You are on page 1of 5

สบู่ก้อน

เรี ยบเรี ยงโดย ขนิษฐ พานชูวงศ์


นักวิทยาศาสตร์ ชํานาญการ
คําสําคัญ : สบูก่ ้ อน กลีเซอรี น

สบู่ก้อน (bar soap) เป็ นผลิตภัณฑ์ทําความสะอาดช่วยในการชําระล้ างสิ/งสกปรก มีใช้ กันมา


ตังแต่
0 สมัยโบราณกาลและสืบทอดความนิยมมาจนถึงปั จจุบนั มีลกั ษณะเป็ นก้ อนทําความสะอาดได้ ดี เกิด
ฟองมาก มีกลิ/นหอม ราคาถูก วัตถุดบิ สําคัญที/ใช้ ในการผลิตสบูก่ ้ อน มีดงั นี 0

1. ไขมันและนํ 0ามันที/มาจากสัตว์หรื อพืช เช่น นํ 0ามันปาล์ม นํ 0ามันมะพร้ าว นํ 0ามันมะกอก นํ 0ามัน


ละหุง่ ไขจากวัว และกรดไขมันบางชนิด
2. ด่าง เป็ นตัวทําปฏิกิริยากับกรดไขมันที/อยู่ในไขมันทําให้ เกิดเป็ นสบู่ เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์
และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
3. นํ 0าหอม ทําหน้ าที/ปกปิ ดกลิ/นของส่วนประกอบต่างๆ และทําให้ สบู่มีกลิ/นหอมน่าใช้ ที/นิยมคือ
กลิ/นดอกไม้ เช่น กลิ/นลาเวนเดอร์ กลิ/นกุหลาบ และกลิ/นมะลิ
4. สารแต่งสี ตัวอย่างเช่น เหล็กออกไซด์ โครเมียมออกไซด์ คลอโรฟิ ลด์ ชินนาบาร์
อัลตรามารี นกรี น และอัลตรามารี นบลู
5. สารลดความกระด้ างของนํ 0า ซึง/ สามารถช่วยลดความกระด้ างของนํ 0าเพื/อเพิ/มความสามารถใน
การทําความสะอาด โดยจะจับอนุภาคโลหะหนักและสิ/งสกปรก ที/เป็ นอุปสรรคต่อการทําความ
สะอาด นอกจากนี 0ยังป้องกันการเสื/อมของผลิตภัณฑ์ เช่น สี และกลิ/น ตัวอย่างสารลดความ
กระด้ างของนํ 0าได้ แก่ อีดีทีเอ และโพลีฟอสเฟต
6. สารปรับสภาพ เพื/อความชุม่ ชื 0นแก่ผิว เช่น ลาโนลิน กลีเซอรี น และกรดไขมัน
7. สารต้ านออกซิเดชัน เพื/ อป้องกันปฏิ กิริยาออกซิเดชันของกรดไขมันไม่อิ/มตัว เช่น วิตามินอี
และ acorbyl palmitate
8. สารยับยัง0 การเจริ ญ เติบโตของจุลิ นทรี ย์ที/เ ป็ นสาเหตุข องกลิ/ นตัว เช่น ไตรโครซาน ครี ซอล
และฟี นอล

Q/S
การผลิ ต สบู่ มี ขัน0 ตอนในทางอุ ต สาหกรรมที/ ไ ม่ ยุ่ ง ยาก โดยเกิ ด จากปฏิ กิ ริ ย า saponification
ระหว่างไขมันกับด่าง (แสดงดังภาพที/ Q) ซึ/งใช้ ไอนํ 0าให้ ความร้ อนเพื/อเร่ งปฏิกิริยา ขัน0 แรกจะได้ สบู่ที/มี
สถานะเป็ นของเหลวข้ น มีนํ 0าเป็ นองค์ประกอบประมาณร้ อยละ VW จากนันนํ 0 ามาผ่านกระบวนการไล่นํา0
ด้ วยสูญญากาศ ได้ เนื 0อสบูร่ ้ อยละ XW-ZW (soap sheet) เติมสารเติมแต่งตามต้ องการ แล้ วนําไปผ่านเครื/ อง
บดผสมให้ เป็ นเนื 0อเดียวกัน จากนันนํ0 าเข้ าเครื/ องอัดก้ อนแล้ วบรรจุเป็ นผลิตภัณฑ์สําเร็ จรูป

ภาพที/ Q ปฏิกิริยาการเกิดสบูท่ ี/เรี ยกว่า saponification ระหว่างไขมันกับด่างเกิดเป็ น สบูแ่ ละกลีเซอรอล

กลีเซอรอลหรื อกลี เซอรี นเป็ นผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตสบู่ ซึ/งจะถูกปั/ นแยกออกจากสบู่


เหลวข้ นแล้ วนําไปกลัน/ เพื/อให้ ได้ กลีเซอรี นบริ สุทธิ] สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการผลิตยา
อุตสาหกรรมเครื/ องสําอาง และอุตสาหกรรมพลาสติก ต่างจากสบูท่ ี/เราผลิตเองในระดับครัวเรื อนหรื อระดับ
ชุมชนขนาดเล็กจะไม่มีการแยกเอากลีเซอรี นออกจากเนื 0อสบู่ ทําให้ ได้ สบูท่ ี/ช่วยให้ ผิวมีความชุ่มชื 0นสูงจึงไม่
มีความจําเป็ นต้ องเติมสารเติมแต่งเพื/อเพิ/มความชุม่ ชื 0นแก่ผิว
ไขมันที/ใช้ ในการผลิตสบูแ่ ต่ละชนิดจะประกอบด้ วยกรดไขมันเป็ นองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ซึ/ง
จะมีสดั ส่วนของกรดไขมันแต่ละชนิดมากน้ อยแตกต่างกันไป มีผลทําให้ ได้ สบูท่ ี/คณ ุ สมบัติที/แตกต่างกันด้ วย
ดังนี 0
1. นํ 0ามันมะพร้ าว สบู่ที/ได้ จะมีเนื อ0 แข็ง แตกง่าย สี ขาวข้ น มี ฟองมาก เมื/อใช้ แล้ วทํ าให้ ผิวแห้ ง
ต้ องเติมสารให้ ความชุม่ ชื 0น
2. นํ 0ามันปาล์ม ให้ สบูท่ ี/มีเนื 0อแข็งเล็กน้ อย มีฟองน้ อย ฟองคงทนอยูน่ าน มีคณ ุ สมบัตใิ นการ
ชะล้ างได้ ดี แต่ทําให้ ผิวแห้ ง
3. นํ 0ามันรํ าข้ าวและนํ 0ามันงา ให้ วิตามินอีมาก ช่วยบํารุงผิวเพิ/มความชุม่ ชื 0นแก่ผิว
4. นํ 0ามันมะกอก สบูท่ ี/ได้ จะแข็งพอสมควร ใช้ ได้ นานมีฟองเป็ นครี มนุ่มนวลมาก ให้ ความชุ่มชื 0น
แก่ผิว
2/5
5. ไขมันวัวและไขมันหมู
6. ให้ สบูเ่ นื 0อแข็งสีขาว มีฟองน้ อย
7. ไขมันแพะ ได้ สบูเ่ นื 0อนุม่ ช่วยให้ ผิวชุม่ ชื 0น นุม่ เนียน

กลไกในการทําความสะอาดของสบูแ่ สดงดังภาพที/ ^
ขันตอนที
0 / Q สิ/งสกปรกติดอยูบ่ นพื 0นผิว
ขันตอนที
0 / ^ โมเลกุลของสบูจ่ ะหันด้ านที/เป็ นไฮโดรคาร์ บอน (ส่วนหาง) เข้ าหาไขมันหรื อสิ/งสกปรก ส่วนด้ าน
ที/มีประจุ (ส่วนหัว) จะหันเข้ าหาโมเลกุลของนํ 0า
ขันตอนที
0 / _ สิ/งสกปรกจะถูกดึงให้ หลุดออกจากพื 0นผิว
ขันตอนที0 / V สิ/งสกปรกจะถูกล้ อมรอบด้ วยโมเลกุลส่วนหางของสบูแ่ ละส่วนหัวของโมเลกุลก็จะดึงดูดกับ
โมเลกุลของนํ 0า เกิดเป็ นลักษณะทรงกลมเรี ยกว่า micelle สิ/งสกปรกที/หลุดออกจากพื 0นผิว
ก็จะแขวนลอยอยูใ่ นนํ 0า ทําให้ พื 0นผิวสะอาดไม่มีสิ/งสกปรกติดอยู่

ภาพที/ ^ กลไกในการทําความสะอาดของสบู่ (ทีม/ า : http://www.chemistry.co.nz/surfactants.htm)

สูตรและวิธีการทําสบูก่ ้ อนอย่างง่ายในระดับครัวเรื อนหรื อระดับชุมชนขนาดเล็กมีดงั นี 0


วัตถุดบิ
นํ 0า QS ออนซ์
โซเดียมไฮดรอกไซด์ d._ ออนซ์
นํ 0ามันมะพร้ าว ^W ออนซ์
นํ 0ามันปาล์ม d ออนซ์
นํ 0ามันมะกอก QV ออนซ์
3/5
พิมพ์ขนมรูปแบบต่างๆ
วิธีทํา
1. ค่อยๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในนํ 0า ผสมให้ เข้ ากัน ตังทิ 0 0งไว้ ให้ ได้ อณ
ุ หภูมิประมาณ
_X องศาเซลเซียส (ควรระวังในขันตอนนี 0 0เพราะจะเกิดความร้ อนขณะผสม)
2. ผสมนํ 0ามันมะพร้ าวกับนํ 0ามันปาล์ม แล้ วเทลงในนํ 0ามันมะกอก จากนันให้ 0 ความร้ อน
กับส่วนผสมที/ได้ พร้ อมกับคนให้ เข้ ากันจนได้ อณ ุ หภูมิประมาณ _X องศาเซลเซียสหรื อ
พออุน่
3. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ในข้ อที/ Q ลงในนํ 0ามันในข้ อที/ ^ คนให้ เข้ ากัน
4. คนไปเรื/ อยๆจนกระทัง/ สบูจ่ บั ตัวเหนียวข้ น แล้ วจึงเทลงในแม่พิมพ์ที/เตรี ยมไว้
5. ตังทิ
0 0งไว้ ประมาณ _-d ชัว/ โมง จนสบูจ่ บั ตัวเป็ นก้ อนแข็ง แล้ วจึงนําออกจากพิมพ์

หมายเหตุ : หลังจากผลิตสบูไ่ ด้ แล้ วควรเก็บสบูไ่ ว้ อย่างน้ อย 15-30 วัน ก่อนนํามาใช้ งาน เพื/อให้ ค่า
ความเป็ นกรด-ด่าง (ค่า pH) ลดลงในอัตราที/เหมาะสมคือมีคา่ pH อยูร่ ะหว่าง 8-10
ข้ อเสียของสบู่ก้อนที/อาจมีได้ คือการระคายเคืองที/เกิดจากกรดไขมัน ด่างและนํ 0าหอมที/ใช้ ในการ
แต่งกลิ/ น หรื อประสิทธิ ภาพในการชํ าระล้ างที/ จะลดลงกรณี ใช้ กับนํ า0 กระด้ าง ปั จจุบนั ผู้ผลิตจึง ได้ มีการ
พัฒ นาสูต รการผลิ ต เพื/ อ ปรั บ ปรุ ง คุณ ภาพของสบู่ใ ห้ ดี ยิ/ ง ขึน0 ทํ า ให้ ใ นท้ อ งตลาดมี ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ใ ห้ เ ลื อ ก
หลากหลายตามความต้ องการของผู้บริ โภค

เอกสารอ้ างอิง

Q. พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. เครื/ องสําอางเพื/อความสะอาด. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ น0 ติ 0ง เฮ้ าส์.


2544.
2. สํานักงานเลขานุการโครงการฉลากเขียว สถาบันสิ/งแวดล้ อมไทย. ข้ อกําหนดฉลากเขียวสําหรับ
สบู.่ TGL-24-99. หน้ า d-QX
3. สบู่ [ออนไลน์] [อ้ างถึงวันที/ 5 พฤศจิกายน 2555] เข้ าถึงได้ จากอินเตอร์ เน็ต
http://th.wikipedia.org/wiki/สบู่
4. Surfactants : surface active agents [Online] [cited 16 August 2012] Available from Internet :
http://www.chemistry.co.nz/surfactants.htm.
4/5
โครงการเคมี
กรมวิทยาศาสตร์ บริ การ
โทร W ^^WQ X^_S
E-mail : khanit@dss.go.th
พฤศจิกายน ^SSS

5/5

You might also like