You are on page 1of 1

สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวันและใน

สำนักงาน

สารทำความสะอาด สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร

เป็ นสารที่ช่วยทำให้สิ่งสกปรกหลุดออกจากวัสดุที่ต้องการ สารเคมีปราบศัตรูพืช ที่มีมนุษย์สังเคราะห์ขึ้น แบ่งเป็ น 4


ทำความสะอาดได้ง่ายขึ้นตลอดจนฆ่าเชื้อโรค แบ่งตาม กลุ่ม
ลักษณะการเกิดได้เป็ น2ประเภท

1.กลุ่มออร์กาโนคลอรีน(Organochlorine) เป็ น

1.สารทำความสะอาดที่ได้จากธรรมชาติ ส่วนใหญ่ได้จากพืช สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีธาตุคลอรีน (CI) เป็ นองค์


เช่น น้ำมะนาว มะขามเปี ยก นำมาใช้ประโยชน์ในการขัด ประกอบ และสลายตัวได้ยาก โดยเมื่อฉีดพ่นไปแล้วมักสลาย
เครื่องโลหะให้แวววาวขึ้นนอกจากนี้ยังมีเกลือซึ่งคุณสมบัติ ตัวได้หมดในระยะเวลา 2-5 ปี แต่บางชนิดก็เป็ นพิษตกค้าง
สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อโรค อยู่นานหลายปี ได้แก่ ดีดีที (DDT) แอบดริน (Aldrin) และ

2.สารทำความสะอาดที่ได้จากการสังเคราะห์ ได้จากการที่ ดีลดริน (Dieldrin)


มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นโดยนำสารมาทำปฏิกิริยาเคมีจนเกิดเป็ น

2.กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (Organophosphate) เป็ น


สารทำความสะอาด เช่น ยาสีฟั น ยาสระผม น้ำยาล้างจาน สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีธาตุฟอสฟอรัส (P) เป็ นองค์
น้ำยาล้างห้องน้ำ ประกอบ และสลายตัวได้เร็ว โดยจะสลายตัวได้หมดหลังจาก
ที่ฉีดหรือพ้นแล้วในระหว่าง 1-12 สัปดาห์ เช่น พาราไทออน
(Parathion) มาลาไทออน (Malathion) และไดอะซิ
สารปรุงแต่งอาหาร
นอน(Diazinon)
3.กลุ่มคาร์บาเมต
(Carbamate) เป็ นอนุพันธ์ของกรดคาร์
บอมิกที่มีธาตุไนโตรเจน (N) เมโทมิล (Methomyl) และ
เป็ นสารเคมีที่เติมลงไปในอาหารเพื่อปรับปรุงคุณค่าของ คาร์โลบฟิ วแรน (Carbofuran)
อาหารช่วยยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร ปรับแต่งลักษณะสี 4.กลุ่มไพรีทรอยด์ (Pyrethroids)
เป็ นสารพิษที่สลายตัวได้
กลิ่น รส ของอาหารให้มีสมบัติตามต้องการเช่น น้ำส้มสายชู ง่าย ได้แก่ ไพรีทริน (Pyrethrin) ซึ่ง มีได้จากทั้งธรรมชาติ
ผงชูรส น้ำตาล วัตถุกันเสีย สีผสมอาหาร คือ สกัดจากดอกทานตะวัน และจากการสังเคราะห์ เช่น เฟอร์

•น้ำส้มสายชู เป็ นสารเคมีประเภทกรดอินทรีย์ มีรสเปรี้ยว ใน เมทริน ไซเปอร์ เมทริน


น้ำส้มสายชูจะมีกรดน้ำส้มหรือกรดแอซิติกเป็ นองค์ประกอบ
และมีกรดอินทรีย์อื่นๆ ปนอยู่ด้วยแต่มีปริมาณมากน้อย

สารเคมีที่ใช้ในสำนักงาน
•วัตถุกันเสีย คือ สารที่เติมลงไปในอาหารเ พื่อป้องกันการเน่า
เสียของอาหารที่เกิดจากจุลินทรีย์ปั จจุบันวัตถุกันเสียได้ถูกนำ
มาใช้ เติมลงในอาหารเกือบทุกชนิด ทำให้อาหารเก็บไว้ได้
1.สารเคมีที่เป็ นส่วนผสมในสเปรย์ปรับอากาศ เช่น อะซี
นาน วัตถุกันเสียที่นิยมใช้ได้แก่ กรดบอริก โซเดียมเบนโซเอต

โตน(Acetone) ถ้าร่างกายได้รับในปริมาณมากจะมีผล ต่อ
•ผงชูรส มีชื่อทางการค้าว่าโมโนโซเดียม กลูตาเมต หรือ
ระบบหายใจ ทำให้หายใจช้าลง มึนงงคล้ายคนเมาเหล้า ถ้าได้
MSG เป็ นผลึกสีขาวมีลักษณะเป็ นแท่งยาว คลอดตรงกลาง
รับเป็ นประจำจะทำให้เกิดผลต่อระบบหมุนเวียนเลือดทำ
หัวท้ายไม่เรียบ คล้ายกระดูก มองดูทึบไม่มีความมันไม่มีสี มี
โลหิตจาง เนื่องจากสารพวกนี้ไปขัดขวางการผลิตเม็ดเลือด
รสขายเนื้อต้ม
แดง และทำให้ประสิทธิภาพการทำงานระบบต่างๆ ในร่างกาย
ต่ำลงด้วย
ยารักษาโรค

2.สารเคมีที่นำมาใช้เป็ นส่วนผสมของน้ำยาลบความผิด
(Liquid Paper) เมทิลไซโคลเฮกเซนแบะไซโคลเพนเทน
(Methyl Cyclohexane & Cyclopentane) เป็ นสารเคมีที่
เป็ นสารที่ใช้บรรเทาอาการเจ็บป่ วย มีทั้งชนิดเม็ดและชนิดน้ำ เป็ นอันตรายต่อร่างกาย ห้ามสูดดมเพราะจะทำให้ วิงเวียน
ยิ่งยาเหล่านี้จะลดอาการเจ็บป่ วยได้เล็กน้อยตัว อย่างยารักษา ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ต้องระวังอย่าให้เข้าตา จะทำให้เกิด
โรคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นยาลดกรด อาการระคายเคืองและอาจจะทำให้ตาบอดได้
1.ยาลดกรดประเภทไฮดรอกไซด์ มีสารประกอบพวก

3.สารเคมีที่อยู่ในเครื่องฉ่ายเอกสาร ได้แก่ ผงหมึก แก๊ส


อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์และแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ ยาลด โอโซน น้ำยาที่อาบกระดาษที่ใช้ในการถ่ายเอกสาร
กรดที่มีอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์เป็ นส่วนผสม มีชื่อทางการค้า
ว่าอัลบัมมิลค์ (Alum Milk)ยานี้ปกติแล้วจะค่อนข้าง
หลักการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ปลอดภัยในการใช้ แต่ถ้าใช้ระยะเวลานานอาจจะทำให้เกิด
อาการท้องผูกได้ส่วนยาลดกรดที่มีแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
เป็ นส่วนผสม จะรู้จักชื่อของ มิลค์ออฟ แมกนีเซีย (Milk of
การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยมีข้อควรรู้แล้วต่อไปนี้
Magnesla) มีคุณสมบัติในการลดกรดเกลือในกระเพาะ

1.ควรเลือกใช้สารเคมีให้เหมาะสมกับงาน เช่น ไม่นำผง


อาหาร และใช้เป็ นยาระบายได้
ซักฟอกมาทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารอาจมีสารตกค้างที่
2.ยาลดกรดประเภทคาร์บอเนต
ยาลดกรดชนิดนี้มี
เป็ นอันตราย
สารประกอบพวกโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต และแคลเซียม

2.ก่อนใช้สารเคมีต้องอ่านสมบัติของสารและข้อควรระวังบน
คาร์บอเนต ยาที่มีสารประกอบพวกนี้จะออกฤทธิ์เร็ว ช่วย
ฉลาก รวมถึงวิธีการใช้ เพื่อให้มีความเข้าใจง่าย
บรรเทาอาการท้องอืดเช่น โซดามินท์ (Sodamint) อีโน

(Eno) 3.การใช้สารเคมีในปริมาณที่เหมาะสมและไม่ทิ้งสารเคมีในที่
สาธารณะ ควรแยกทิ้ง เพื่อให้เจ้าหน้าที่เก็บไปทำลายได้อย่าง
ถูกต้อง

4.ไม่สัมผัส ชิม หรือดมกลิ่นสารเคมีที่เป็ นอันตรายโดยตรง

You might also like