You are on page 1of 5

ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Waste treatment from dairy industries) Page 1 of 5

ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม
(Waste treatment from dairy industries)
แปลและเรียบเรียงโดย วลัยรัตน จันทรวงศ

บทนํา
จากการที่ผูเขียนไดเขาสัมมนาทางวิชาการที่จัดโดยมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง การจัดการขยะมูลฝอย
และกากของเสียอันตราย (Solid Waste and Hazardous Waste Management) โดยในตอนหนึ่งของการสัมมนา
ไดกลาวถึงระบบบําบัด น้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีมซึ่งมีชื่อเสียงมากในประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่อโรงงาน
เบนแอนดเจอรรี่ (Ben and Jerry's Homemade Ice cream) จากความ รูในเรื่องเกี่ยวกับระบบบําบัดน้ําเสียและวิธี
ดําเนินการจากโรงงานเบนแอนดเจอรรี่ ผูเขียนเห็นวาจะมีประโยชนกับโรงงานผลิตนมและไอศครีมหลายแหงใน
ประเทศ ไทยเพื่อเปนแนวทางในการนํามาประยุกตใชในระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิต นมและไอศครีมของ
ประเทศไทยตอไป

ลักษณะของน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Nature of dairy waste)


น้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีมมีปจจัยหลายอยางซึ่งยากตอการบําบัด ปจจัยในการบําบัดน้ํา
เสียจากโรงงานประเภทนี้ที่ตองคํานึงมี 5 ประการ
1. อัตราการไหลที่ไมคงที่ของน้ําเสียที่เขาสูระบบบําบัด (variable flow)
2. ปริมาณน้ําเสียในแตละวันจะไมคงที่ (variable loads)
3. คาความเปนกรดเปนเบสของน้ําเสียจะไมคงที่ (pH varies)
4. มีปริมาณสารอินทรียที่ละลายไดสูง (Soluble BOD)
5. น้ําเสียจากโรงงานเหลานี้มักขาดสารอาหารที่ทําใหจุลินทรียเติบโต
น้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีมจะมีสารอินทรียอยูในปริมาณที่สูงมาก เพราะวัตถุดิบหลักที่ใชใน
ขบวนการผลิตไอศครีม คือ นม และครีม สารอินทรีย ที่พบประกอบดวย
คารโบไฮเดรท ไดแก พวกน้ําตาล และแปง ซึ่งเปนองคประกอบของธาตุ คารบอน ไฮโดรเจน และ
ออกซิเจน คารโบไฮเดรทบางประเภทละลายน้ําได เชน น้ําตาลบางชนิด บางประเภทละลายไมไดหรือไดนอย เชน
แปง เปนตน สวนน้ําตาล ประเภทสามารถยอยสลายตัวเองไดนั้น เมื่อมีแบคทีเรียก็จะเกิดการหมักเปลี่ยนน้ําตาล ให
เปนแอลกอฮอรและคารบอนไดออกไซด ในทางตรงกันขามแปงคอนขางจะมี เสถียรภาพแตสามารถถูกยอยสลายให
เปนน้ําตาลไดโดยจุลินทรีย
โปรตีน บางชนิดละลายน้ําได บางชนิดไมละลายน้ํา โปรตีนจะมีธาตุ องคประกอบเปนคารบอน
ไฮโดรเจน ออกซิเจน และยังมีปริมาณของธาตุไนโตรเจน คอนขางสูง แตน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีมมี
ปริมาณโปรตีนไมสูงมากนัก ทําใหขาดปริมาณธาตุไนโตรเจน ซึ่งเปนอาหารของจุลินทรียที่ใชในขบวนการบําบัด
ทางชีววิทยา
ไขมันและน้ํามัน มีธาตุที่เปนองคประกอบคลายกับโปรตีนและคารโบ โฮเดรท ไขมัน และน้ํามัน เปน
สารประกอบที่มีเสถียรภาพสูง และถูกยอยสลายโดยแบค ทีเรียไดยาก เมื่อเขาสูระบบบําบัดจะรบกวนการทําปฏิกิริยา
ของจุลินทรีย และขัดขวาง การถายเทออกซิเจนจากน้ํา จึงจําเปนจะตองกําจัดออกไปเสียกอน

ลักษณะน้ําเสียจากโรงงานเบนแอนดเจอรรี่
น้ําเสียจากโรงงานมีปริมาณสารอินทรียเปนจํานวนมาก ทําใหคาบีโอดีและสารแขวนลอย มีคาสูงตามไป
ดวยลักษณะโดยเฉลี่ยของน้ําเสียจากโรงงานเบนแอนดเจอรรี่มีดังนี้
ประเภท ปริมาณ (มิลลิกรัม/ลิตร)
บีโอดี (Biological Oxygen Demand) 5,000-10,000
สารแขวนลอย (Total Suspended Solid, TSS) 1,000-4,000
ความเปนกรดดาง (pH) 4 - 12
ปริมาณน้ําเสียตอวัน (gpd) 23,000
(gpd = gallon per day)

http://202.28.17.1/article/atc41/atc00214.html 1/8/2549
ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Waste treatment from dairy industries) Page 2 of 5
ระบบบําบัดน้ําเสียของโรงงานเบนแอนดเจอรรี่
น้ําเสียจากโรงงานมีปริมาณสารแขวนลอยปนอยูจํานวนมาก จึงจําเปนตองผานกระบวน การทาง
กายภาพโดยตกตะกอนสารแขวนลอยใหมีปริมาณลดลง หลังจากนั้นจึงเขาสู ระบบบําบัดทางชีววิทยาแบบใช
ออกซิเจนตอไปหนวยบําบัดหลักของระบบบําบัดน้ํา เสียประกอบดวย
1. บอพักน้ําเสีย (Wet Well) เพื่อรวบรวมน้ําเสียจากจุดตางๆ ของโรงงานให มีปริมาณที่เพียงพอและ
มีระดับความสูงของน้ําตามความตองการกอนที่จะสูบเขาระบบ ตอไปโดยใชระบบปม (Pump) ซึ่งมีอยู 2 ตัว
2. ถังปรับอัตราการไหล (Storage and Equalization Tank, EQ Tank) เพื่อ ปรับอัตราการไหล
ของน้ําเสียใหไหลเขาสูระบบการบําบัดน้ําเสียอยางสม่ําเสมอถังนี้ มีความจุ 22,000 แกลลอน และมีระบบกวนน้ํา
ตลอดเวลา (Continuous Mixer)
3. ถังปรับพีเอช (pH Control Tank) เพื่อปรับ pH ของน้ําเสียใหไดตามความ ตองการในที่นี้น้ําเสีย
จากถังปรับอัตราการไหลจะมีคา pH ปริมาณ 9-10 จะถูกปรับ pH ใหมีคาเปน 3.5-4.5 ถังปรับ pH นี้มีความจุ 1,300
แกลลอน
4. ถังเติมโพลิเมอร (Polymer Tank) เพื่อเติมสารโพลิเมอร ในที่นี้ใชโซเดียม เอ็ลเนท (Sodium
Algnate) สารโพลิเมอรที่เติมเขาไปจะทําหนาที่เปนสารชวยตกตะกอน (Coagulant) ชวยใหสารอินทรียที่แขวนลอย
อยู เชน ไขมันน้ํามันตางๆ เกาะรวมตัวกันใหญ ขึ้น ถังเติมโพลิเมอรนี้มีความจุ 550 แกลลอน
5. ถังตกตะกอน (Flocculation Tank) เปนถังที่ทําใหสารแขวนลอยตาง ๆ รวม ตัวกันมากขึ้นและมี
ขนาดใหญขึ้น
6. ระบบลอยตะกอนเบา (Dissolved Air Flotation Unit, หนวย DAF) เปนระบบที่ อัดอากาศ
เขาไปในน้ําที่มีสารแขวนลอยละลายอยู เชน ไขมัน โปรตีน คารโบไฮเดรท การอัด อากาศภายใตความกดดันสูงกวา
บรรยากาศทําใหอากาศละลายน้ําไดมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้นลด ความดันลงทําใหอากาศละลายน้ําไดนอยลงอากาศ
สวนเกินจะหนีออกมาเปนฟองเล็กๆ พาสิ่ง ที่แขวนลอยอยูขึ้นสูผิวน้ํา

รูปที่ 1 แสดงการทํางานของหนวย DAF

7. ถังเก็บตะกอนลอย (Float Storage Tank) กากตะกอนที่ลอยขึ้นมาขางบนในระบบ ลอยตะกอน


เบา (หนวย DAF) จะถูกนํามาเก็บในถังนี้ ถังเก็บตะกอนลอยมีขนาดความจุ 6,000 แกลลอน
8. บอเติมอากาศ (Aerated Lagoon) เพื่อยอยสลายสารอินทรียที่เหลืออยูสวนใหญเปน สาร
อินทรียที่สามารถละลายไดในน้ํา ซึ่งมี 2 บอ
บอที่ 1 มีความจุ 50,000 แกลลอน แบงออกเปน 2 เซลล แตละเซลลมีแผนพลาสติกกั้น ไวแตมีชอง
เหมือนหนาตางใหน้ําผานเขาไปได
บอที่ 2 มีความจุ 1,000,000 แกลลอน แบงออกเปน 3 เซลล
9. เครื่องเติมอากาศ (Aerator)

http://202.28.17.1/article/atc41/atc00214.html 1/8/2549
ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Waste treatment from dairy industries) Page 3 of 5

รูปที่ 2 แผนผังแสดงระบบบําบัดน้ําเสียของโรงงานเบนแอนดเจอรรี่

รูปที่ 3 ระบบลอยตะกอนเบา (Dissolved Air Flotation Unit หนวย DAF)


สารเคมีที่ใชในระบบบําบัดน้ําเสีย
น้ําทิ้งที่ออกจากโรงงานจะมีปริมาณโปรตีนมาก จึงจําเปนตองตกตะกอนโปรตีน นอก จากนี้ในการเจริญ
เติบโตของแบคทีเรีย จะตองมีคา pH ที่เหมาะสม จึงจําเปนตองใช สารเคมีในระบบบําบัดดังนี้
1. กรดซัลฟุริก (H2 SO4)
2. สารโพลิเมอร (Sodium Algnate) 250 มล. : น้ํา 200 ลิตร
3. โซดาไฟ (NaOH) 50% สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด

การทํางานของระบบบําบัดน้ําเสีย
น้ําเสียจากโรงงานจะสูบเขามายังบอสูบน้ําเสีย ซึ่งมีปริมาณ 2-7,000 แกลลอน หลังจาก นั้นน้ําเสียจะ
สูบไปยังถังปรับอัตราการไหล (Equalization tank, E.Q. tank) เพื่อปรับ อัตราการไหลใหสม่ําเสมอน้ําเสียในถัง
ปรับอัตราการไหล (EQ. tank) นี้มีคา pH ประ มาณ 9-10 น้ําเสียจากถังปรับอัตราการไหลจะถูกสูบดวยอัตราไหล 0-
30 แกลลอนตอ นาทีไปยังถังปรับ pH เพื่อปรับคา pH ใหไดประมาณ 3.5-4.5 โดยใชกรดซัลฟุริก (H2 SO4) จุด
ประสงคของการลดคา pH คือ เพื่อตก ตะกอนโปรตีนหรือแยกโปรตีนออกมา หลังจากนั้นน้ําเสียที่มีคา pH ประมาณ
4 จะ ถายไปยังถังตกตะกอน (Floccyulation Tank) ในถังตกตะกอนนี้จะมีการเติมสารโพ ลิเมอรเขาไป เพื่อใหรวม
ตัวกันและมีขนาดใหญขึ้นในถังตะกอน ถังนี้มีความจุ 550 แกลลอน จากนั้นน้ําเสียจะเขาสูระบบลอยตะกอนเบา
(Dissolved Air Flotation Unit, หนวย DAF) ดวยอัตราไหล 25 แกลลอน ตอนาทีโดยการอัดอากาศเขาไปแลวให
อากาศเปนตัวนําพาสารแขวนลอยตางๆ ลอยสูดานบนและมีเครื่องกรองตะกอน (Baffle) ทําหนาที่กรองเอาตะกอน
ดานบนไปยังถังเก็บกากตะกอนลอยตอไประบบลอยตะกอน เบาจะทํางาน 16 ชั่วโมงตอวัน ในขั้นตอนนี้จะสามารถ
ลดคาสารแขวนลอยไดถึง 90% และลดคาบีโอดี ไดประมาณ 50% น้ําเสียหลังจากเอาตะกอนลอยออกไปแลว กอน

http://202.28.17.1/article/atc41/atc00214.html 1/8/2549
ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Waste treatment from dairy industries) Page 4 of 5
ที่จะ ปลอยลงสูบอเติมอากาศ (Aerated Lagoon) จําเปนจะตองปรับคา pH ใหไดประมาณ 7 โดยใชสารรละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด 50% น้ําเสียกอนที่จะปลอยลงสูบอเติมอากาศ จะมีลักษณะดังนี้
บีโอดี (มก./ล.) (BOD) = 1,500-4,000 มก./ล.
สารแขวนลอย (TSS) = 500-2,000 มก./ล.
pH = 7-7.5 มก./ล.
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายได (DO.) = 1-2 มก./ล.

รูปที่ 4 แสดงระบบบอเติมอากาศของโรงงานเบนแอนดเจอรรี่

รูปที่ 5 บอเติมอากาศบอที่ 1 (Aerated lagoon)

รูปที่ 6 บอเติมอากาศที่ 2 ซึ่งแบงออกเปน 3 เซลสคือ 2A 2B และ 2C


น้ําเสียจะปลอยเขาสูบอเติมอากาศที่ 1 (Aerated Lagoon) และเขาไปในเซลสซึ่งเปนบอเติม สาร
อาหารในเซลสนี้จะไมมีการเติมอากาศหรือออกซิเจนเขาไป (Anoxic Cell) และมีการ เติมสารอาหารใหแกแบคทีเรีย
คือ แอมโมเนีย (NH3 29%) ลงไปชวยใน การเจริญเติบโตของแบคทีเรีย หลังจากนั้นน้ําเสียจะถูกปลอยเขาสูเซลส
ถัดไป ซึ่งเปนบอ เติมอากาศมีเครื่องเติมอากาศติดตั้งอยูในเซลสนี้ สารอินทรียจะถูกยอยสลายแบบใชออกซิ เจน
น้ําจะอยูในบอเติมอากาศที่ 1 ประมาณ 30 วัน หลังจากนั้นก็จะเขาสูบอเติมอากาศที่ 2 ซึ่งแบงออกเปน 3 เซลส คือ
เซลส 2A 2B และ 2C ตามลําดับน้ําจากบอเติมอากาศที่ 1 จะเขา สูเซลส 2A กอนระยะเวลาหนึ่งและเขาสูเซลส 2B
และ 2C ตามลําดับน้ําจะอยูในบอเติมอา กาศที่ 2 รวมเวลา 45 วัน น้ําที่ออกจากเซลส 2C จะมีลักษณะดังนี้
บีโอดี (BOD) 200 มก./ล.

http://202.28.17.1/article/atc41/atc00214.html 1/8/2549
ระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานผลิตนมและไอศครีม (Waste treatment from dairy industries) Page 5 of 5
สารแขวนลอย (TSS) 500 มก./ล.
pH 7-7.5 มก./ล.
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายได (DO.) 2-4 มก./ล.

น้ําที่ออกจากบอเติมอากาศที่ 2 จะสงตอไป ยังโรงบําบัดน้ําเสียชุมชนตอไป


สรุป
ระบบบําบัดน้ําเสียของโรงงานเบนแอนดเจอรรี่ น้ําเสียที่ออกจากโรงงานมีคาบีโอดี 5,000- 10,000
มก./ล. และสารแขวนลอย 1,000-4,000 มก./ล. การนําหนวยลอยตะกอนเบา (Dissolved Air Flotation Unit) มา
ใชจะชวยลดคาบีโอดีไดถึง 50% และลดปริมาณสาร แขวนลอยได 90% กอนที่จะนําน้ําเสียไปบําบัดโดยวิธีทาง
ชีววิทยาตอไป การบําบัด โดยวิธีทางชีววิทยาแบบบอเติมอากาศ (Aerated Lagoon) ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่ง มี
ราคาที่ดินสูงมาก ดังนั้นในแตละบอตองพยายามใชบอยอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยแบงบอใหญ 2 บอ ออกเปน
บอยอย ๆ ถึง 5 เซลส ทําใหการใชที่ดินมีประสิทธิภาพ สูงสุด และน้ําที่ผานเขาไปในแตละเซลสจะมีคุณภาพดีขึ้น
เรื่อย ๆ จนถึงเซลสสุดทาย ซึ่ง น้ําเสียจะมีคาบีโอดีเหลือ 200 มก./ล. และสารแขวนลอยเหลือ 500 มก./ล. น้ําที่
ออกจาก เซลสสุดทายในบอที่ 2 พรอมที่จะปลอยเขาสูโรงบําบัดน้ําเสียชุมชนตอไป
ในประเทศที่เจริญแลวไดคํานึงถึงสภาพแวดลอมมากมีการปลูกฝงจิตสํานึกรับผิดชอบ และมีกฎหมาย
รองรับ เพื่อใหโรงงานอุตสาหกรรมปฏิบัติตามกฎหมายโรงงานอุตสา หกรรมจําเปนจะตองรับผิดชอบน้ําเสียที่ปลอย
ออกมาตองทําการบําบัดใหอยูในเกณฑ ตามมาตรฐานน้ําทิ้งของกระทรวงอุตสาหกรรมเสียกอนโดยมีคาบีโอดีไมเกิน
200 มก./ล. และสารแขวนลอยไมเกิน 500 มก./ล. จึงจะปลอยไปยังโรงบําบัดชุมชนตอไป สําหรับ ประเทศไทยมี
การรณรงคการรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น โรงงานขนาดใหญบางแหงมี ระบบบําบัดน้ําเสียแลวแตบางโรงงานยังขาด
อยูจึงจําเปนอยางยิ่งที่กระทรวงอุตสาห กรรม และหนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเขาไปดูแลใหมีการบําบัดน้ําเสียกอน
ที่จะปลอย ลงสูแหลงน้ําสาธารณะ โดยเฉพาะโรงงานผลิตนมและไอศครีม โรงงานฆาสัตว เปนตน ซึ่งน้ําทิ้งจะมี
ปริมาณสารอินทรียแขวนลอยอยูมาก ถาเรานําหนวยลอยตะกอนเบามา ใชในระบบบําบัด จะชวยในการลดปริมาณ
สารแขวนลอยลงไดมากและสําหรับหนวย ลอยตะกอนเบานี้ ระบบการทํางานไมยุงมาก สามารถผลิตไดในประเทศ
ไทยหลังจากนั้น จึงจะเขาสูการบําบัดขั้นที่ 2 ซึ่งสวนใหญเปนการบําบัดโดยใชวิธีทางชีววิทยาตอไป เพื่อ ใหไดน้ําที่
มีคุณภาพดีขึ้นทําใหสภาวะแวดลอมดีขึ้นในอนาคต

แปลและเรียบเรียงจาก
Nopadon Sundarabhaya, P.E., Industrial Wastewater Pretreatment, Vermont Environmental Protection
Agency, U.S.A.

BACK

This document was last modified on

http://202.28.17.1/article/atc41/atc00214.html 1/8/2549

You might also like