชนิดรม (Fumigant, F.)
6. สารเคมีชนิดนํ+า (Liquid formulation, L.)
7. สารเคมีชนิดสารแขวนลอย (Suspension concentrates, S.C.)

3
29/04/59

ตัวอย่างฉลากสารเคมีป้องกันกําจัดโรคพืช ตัวอย่ างสารป้ องกันกําจัดโรคพืช

การรม (fumigation)
วิธีการใช้ สารเคมี
การคลุกเมล็ดด้วยสารเคมี
การใส่ สารเคมีลงไปในดิน การราดดินด้วยสารเคมีในหลุมปลูก

- การราดดิน (soil drenching)


- การหว่าน (broadcasting)
- การใส่ ตามร่ อง (furrow application)
- การรม (fumigation)
การใส่ ตามร่ อง

การคลุมแผ่นพลาสติกแล้วรมด้วย methyl bromide ก่อนการปลูกสตรอเบอรี

การฉีดพ่นสารเคมี (Spraying)
การพ่นสารเคมีชนิดฝุ่ น (Dusting)
การทา (Painting)
วิธีการอืนๆ : Crop dusting –A plane sprays chemicals
on conventional crops.
- การฉีดสารเคมีดว้ ยเข็มฉีดยา (Injection)
- การจุ่มส่ วนของพืชลงในสารเคมี (Dipping)
- การใช้แปรงจุ่มลงในสารเคมี
แล้วสลัดให้ตกลงบนพืช

การฉีดสารเคมีดว้ ยเข็มฉีดยา (Injection)

4
29/04/59

การป้ องกันอันตรายจากการใช้ สารป้ องกันกําจัดโรคพืช สารป้ องกันกําจัดโรคพืช


• รู้จกั สารผลิตภัณฑ์และสารออกฤทธิg • ฉลากข้างขวด : • ฉลากข้างขวด :
• อ่านฉลากข้างขวด หรื อบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ละเอียด – ชือการค้า ชือสามัญ – วิธีการเก็บรักษา
– สารออกฤทธิg (ระบุเปอร์ เซ็นต์ ppm หรื อกรัมต่อ – คําเตือน อาการเป็ นพิษ การ
• ใช้เครื องมือและอุปกรณ์ในการใช้สารให้ตรงกับประเภทของ ลิตรของสารผลิตภัณฑ์ active ingredient, acid พยาบาลเบื+องต้น คําแนะนํา
สารเคมีทีใช้หรื อตามทีฉลากกําหนด equivalent)
สําหรับแพทย์ในการรักษา
– รู ปลักษณ์หรื อสภาพของสารป้ องกันกําจัดโรคพืช
• ใช้อุปกรณ์ป้องกัน (สวมหน้ากาก ถุงมือ ชุดทีสวมใส่ ตอ้ งมิดชิด) พืช (EC, SC, SL, SP, EP, WP, G) – การทิ+ง หรื อทําลายบรรจุภณั ฑ์
• ทําความสะอาดมือหรื อร่ างกายหลังการใช้สารเคมี – ปริ มาณสารเฉื อย – ข้อห้าม
– นํ+าหนักหรื อปริ มาตรบรรจุสุทธิ – บริ ษทั ผูผ้ ลิต บริ ษทั ตัวแทน
– ชนิดหรื อประเภทของสาร (ดูดซึ ม สัมผัสตาย) จําหน่าย บริ ษทั ผูบ้ รรจุ
– ประโยชน์หรื อคุณสมบัติในการควบคุมกําจัดโรค – เลขทะเบียนวัตถุมีพิษ
พืชทีเกิดจากสิ งมีชีวิตต่างๆ – วันเดือนปี ทีผลิตและวันหมดอายุ
– วิธีการใช้สาร อัตราการใช้ – ราคาจําหน่าย

ขัCนตอนการทดสอบการยับยัCงเชืCอราสาเหตุโรคพืชโดยการใช้ สารเคมี
การทดสอบประสิ ทธิภาพของสารป้ องกันกําจัดเชือรา
ในการยับยังการเจริญเติบโตของเชือราบนอาหารเลียงเชือ
+

สารละลายของสารเคมี ดูดสารละลายของสารเคมี Vortex

หลอด PDA ปริ มาตร 9 ml 1 ml ใส่ หลอด PDA PDA 2 3


1 4
0
6 5

ผสมสารละลายสารเคมี
กับอาหาร PDA ให้เข้ากัน
บ่มไว้ทีอุณหภูมิห้องและ
บันทึกผลการทดลอง เชื+อสาเหตุโรคพืช

เทอาหาร PDA ทีผสมสาร


ย้ายเชื+อสาเหตุโรคพืชลง plate ทีมีอาหาร PDA ผสมสารเคมี ละลายสารเคมี ใส่ plate

คํานวณเปอร์ เซ็นต์ การยับยังการเจริญของเส้ นใยเชือรา ตารางเปรี ยบเทียบหน่ วยความเข้ มข้ นสํ าหรับตัวยาออกฤทธิ? (active ingredient)

โดยใช้สูตร หน่วย ppm ug/ml gram/liter %


% เปอร์ เซ็นต์การยับยัง = (a - b) x 100 1 1 0.001 0.0001
a
10 10 0.01 0.001
a = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโคโลนี ของเชื อราในอาหารเลียงเชื อที# ไม่
ใส่ สารเคมี 100 100 0.1 0.01
b = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโคโลนี ของเชื อราในอาหารเลี ยงเชื อที#ใส่
สารเคมี 1000 1000 1 0.1
10000 10000 10 1

5
29/04/59

บทปฏิบตั ิการ 2. ฝึ กคํานวณปริมาณสารเคมีทีใช้ ควบคุมโรคพืช


1. จากตัวอย่างสารเคมีในห้องปฏิบตั ิการ จงบันทึกรายการตามหัวข้อในตารางข้างล่างนี+ 5 เตรี ยมสารเคมีทีมีความเข้ มข้ น 10,000 ppm จํานวน 100 มิลลิลิตร จาก Zineb 80% W.P.
ตัวอย่าง โดยทีชือสามัญไม่ซ+ าํ ากัน วิธีการคํานวณ
คํานวณปริ มาณเนือC ยา (a.i.) ทีต้ องใช้
ชื อสามัญ ชือการค้ า ชือสารเคมี % และรู ปแบบ กลุ่ม ควบคุมโรค
สารละลาย 1,000,000 มิลลิลติ ร มีเนือC ยา 10,000 กรั ม
Zineb Zinfez 75 zinc ethylene ………… ไม่ดูดซึ ม ใบจุด ใบไหม้ ของ
bisdithiocarba (กํามะถัน) ไม้ผล พืชผัก พืชไร่ สารละลายทีต้ องใช้ 100 มิลลิลิตร มีเนือC ยา 10,000 x 100 กรั ม
mate และไม้ดอกไม้ประดับ 1,000,000
ต้ องใช้ เนือC ยา = 1 กรั ม
คํานวณปริ มาณสารเคมี zineb 80% W.P. ทีต้ องชังเพือให้ ได้ เนือC ยา 1 กรั ม

* ชือสารเคมีหรื อชือสารออกฤทธิg (active ingredient, a.i.) ต้ องการเนือC ยา 80 กรั ม ต้ องชั งสารเคมี zineb 100 กรั ม
** กลุ่ม = กลุ่มดูดซึ ม หรื อกลุ่มไม่ดูดซึ ม ต้ องการเนือC ยา 1 กรั ม ต้ องชังสารเคมี 100 x 1 กรั ม
80
ต้ องชั งสารเคมี zineb 80% = 1.25 กรั ม

2. ฝึ กคํานวณปริ มาณสารเคมีทีใช้ ควบคุมโรคพืช (ต่ อ)


2.1 ถ้าต้องการ copper oxychloride เข้มข้น 2,000 ppm จํานวน 800 มิลลิลิตร จาก
cupravit 75 W.P. จะต้องชังยาเท่าไหร่ (แสดงวิธีคาํ นวณ)
2.2 Benlate 50 W.P. อัตราการใช้ 520 gm-a.i./rai ในนํ+า 80 ลิตร ถ้าต้องการเตรี ยมยา
เพียง 25 ลิตร จะต้องใช้ยา Benlate 50 W.P. กีกรัม (แสดงวิธีคาํ นวณ)

You might also like