You are on page 1of 7

โครงงานวิทยาศาสตร

เรือ
่ ง นํ ้ายาลางจานจากมะนาว

จัดทําโดย

นาย กอบบุญ ศรีไชโย เลขที่ 40

ราย ณั ฐวุฒิ ธนงค เลขที่ 26

นั กเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/2

ครูทป
ี่ รึกษาโครงงาน คุณครูรก
ั เกลา

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566

บทคัดยอ

โครงงานเรือ
่ ง นํ ้ายาลางจานจากกรดมะนาว

นี ้จด
ั ทําขึน
้ เพื่อตองการศึกษาคนควาเกีย
่ วกับความเป็ นกรดของนํ ้ามะนาว

ทีส
่ ามารถชําระลางสิง่ สกปรกไดดีพอๆ กับนํ ้ายาลางจานทีม
่ ีสารเคมีหรือไม

ตนทุนตํา่ และไมมีสารตกคาง เพราะใชวัตถุดบ


ิ จากธรรมชาติ อยางนํ ้ามะนาว นํ ้าดาง นํ ้าเกลือ

และหัวเชือ
้ นํ ้ายา โดยมีขน
ั ้ ตอนการศึกษาคนควา

โดยนํ าหัวเชือ
้ ลงไปกวนในถังโดยใชไมกวนไปทางเดิม หามกวนสวนทาง และใสนํ ้ามะกรูด นํ ้าดาง

นํ ้าเกลือ ลงไปทีละนิ ดสลับกัน จนหมดกวนซักพักทิง้ ไว และเมื่อนํ าไปลางจานจะเกิดผลอยางไร

ผลปรากฏวา เมื่อนํ าไปลางจานจะสะอาดพอๆกับนํ ้ายาลางจานทีม


่ ีสารเคมี มีตนทุนทีต
่ าํ่ กวา

สามารถทําใชเองไดภายในบาน ทําใหประหยัดคาใชจายภายในบานดวย

กิตติกรรมประกาศ

ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร เรือ
่ ง นํ ้ายาลางจานจากกรดมะนาว ในครัง้ นี ้

คณะผูจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร ไดรับความอนุ เคราะหจากบุคคลภายนอก ไดแก


ชาวบานในแถบพืน
้ ทีใ่ กลเคียง
ทีใ่ หคําแนะนํ าปรึกษาเกีย
่ วกับกรดมะนาวทีช
่ าวบานไดทําการผลิตกันขึน
้ มาเองจากวัตถุดบ

ทีป
่ ลอดสารเคมี และไดใหคําแนะนํ าในเรือ
่ งของการทํานํ ้ายาลางจาน

วิธก
ี ารทําสบูอยางถูกตองและถูกวิธต
ี ลอดจนอธิบายถึงการเตรียมอุปกรณตางๆทีจ
่ าํ เป็ นตองใชในการ

นํ ามาทํานํ ้ายาลางจานและสามารถนํ าไปลงมือปฏิบต


ั จ
ิ ริง

ในการจัดทําโครงงานชิน
้ นี ้และไดคําแนะนํ าปรึกษาในการทําโครงงานอยางเป็ นกันเอง
รวมทัง้ แนวคิดตลอดจนขอบกพรองตางๆทีต
่ องแกไข

ทําใหคณะผูจัดทําสามารถแกไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน


้ ในการทําโครงงานชิน
้ นี ไ้ ด
จนโครงงานเรือ
่ งนี ้เสร็จสมบูรณ คณะผูจัดทําจึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอยางสูงมา ณ โอกาสนี ้

ผูจัดทํา

บทที่ 1

บทนํ า

ทีม
่ าและความสําคัญ

นํ ้ายาลางจาน คือสารชําระลาง (detergent) ทีใ่ ชชวยในการลางจาน

มีสวนผสมของสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ทีม


่ ีการระคายเคืองตํา่

ประโยชนหลักของนํ ้ายาลางจานคือใชลางภาชนะและเครือ
่ งครัวดวยมือหลังจากประกอบหรือรับประ

ทานอาหารแลว นํ ้ายาลางจานทําใหสิง่ สกปรกและไขมันหลุดจากภาชนะและรวมตัวเป็ นอีมล


ั ชัน

(emulsion) อยูในนํ ้าหรือฟอง (foam)

เนื่ องจากโมเลกุลของนํ ้ายาลางจานประกอบดวยสวนทีม


่ ีขวั ้ และไมมีขวั ้ เชนเดียวกับผงซักฟอก

สวนทีม
่ ีขวั ้ จะจับกับโมเลกุลของนํ ้า และสวนทีไ่ มมีขวั ้ จะจับกับสิง่ สกปรกใหหลุดออก
ื่ เรียกอืน
ในสมัยกอนมีชอ ่ ๆ เชน สบูลางจาน หรือ

ครีมลางจานเนื่ องจากเคยผลิตในรูปของสบูและครีมมากอน

ปั จจุบน
ั นํ ้ายาลางจานมีสวนผสมอืน
่ รวมอยูดวย เชน นํ ้ามะนาวหรือชา

ซึง่ เชือ
่ วาเป็ นการชวยใหภาชนะสะอาดมากขึน
้ และถนอมมือมากกวาเดิม
ปั ญหาทีพ
่ บไดบอยทีเ่ กิดจากการลางจานไมสะอาด

ทําใหมีเศษอาหารหลงเหลือติดอยูสวนใดสวนหนึ่ งของจานเมื่อเวลาผานไปเศษอาหารทีเ่ หลือเหลานั น



อาจเนาเสียไดเป็ นสาเหตุใหเกิดโรคตางๆ ได สาเหตุทเี่ กิดจากการเนาเสียของอาหารไดแก
แบคทีเรีย

จุลน
ิ ทรียทีม
่ ีขนาดเล็ก มีรป
ู รางตางๆ กัน เชน เกลียว กระบอกหรือทอน

กลมซึง่ อาจเกาะเรียงตัวกันเป็ นสายหรือกลุม แบคทีเรียมีการเจริญเพิ่มจํานวนโดยการแบงเซลล

โดยเฉลีย
่ ทีส
่ ภาวเหมาะสม จะเพิ่มจํานวนเป็ น 2 เทาทุก 20-30 นาที

ดังนั น
้ หากในอาหารมีแบคทีเรียปนเปื ้ อนเพียง 1 เซลล ภายใน 10 ชัว่ โมง จะมีจาํ นวนแบคทีเรียมากกวา
1 ลานเซลล อาหารทีม
่ ีแบคทีเรียปนเปื ้ อนอยูในระดับนี ้ จะเกิดการเนาเสียเกิดขึน
้ อยางเห็นไดชัด
ตัวอยางแบคทีเรียทีท
่ าํ ใหอาหารเนาเสีย เชน Pseudomonas Acinetobacter, Moraxella,

Flavobacterium เป็ นตน แบคทีเรียทีท


่ าํ ใหอาหารเกิดการเนาเสียอาจแบงเป็ นกลุมๆได

โดยอาจพิจารณาจากความสามารถในการยอยสลายประเภทอาหาร และผลิตภัณฑทีเ่ กิดขึน



ยีสต

จุลน
ิ ทรียทีม
่ ีขนาดใหญกวาแบคทีเรีย เซลลมีรป
ู รางหลายลักณะ เชน กลม รี เป็ นตน

สวนใหญเพิ่มจํานวนโดยการแตกหนอ ยีสตเจริญไดดีในอาหารทีม
่ ีนํ้าตาลสูง เชน นํ ้าผลไม แยม

ผลไมแชอิม
่ หรือแหง รวมทัง้ อาหารทีม
่ ีปริมาณเกลือมาก เชน ผักดอง แฮม เบคอน และเนื อ
้ เค็ม
สปอรของยีสตไมทนความรอนเหมือนกับสปอรของแบคทีเรีย นอกจากนี ้

ยีสตยังมีเอนไซมทีย
่ อยสลายกรดอินทรียตางๆทีใ่ ชในการถนอมอาหาร เชน กรดแล็กติก

กรดแอซีตก
ิ ได ทําใหกรดมีความเขมขนลดลง

ทําใหอาหารมีสภาวะเหมาะสมตอการเจริญของแบคทีเรียได

อาหารทีเ่ กิดการเนาเสียจากยีสตมักเกิดกลิน
่ หมัก เมือก หรือฝาบริเวณผิวหนา

รวมทัง้ เกิดความขุนและแกสได ตัวอยางยีสตทีท


่ าํ ใหอาหารเนาเสีย เชน Saccharomyces, Pichia,

Torulopsis เป็ นตน

รา

จุลน
ิ ทรียทีพ
่ บอยูทัว่ ไป มีรป
ู รางลักษณะ และสีตางๆกัน ราเป็ นสาเหตุสาํ คัญทีท
่ าํ ใหผัก ผลไม

และอาหารแหง ผลิตภัณฑขนมอบ เกิดการเนาเสีย มีสี กลิน


่ ทีผ
่ ิดปกติ และราบางชนิ ดเชน

Aspergillus flavus ยังสามารถสรางสารพิษอะฟลาทอกซินขึน


้ ในอาหารได
โดยทัว่ ไปราเจริญไดชากวาแบคทีเรียและยีสต แตเมื่อราเจริญไดสักระยะหนึ่ ง

ก็จะเจริญไดอยางรวดเร็ว ราสามารถทนตอสภาวะทีไ่ มเหมาะสมไดดี เชน มีความชืน


้ นอย

ความเป็ นกรด จึงเป็ นปั ญหาในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารมาก

ตัวอยางราทีท
่ าํ ใหเกิดการเนาเสียของอาหาร เชน Aspergillus, Penicillium, Rhizopus เป็ นตน

แหลงของจุลน
ิ ทรีย

ิ ทรียเป็ นสิง่ มีชวี ต


จุลน ิ ทีพ
่ บไดทัว่ ไปตามธรรมชาติในสภาพแวดลอมทีม
่ ีความเหมาะสมสําหรับก

ารเจริญของจุลน
ิ ทรียแตละชนิ ด แหลงทีอ
่ ยูอาศัยตามธรรมชาติของจุลน
ิ ทรียสามารถจัดแบงเป็ น
แหลงทีอ
่ ยูตามธรรมชาติทางกายภาพและทางชีวภาพ

ซึง่ การทราบถึงแหลงทีอ
่ ยูอาศัยของจุลน
ิ ทรียจะชวยทําใหทราบถึงการแพรกระจายหรือการปนเปื ้ อน

ขามของจุลน
ิ ทรียสูวัตถุดบ
ิ ทางการเกษตรหรืออาหาร

วัตถุประสงค

การศึกษาการนํ าสมุนไพรมาทํานํ ้ายาลางครัง้ นี ้ กําหนดวัตถุประสงคไวดังนี ้

1.เพื่อทราบคาคุณภาพของกรดจากมะนาว ทีน
่ ํ ามาทําเป็ นนํ ้ายาลางจาน

ขอบเขตของการศึกษา

ดานระยะเวลา

1 ธันวาคม – 30 ธันวาคม 2559 รวมระยะเวลาทีใ่ ชในการศึกษา คนควา และทดลองทัง้ หมด 30 วัน

ดานเนื ้อหา

ในการศึกษาทดลองโครงงานนี ม
้ งศึ
ุ กษาการทํานํ ้ายาจากสมุนไพรทีใ่ ชสวนผสมทีม
่ ีความแตกตาง

กัน เพื่อเปรียบเทียบและศึกษาคนควาตอไป

ผลทีค
่ าดวาจะไดรับ
1.

สามารถสรางนํ ้ายาลางจานจากกรดจากมะนาวทีส
่ ามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหกับนํ ้ายาลางจานไดมาก

ขึน

2. สามารถรูไดวาการใชกรดจากมะนาวทําใหลางจานไดสะอาดขึน

บทที่ 2

เอกสารทีเ่ กีย
่ วของ

การศึกษากรดจากนํ ้ามะนาวมาทํานํ ้ายาลางจานมีวต


ั ถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพวาสามารถชวย

เพิ่มประสิทธิภาพใหนํ ้ายาลางจานไดดีขน
ึ ้ หรือไม ผูศึกษาไดทําการคนควาขอมูลทีเ่ กีย
่ วของ
ดังมีหวั ขอตอไปนี ้

1. ความสําคัญของนํ ้ายาลางจาน

2. สารตางๆ ทีอ
่ ยูในนํ ้ายาลางจาน

3. ประโยชน, โทษของนํ ้ายาลางจาน และการดูแลรักษาเมื่อเกิดอาหารผิดปกติทเี่ กิดจากนํ ้ายาลางจาน

1.ความสําคัญของนํ ้ายาลางจาน

นํ ้ายาลางจาน คือสารชําระลาง (detergent) ทีใ่ ชชวยในการลางจาน

มีสวนผสมของสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ทีม


่ ีการระคายเคืองตํา่

ประโยชนหลักของนํ ้ายาลางจานคือใชลางภาชนะและเครือ
่ งครัวดวยมือหลังจากประกอบหรือรับประ

ทานอาหารแลว นํ ้ายาลางจานทําใหสิง่ สกปรกและไขมันหลุดจากภาชนะและรวมตัวเป็ นอีมล


ั ชัน

(emulsion) อยูในนํ ้าหรือฟอง (foam)

เนื่ องจากโมเลกุลของนํ ้ายาลางจานประกอบดวยสวนทีม


่ ีขวั ้ และไมมีขวั ้ เชนเดียวกับผงซักฟอก

สวนทีม
่ ีขวั ้ จะจับกับโมเลกุลของนํ ้า และสวนทีไ่ มมีขวั ้ จะจับกับสิง่ สกปรกใหหลุดออก
ื่ เรียกอืน
ในสมัยกอนมีชอ ่ ๆ เชน สบูลางจาน หรือ

ครีมลางจานเนื่ องจากเคยผลิตในรูปของสบูและครีมมากอน

ปั จจุบน
ั นํ ้ายาลางจานมีสวนผสมอืน
่ รวมอยูดวย เชน นํ ้ามะนาวหรือชา

ซึง่ เชือ
่ วาเป็ นการชวยใหภาชนะสะอาดมากขึน
้ และถนอมมือมากกวาเดิม
2.สารตางๆ ทีอ
่ ยูในนํ ้ายาลางจาน

นํ ้ายาลางจาน Linear Alkylbenzene Sulfonates, Sodium Salt (LAS)

จัดเป็ นสารลดแรงตึงผิวชนิ ดประจุลบ (anionic surfactant) LAS

เป็ นสารผสมของสารทีม
่ ีจาํ นวนคารบอนอยูระหวาง 10-14 อะตอมบนสายอัลคิล (alkyl chain)

ซึง่ ตอกับวงแหวนเบนซินทีต
่ าํ แหนงพารา1 LAS

ในรูปของเกลือโซเดียมจัดเป็ นสารสําคัญในผลิตภัณฑทําความสะอาดเสือ
้ ผา และ

ผลิตภัณฑลางจาน ในความเขมขนระหวาง 5-25 %2 เนื่ องจาก LAS สามารถทําใหสิง่ สกปรก

หรือคราบไขมันหลุดจากผิวของผาหรือจานชามได

3. ประโยชน, โทษของนํ ้ายาลางจาน และการดูแลรักษาเมื่อเกิดอาหารผิดปกติทเี่ กิดจากนํ ้ายาลางจาน

ประโยชน ใชทําความสะอาดภาชนะหรือเครือ
่ งใชในครัว

อาการเมื่อเป็ นพิษ ความเป็ นพิษของสารนี ต


้ อมนุ ษยจัดวาเป็ นพิษนอย
โดยทัว่ ไปอาจกอใหเกิดอาการระคายเคืองตอผิวหนั ง หรือตาไดเล็กนอย

ในการทดลองการกอการระคายเคืองของสารนี ต
้ อผิวหนั งและตาในกระตาย
พบวาสารนี ้สามารถกอใหเกิดการระคายเคืองทีต
่ าไดในความเขมขน 5%
สวนทีผ
่ ิวหนั งตองใชในความเขมขนทีส
่ งู ประมาณ 47-50% สวนความเป็ นพิษเมื่อรับประทานนั น

ตองไดรับสารนี ้ในความเขมขนมากกวา 65%3

และจากการทดลองในหนู พบวาปริมาณสารมากทีส
่ ด
ุ ทีย
่ งั ปลอดภัยเมื่อรับประทาน คือ 85

มิลลิกรัมตอกิโลกรัมตอวัน4 อาการเป็ นพิษทีพ


่ บไดในหนู จะพบความผิดปกติ ดังนี ้ เดินโซเซ ขนตัง้ ชัน

การหายใจลดลง งวงซึม หนั งตาตก ทองเสีย เป็ นตน

1.กรดมะนาว 2.ผงฟอง

3. N8000 4. F-24(สารขจัดคราบมัน)

5. สารกันบูด 6.ถังนํ ้า

7.สีผสมอาหาร 8.นํ ้าเปลา

9.นํ ้ามะนาว 10.ผงขน

วิธก
ี าร/ขัน
้ ตอนการศึกษา
1.ขัน
้ เตรียม
1.1 เตรียมนํ ้าจากมะนาว

1.2 เตรียมวัสดุอป
ุ กรณใหครบ

2.ขัน
้ ดําเนิ นการ
2.1 นํ านํ ้าเปลาผสมสีผสมอาหารเล็กนอยตัง้ ทิง้ ไว 2.2 นํ านํ ้าเปลาผสมกับผงฟองทิง้ ไว 30 นาที

2.3 นํ าF-24 เทลงในถัง 2.4 ตามดวยผงขน

2.6 แลวนํ า N8000 เทตามลงไป 2.7 ใสสีผสมอาหารตามทีต


่ องการ

2.8 ใสสารกันบูดและนํ ้ามะนาว 2.9 เติมนํ ้าเปลา

2.10 คนสวนผสมไปเรือ
่ ยๆใหเขากัน 2.11 ตักใสบรรจุภณ
ั ฑแลวก็เป็ นอันเสร็จ

3.ขัน
้ สรุปและรายงานผล
3.1 นํ านํ ้ายาลางจานทีไ่ ดทดลองลางจาน แลวดูความสะอาด

3.2 บันทึกผลทีไ่ ดจากการทดลอง


บทที่ 4

ผลการศึกษา

การศึกษาการนํ านํ ้ามะนาวมาเป็ นสวนผสมในการทํานํ ้ายาลางจานมีวต


ั ถุประสงคเพื่อศึกษาวานํ ้า

มะนาวจะมีคณ
ุ ภาพทีส
่ ามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหนํ ้ายาลางจานไดมาขึน
้ หรือไม มีผลการศึกษา ดังนี ้
การทํานํ ้ายาลางจานจากกรดมะนาวนั น
้ ชวยใหผูจัดทําโครงงานไดความรูและไดเรียนรูวิธก
ี ารทําเ

พื่อเป็ นประโยชนในอนาคต

อีกทัง้ ชวยประหยัดรายจายจากการทีต
่ องไปซือ
้ นํ ้ายาลางจานจากทองตลาดอีกดวย

บทที่ 5

สรุปผลการศึกษา

การศึกษาการนํ านํ ้ามะนาวมาเป็ นสวนผสมในการทํานํ ้ายาลางจานมีวต


ั ถุประสงคเพื่อศึกษาวาคุ

ณภาพของนํ ้ามะนาวจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหนํ ้ายาลางจานไดมากขึน


้ ไดหรือไม
สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี ้

อภิปรายและสรุปผล

จากการทีเ่ ราไดศึกษา และ

ไดผลิตนํ ้ายาลางจานจากมะนาวออกมาใชนั น
้ มีประสิทธิภาพในการชําระสิง่ สกปรก
ซึง่ นํ ้ายาลางจานของเรามีสวนผสมของนํ ้าดางซึง่ มีฤทธิ ์เป็ นเบสชวยในการชําระลางสิง่ สกปรก

้ มีฤทธิ ์เป็ นกรดซึง่ ทําปฏิกร


สวนมะกรูดนั น ิ ย
ิ ากับไขมันจึงชวยขจัดความมันและกลิน
่ คาว
เกลือชวยขจัดสิง่ สกปรก สวนหัวเชือ
้ N8000

ชวยใหนํ ้ายาลางจานของเรามีฟองนาใชดังนั น
้ นํ ้ายางลางจานทีเ่ ราผลิตขึน
้ นี จ
้ งึ เป็ นผลิตภัณฑทําความ
สะอาดทางเลือก ใหมทีด
่ อ
ี ก
ี ทางหนึ่ ง

You might also like