You are on page 1of 7

สารละลายกรด – เบสในชีวติ ประจำวัน

สารละลายกรด – เบสในชีวิตประจำวันมีอยูม่ ากมาย ซึ่งสามารถจำแนกได้ดงั นี้


 

1.      สารประเภททำความสะอาด

- บางชนิดก็มีสมบัติเป็ นเบส เช่น สบู่ ผงซักฟอก น้ำยาล้างจาน

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกรด   เช่น น้ำยาล้าง ห้องน้ำ และเครื่ องสุ ขภัณฑ์

2.      สารที่ใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ ย

- บางชนิดก็มีสมบัติเป็ นเบส เช่น ยูเรี ย

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกรด เช่น แอมโมเนียมคลอไรค์

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกลาง เช่น โพแทสเซียมไนเตรต

3. สารปรุ งแต่งอาหาร

- บางชนิดก็มีสมบัติเป็ นเบส เช่น น้ำปูนใส น้ำขี้เถ้า

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกรด เช่น น้ำส้มสายชู น้ำมะนาว น้ำมะขาม

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกลาง เช่น ผงชูรส เกลือแกง น้ำตาลทราย ฯลฯ

4. ยารักษาโรค

- บางชนิดก็มีสมบัติเป็ นเบส เช่น ยาแอสไพริ น วิตามินซี

- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกรด เช่น ยาลดกรด ยาธาตุ

5. เครื่ องสำอาง
- บางชนิดมีสมบัติเป็ นกลาง เช่น น้ำหอม สเปรย์ฉีดผม ยารักษาสิ วฝ้ า

-
สารละลายกรด เบสในชีวติ ประจำวันและในสิ่ งมีชีวติ
*ตัวอย่างสารละลายกรดในชีวิตประจำวันและในสิ่ งแวดล้อม   มีดงั ต่อไป
-กรด tartaric  [C4H6O6]  พบในมะขามป้ อม  ฝรั่ง
-กรดแอซิติก (acetic acid) [CH3COOH]ใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู
- กรดซิตริ ก (citric acid) [C6H8O7]เป็ นกรดที่อยูใ่ นผลไม้ที่มีรสเปรี้ ยว
   เช่น ส้ม มะนาว
- กรดแอสคอร์บิก (ascorbic acid) [C6H8O6]  มีอยูใ่ นผลไม้ที่มีรสเปรี้ ยว วิตามิน C
- กรดอะมิโน (amino acid) เป็ นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้ อสัตว์ ผลไม้
-กรดซัลฟิ วริ ก [H2SO4]  ทำปุ๋ ยเคมี
                -กรด boric [H3BO3]  ยาฆ่าเชื้อโรค , น้ำยาล้างตา        
            -กรดไฮโดรคลอริ ก [HCl]  น้ำยาล้างสุ ขภัณฑ์
-กรดออกซาลิก [H2C2O2] กำจัดรอยเปื้ อนสนิม
-กรดคาร์บอนิก [H2CO3]  เป็ นส่วนประกอบของน้ำอัดลม
*ตัวอย่างสารละลายเบสในชีวิตประจำวันและสิ่ งแวดล้อม   มีดงั ต่อไปนี้
1.      สารประเภททำความสะอาด
-  NaOH   ใช้ทำสบู่
-  แอมโมเนีย (NH3) น้ำยาล้างกระจก,น้ำยาปรับผ้านุ่ม
- Na2CO3   อุตสาหกรรมผงซักฟอก
           2.   สารปรุ งแต่งอาหาร
               -NaOH  ทำผงชูรส
               -NaHCO3  ทำขนม
3.      สารที่ใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ ย
- ยูเรี ย
- Ca(OH)2  แก้ดินเปรี้ ยว
       4.   ยารักษาโรค
   -NH3-(NH4)2CO3   แก้เป็ นลม
   -Ca(OH)2  ลดกรดในกระเพาะอาหาร
   -Mg(OH)2   ลดกรดในกระเพาะอาหาร , ยาถ่าย

สารเคมีทใี่ ช้ ในบ้ าน  
ในแต่ละวันเราต้องใช้สารละลายกรด – เบส หลายชนิด บางชนิดอยูใ่ นอาหารที่เรารับประทาน เราใช้สารละลายกรด – เบส
ในการทำความสะอาด เครื่ องใช้ ของใช้

พื้นห้องน้ำ สุ ขภัณฑ์ สารที่ทำความสะอาดร่ างกายบางชนิดมีสมบัติเป็ นเบส


สารละลายหลายชนิดในร่ างกายของเราก็มีคุณสมบัติเป็ นกรด - เบส เช่น

น้ำย่อยในกระเพาะอาหารของคนเรามี pH อยูใ่ น ช่วง 1.6 - 2.5 ซึ่งมีคุณสมบัติเป็ นกรด เพื่อทำหน้าที่ยอ่ ยโปรตีน

ในแต่ละวันเราต้องใช้สารทำความสะอาดเพื่อกำจัดฝุ่ นละออง เหงื่อไคล และสิ่ งสกปรกออกจากผิวหนังๆแต่ละส่ วนของ


ร่ างกายจึงใช้ สารทำความสะอาดแตกต่างกัน

เช่น          ใช้แชมพูทำความสะอาดเส้นผม    ใช้สบู่ทำความสะอาดผิวหนัง

บางคนใช้สารทำความสะอาดที่กบั ใบหน้าโดยเฉพาะ นอกจากประสิ ทธิในกำจัดสิ่ งสกปรกแล้ว สมบัติอื่นๆ ของสาร


ทำความสะอาดที่ใช้กบั ร่ างกาย เช่น กลิ่น สี รวมทั้งความเป็ น กรด - เบส ก็เป็ นปั จจัยหนึ่งที่เราต้องคำนึงถึงด้วยเมื่อจะเลือก
ซื้อสารทำความสะอาดกับร่ างกาย

ในสมัยก่อน สารทำความสะอาดที่ผสมอยูใ่ นแชมพูส่วนใหญ่เป็ นสารประเภทเดียวกับสบู่ เมื่อสระผมด้วยน้ำกระด้างจึงเกิด


ไคลสบู่จบั อยูต่ ามเส้นผม คนในสมัยก่อนจึงนิยมชโลมผมด้วยน้ำมะกรู ดหรื อน้ำมะนาวเพื่อกำจัดไคลสบู่ออกจากเส้นผม
นัน่ เอง

ปัจจุบนั นี้ ใช้สารสังเคราะห์ซ้ ึ งมีสมบัติเป็ นสารลดแรงตึงผิวที่สามารถกำจัดสิ่ งสกปรกออกจากเส้นผมได้ดีกว่าสบู่มาก


นอกจากนี้ยงั อาจเติมสารปรับ pH กลิ่น สี ให้น่าใช้และเติมสารที่ทำให้เนื้ อแชมพูขน้ บางคนนิยมใช้ครี มนวดผมหลังจากที่
สระผมแล้ว เพื่อปรับสภาพเส้นผม

การใช้สารรอบตัวโดยเฉพาะสารที่มีสมบัติกดั กร่ อน เช่น กรด - เบส นอกจากจะคำนึงถึงสมบัติของสารที่สอดคล้องกับ


วัตถุประสงค์ของการใช้แล้ว ยังจะต้องคำนึงถึงผลของการใช้สารที่อาจมีต่อสิ่ งมีชีวิตอื่นและสิ่ งแวดล้อมด้วย จึงควรศึกษา
สมบัติของสาร วิธีใช้ และวิธีป้องกันอันตรายอย่างถูกต้อง

 
เราอาจจะสรุป pH ของสารละลายในชีวติ ประจำวันได้ ดงั นี้
 

1. ของเหลวบางชนิดอาจจะมีช่วง pH กว้าง และบางชนิดมีช่วง pH แคบตามข้อมูลในตาราง

2. ถ้ารับประทานอาหารประเภทผัก ปัสสาวะจะมี pH สูง แต่ถา้ รับประทานเนื้ อสัตว์มาก ปัสสาวะจะมี pH ต่ำ

3. ในร่ างกายของคนเราของเหลวบางชนิดมี pH แปรไปได้ในช่วงค่อนข้างกว้าง โดยที่ร่างกายยังคงอยูใ่ นสภาพปกติไม่เจ็บ


ป่ วย แต่ของเหลวบางชนิดในคนปกติมี pH ค่อนข้างคงที่ เช่น เลือดมีค่า pH แปรไปได้เพียง 0.10 เท่านั้น สำหรับคนที่เป็ น
โรคเบาหวานรุ นแรง ค่า pH ของเลือดอาจลดต่ำลงกว่า 7.35 ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ถ้าลดลงต่ำมากๆ อาจหมดสติถึงตายได้

อย่างไรก็ตาม ปกติในร่ างกายของคนจะมีระบบที่ควบคุมค่า pH ของเลือดไว้ให้คงที่

4. ในน้ำฝนซึ่งน่าจะมีสมบัติเป็ นกลาง แต่พบว่ามี pH ประมาณ 5.6-6.0 เท่านั้น และปัจจุบนั ในประเทศอุตสาหกรรม pH


ของน้ำฝนมีค่าต่ำถึง 2.8 จากการตรวจสอบพบว่านอกจากมี CO 2 ละลายอยูแ่ ล้วยังมี H 2SO 4 และ HNO 3 ละลายปนอยู่
ด้วย
www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/...

กรด - เบส ในชวี ต


ิ ประจำวน
ิ ประจำวันเราจะพบกับสารต่าง ๆ ซึง่ บางชนิดมีสมบัตเิ ป็ นกรด บางชนิดมีสมบัตเิ ป็ นเบส โดยสารละลายกรด -
     ในชีวต

เบส มีทงั ้ ประโยชน์และโทษต่อสิง่ มีชวี ต


ิ และสิง่ แวดล ้อม ดังนัน
้ เราควรจะเลือกใช ้สารต่าง ๆ อย่างระมัดระวังและเหมาะสม

กรดในชวี ต
ิ ประจำว ัน
     สารละลายทีม
่ ค ุ สมบัตเิ ป็ นกรดทีเ่ ราใช ้ในชีวต
ี ณ ิ ประจำวัน เช่น

     -น้ำอัดลม ประกอบด ้วยกรดคาร์บอนิก

     -น้ำส ้มและน้ำผลไม ้ทีม ้ วประกอบด ้วยกรดซิตริกซึง่ มีอยูใ่ นส ้ม มะนาว ส ้มโอ


่ รี สเปรีย

     -ใช ้ในการปรุงแต่งรสอาหาร เช่น กรดแอซีตก


ิ ซึง่ มีในน้ำส ้มสายชู เป็ นต ้น

     -ใช ้ในสารทำความสะอาดพืน


้ บ ้าน เช่น กรดไฮโดรคลอริก เป็ นต ้น

เบสในชวี ต
ิ ประจำว ัน
     สารละลายเบสทีเ่ ราใช ้ในชีวต
ิ ประจำวันมีมากมายหลายชนิด เช่น

่ บคทีเรียเหล่านีใ้ ช ้น้ำตาลเป็ นอาหารโดยสลายน้ำตาลไป


     -โซเดียมไบคาร์บอเนต ในปากของเรามีแบคทีเรียอาศัยอยูแ

เป้ นกรดทีเ่ รียกว่า Plaque acid ซึง่ เป็ นสาเหตุทำให ้เกิดโรคฟั นผุ ดังนัน
้ ในยาสีฟันจึงผสมโซเดียมไบคาร์บอเนตหรือเบส

่ ว่ ยลดความเป็ นกรด
ทีช

     -แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ ถ ้าในกระเพาะอาหารมีกรดมากเกินไปทำให ้อาหารไม่ยอ


่ ยและส่งผลให ้เกิดอาการจุกเสียด
หรือแน่นท ้อง การรับประทานยาทีม ี ว่ นผสมของแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ หรือ Milk of magnesium จะช่วยลดความ
่ ส

เป็ นกรดในกระเพาะอาหารได ้ เพราะมีฤทธิเ์ ป็ นเบสอ่อน ๆ

     -น้ำแอมโมเนียหรือแอมโมเนียไฮดรอกไซด์ ใช ้ทำน้ำยาทำความสะอาดกระจก เป็ นต ้น

     -ผงฟูหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต ใช ้ทำขนมต่าง ๆ

     -สบู่ ใช ้ทำความสะอาดร่างกาย มีหลายชนิดทัง้ ทีเ่ ป็ นก ้อนแข็ง เป็ นของเหลว และเป็ นครีม

     -ยาสระผม ใช ้ทำความสะอาดเส ้นผม

     -ผงซักฟอก ใช ้ทำความสะอาดเสือ


้ ผ ้า

้ ารละลายกรด - เบส
ข้อควรระว ังในการใชส
     กรดเป็ นสารทีม
่ พ
ี ษ
ิ ต่อมนุษย์และสัตว์ เพราะมีฤทธิใ์ นการกัดกร่อน เช่น สามารถกัดกร่อนผิวหนังให ้เกิดการอักเสบ

้ ในการใช ้สารทีม
อย่างรุนแรง และถ ้าสูดดมเอาไอของกรดเข ้าไปจะเป็ นพิษต่อระบบหายใจ ดังนัน ่ ฤ
ี ทธิเ์ ป็ นกรดในชีวต

ประจำวันจะต ้องใช ้อย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะภาชนะทีนำ


่ มาบรรจุสารละลายทีม ี ทธิเ์ ป็ นกรด เช่น น้ำส ้มสายชู น้ำมะนาว
่ ฤ

น้ำมะขามเปี ยก ควรใช ้ภาชนะทีเ่ ป็ นแก ้วหรือกระเบือ


้ งเคลือบ ไม่ควรใช ้ภาชนะบรรจุทเี่ ป็ นโลหะและพลาสติกโดยเด็ดขาด

เนือ
่ งจากกรดสามารถกัดกร่อนโลหะพวกสังกะสี   อลูมเิ นียม    และสแตนเลสได ้

้ ารใช ้สารปรุงแต่งอาหารให ้มีรสเปรีย


     นอกจากนีก ้ ว เราต ้องแน่ใจว่าสารนัน
้ ไม่มอ
ี น
ั ตราย ทัง้ นี้ เป็ นเพราะผู ้ผลิตบางราย

ได ้นำกรดกำมะถันซึง่ เป็ นกรดทีม


่ ฤ
ี ทธิก ั กร่อนสูงมาทำให ้เจือจางด ้วยน้ำ แล ้วปลอมปนนำมาขายแทนน้ำส ้มสายชู เมือ
์ ด ่ ผู ้

ใดบริโภคเข ้าไปจะทำให ้สารเคลือบฟั นถูกกัดกร่อน กระเพาะอาหารและลำไส ้จะถูกกรดกัดกร่อนเป็ นแผล ดังนัน


้ การใช ้

้ วของอาหารแทนน้ำส ้มสายชูจะมีความปลอดภัยมากกว่า
มะขามหรือน้ำมะนาวมาปรุงแต่งรสเปรีย

     สำหรับเบสต ้องใช ้ด ้วยความระมัดระวัง และใช ้ให ้ถูกวิธี เช่น ผงซักฟอกใช ้ซักล ้างเสือ
้ ผ ้า ไม่ควรนำผงซักฟอกมาใช ้

ล ้างจาน ชาม ถ ้วยแก ้ว กระทะ หม ้อบรรจุอาหาร เพราะอาจจะมีสารตกค ้างจากผงซักฟอก ซึง่ เป็ นอันตรายเมือ
่ บริโภค

เข ้าไปและไม่ควรนำมาใช ้สระผม เพราะเบสในผงซักฟอกกัดกร่อนหนังศีรษะ และเส ้นผมได ้

http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2229

เราจะพบว่าตามธรรมชาติจะมีกรดและเบสอยูท่ วั่ ไปตามคุณสมบัติน้ นั


สารที่เป็ นกรดส่ วนมากจะมีรสเปรี้ ยวและมีฤทธิ์ ในการกัดกร่ อนสูง
เช่น มะนาวมีกรดซิตริ กที่ทำให้มีรสเปรี้ ยว ส่วนน้ำส้มสายชูมีกรดแอซีติก
ดังนั้นจึงไม่ควรที่จะทดสอบโดยการสัมผัส
ตามปกติ ค่า PH จะเป็ นค่าที่ใช้วดั ว่ามีความเป็ นกรดหรื อเบสมากน้อยเพียงใด
ค่า PH ที่เท่ากับ 7 คือสารมีคุณสมบัติเป็ นกลาง ,
น้อยกว่า 7 จนถึง 0 คือสารมีคุณสมบัติเป็ น กรด
และ มากกว่า 7 จนถึง 14 คือสารมีคุณสมบัติมีค่าเป็ นเบส

โซเดียมไฮดรอกไซค์ 14.0
น้ำยาล้างทำความสะอาด 11.0
นมแมกนีเซียม 10.5
น้ำยาเช็ดกระจก 9.0
สารบอแรก 8.5
ผงฟู 8.0
น้ำเปล่าบริ สุทธ์ 7.0
สบู่มะนาว 6.0
ยาแอสไพริ น 5.0
มะเขือเทศ 4.5
เบียร์และน้ำโทนิก 4.0
แอปเปิ้ ล 3.0
น้ำส้มสายชู 2.2
น้ำมะนาว 2.0
กรดไฮโดรคลอริ ก 0.0

กรด   >  นำไปใช้ทำน้ำหอมได้   โดยกรดคาร์บอกซิลิกเมื่อทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์


จะเกิดน้ำหอม  เรี ยกว่า  ปฏิกิริยา  Esterification
เบส   >   ใช้ทำสบู่ ,   ผงซักฟอก

*   การเกิดสบู่    >   จากปฏิกิริยา  Saponification   โดยไขมันทำปฏิกิริยากับเบสได้ 


กลีเซอรอลและ สบู่  ( เกลือของกรดไขมัน )
*   โครงสร้ างของสบู่      ส่ วนที่ละลายน้ำ  (มีข้วั )
ส่วนที่ละลายในน้ำมัน  (ไม่มีข้วั )

*    การทำงานของสบู่
สบู่ทำงานโดยหันด้านที่มีข้วั ละลายในน้ำ และ ด้านที่ไม่มีข้วั จะล้อมรอบหยดน้ำมัน
หรื อสิ่ งสกปรก   ทำให้สิ่งสกปรกหลุดออกมา และ แพร่ กระจายในน้ำในรู ปอิมลั ชัน่
เรี ยกการจัดเรี ยงตัวแบบนี้ วา่   ไมเซลล์ หรื อ กลุ่มสบู่
*     สบู่กับน้ำกระด้ าง
น้ำกระด้างจะมี  Ca   ,  Mg     ไอออนทั้ง  2  ชนิดเข้าไปแทนที่  Na  ในสบู่
เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ เป็ นฝ้ าขาว  เรี ยกว่า  ไคลสบู่
*      ผงซักฟอก   ข้อดี คือ  ช่วยลดแรงตึงผิวน้ำ และ เกิดฟองกับน้ำง่าย  
  สังเคราะห์ได้จาก
1.   แอลกอฮอล์ ทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิ วริ ก
2.   ผลิตภัณฑ์ของสารปิ โตรเลียมกับกรดซัลฟิ วริ ก
โครงสร้างของผงซักฟอกต่างกับสบู่ที่วา่   ตรงปลายด้านมีข้วั เป็ นหมู่  Sulfunyl 
ส่วนสบู่เป็ น  Carbonyl                                                                  O
/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\-C – O  Na

o
/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\-O – S – O  Na

*       ปัญหาผงซักฟอก
1.    สลายตัวยากมีปัญหาต่อสิ่ งแวดล้อม
2.    สารพวกฟอสเฟตเป็ นปุ๋ ยชั้นดีให้พืชน้ำเติบโตเร็วมาก  
เมื่อพืชน้ำตายจะเกิดการย่อยสลายใช้ออกซิเจนมาก  ทำให้น้ำขาดออกซิเจนและเน่า
*      การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ 
  >  เติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต  (NH4)2 MoO4
จะได้ตะกอนสี เหลือง

http://chemistry345.9f.com/page3.html

You might also like