You are on page 1of 8

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39 79

สาขาวิทยาศาสตร

การผลิตเยือ่ ทีม่ แี อลฟาเซลลูโลสสูง และไซโลสจากชานออยโดยวิธรี ะเบิดดวยไอนํา้


Production of high alpha-cellulose pulp and xylose from bagasse by steam explosion
วิทยา ปน สุวรรณ1,2 ศิริพร เสนียทุ ธ2 เสาวภาคย สาริมาน2 และ กุลธิดา อินทรัต2
Vittaya Punsuvon1,2, Siripron Saeneeyuth2, Saowapark Sariman2 ,and Kuntida Intarat2

บทคัดยอ
ไดศกึ ษาการแยกองคประกอบทางเคมีของชานออย คือ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน โดยใช
ปฏิกริ ยิ า 2 ปฏิกิริยา คือ ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสดวยสารละลายกรดเจือจางแลวตามดวยปฏิกิริยาการกําจัดลิกนิน
ดวยสารละลายเบสปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสเกิดขึ้นโดยกระบวนการระเบิดดวยไอนํ้า นําชานออยที่แชในสารละลาย
กรดซัลฟุริกเจือจาง เปนเวลา 1 คืน ไประเบิดดวยไอนํ้าทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 190°C เปนเวลานาน 4 นาที ชานออยทีไ่ ด
จากการระเบิดดวยไอนํ้า ถูกนําไปลางในนํ้ารอน เพื่อใหไดสารละลายเฮมิเซลลูโลส เยื่อชานออยที่ลางดวยนํ้า
รอนแลว ถูกนําไปกําจัดเอาลิกนินออกโดยตมดวยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดเขมขน 20% ทีอ่ ณ ุ หภูมิ
160°C เปนเวลา 120 นาที ผลการทดลองพบวาผลการคืนกลับของไซโลส และ เยื่อแอลฟาเซลลูโลสสูงมีคาเทา
กับ 83% และ 30% เทียบกับชานออยวัตถุดิบ เยือ่ ชานออยทีไ่ ดภายหลังการกําจัดลิกนินถูกนําไปฟอกขาว 2
ครั้งดวยไฮโดรเจนเปอรออกไซดเพื่อผลิตเยื่อที่มีแอลฟาเซลลูโลสสูง

ABSTRACT
The fractionation of chemical components; cellulose, hemicellulose, and lignin of bagasse was
studied by using two reactions based on hydrolysisต ร ์ reaction with dilute acid solution followed by alkali
า ส
delignification. The hydrolysis reaction
ษตรศwas performed by steam explosion. Bagasse which soaking in
dilute sulphuric acid for one night
ล ย
ั เก was steamed at temperature 190°C for 4 minutes. The steamed
bagasse was washed withิทhot
ว ยา water to yield hemicellulose solution. The washed fiber was delignified by
sodium hydroxide 20% ม หาat 160°C for 120 minutes. The delignified pulp was bleached two times with

ิ ัลto produce high alpha cellulose pulp. The result showed that the percent recovery of
hydrogen peroxide จ

มรู้ด alpha cellulose pulp is 83% and 30% base on bagasse raw material. Raw material. The
xylose andวาhigh

คลัง pulp was bleached two times with hydrogen peroxide to produce high alpha cellulose pulp.
delignified
Keyword: alphacellulose, xylose, bagasse, steam explosion

1! ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


Department of chemistry, Faculty of science,Kasetsart University
2 สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900
โทร./โทรสาร. 942-8599, 942-8600-3 ตอ. 703,708.
Kapi,Kasetsart University Tel./Fax.9428599,9428600-3 Ext.703,708
V.punsuvon : fscivit@nontri.ku.ac.th
80 การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39
สาขาวิทยาศาสตร

คํานํา
ชานออย(Bagasse) ตามปกติจะถูกเผาไหมเปนเชื้อเพลิงในการระเหยนํ้าของกระบวนการตกผลึกนํ้า
ตาลในโรงงานนําตาล
้ แตอยางไรก็ตามก็ยงั เหลือชานออยอยูใ นปริมาณทีม่ าก ดังนั้นจึงมีการคนหาวิธีที่จะนํา
ชานออยนี้ไปเพิ่มมูลคาใหมากขึ้น นอกจากการใชเปนวัตถุดิบในการผลิตเยื่อกระดาษและผลิตภัณฑแผนไม
ประกอบแลว โดยใชกระบวนการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งกระบวนการหนึ่งที่ไดนํามาพัฒนาเพื่อผลิตสารมูล
คาเพิ่มจาก ชานออย คือ กระบวนการระเบิดดวยไอนํ้า (Steam Explosion)
กระบวนการระเบิดดวยไอนํ้าเปนกระบวนการที่ใชในการแยกองคประกอบที่สําคัญ 3 ชนิด ทีป่ ระกอบ
อยูใ นพืชหรือในวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตรคือ ลิกนิน เซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส ใหแยกออกจากกัน แลวนํา
แตละองคประกอบไปใชประโยชนในการผลิตสารเคมีมูลคาเพิ่ม ดังตัวอยาง เชน เฮมิเซลลูโลส ซึ่งมีนํ้าตาล
ไซโลส เปนองคประกอบหลักจะนําไปผลิตเปนนําตาลไซลิ
้ ทอล (Xylitol) ใชในอุตสาหกรรมอาหารลิกนิน ทีไ่ ด
จากการแยกดวยการระเบิดดวยไอนํ้า ก็สามารถนําไปเปนสวนประกอบของสารเคมีในการผลิต กาวไม (Wood
Adhesive) (Gravitis,1998) และองคประกอบสุดทาย คือ เซลลูโลสบริสุทธิ์จะนําไปผลิตพวกอนุพันธของ
เซลลูโลส(Cellulose Derivative) เชน คารบอกซีเมททิล เซลลูโลส (CMC) เปนตน ฯลฯ ซึง่ นําไปใชในอุตสาหกรรม
สิง่ ทอ (Ibrahim, 1996)
กระบวนการระเบิดดวยไอนํามี ้ หลักการวาจะใชไอนําที
้ อ่ ณ
ุ หภูมิและความดันสูงโดยปกติ จะใชอุณหภูมิ
ในชวงระหวาง 180 - 210°C ระยะเวลาในการระเบิดนานไมเกิน 10 นาที ซึง่ ปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึ้นคือ ปฏิกิริยา
ไฮโดรไลซิสของไอนํา้ โดยไอนําจะไปละลายส
้ วนของเฮมิเซลลูโลสออกมาสวนองคประกอบที่เหลือ คือ ลิกนิน
และเซลลูโลสจะนําไปแยกออกจากกันภายหลังโดยใชสารละลายเบสที่สามารถละลายลิกนินไดแตไมละลาย

เซลลูโลสจากการทดลองของ Martinez พบวาตรสภาวะของปฏิ กริ ยิ าไฮโดรไลซิส จะเกิดไดดขี นึ้ เมือ่ มีการแชชาน

ออยลงในสารละลายกรดอนินทรียเ จือจางรศกาอนจะทําการระเบิดดวยไอนํา้ และระเบิดที่อุณหภูมิสูง แตชวงระยะ

เวลาในการระเบิดสัน้ ไมเกิน 4 นาทีเกษเพราะการระเบิดทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู จะทําใหเฮมิเซลลูโลสละลายไดดีขน้ึ ในขณะ


ยาล ดสัน้ ก็จะชวยลดการแตกตัวของโมเลกุลของเซลลูโลสดวย (Martinez, 1995)
เดียวกันการใชระยะเวลาในการระเบิ
ว ิท

วั ต ถุ ป ระสงคมขหองงานวิ จั ย นี้ ก็คือพิจารณาความเปนไปไดหรือไมไดในการแยกองคประกอบเคมีที่

ิ ัลอยใหแยกออกจากกัน โดยใชกระบวนการระเบิดดวยไอนํ้า ตามดวยการแยกลิกนินดวย
ประกอบอยูในชานอ จ

รู้ด และการฟอกขาวเยื่อดวยสารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซดเพื่อใหไดเยื่อที่มีแอลฟาเซลลูโลส
สารละลายเบส
ว า ม

ั ค
คล
สูงตามต องการ

อุปกรณและวิธีการ
วัตถุดบิ การทดลอง
ตัวอยางชานออยภายหลังทีโ่ รงงานนํ้าตาลไดบีบเอานํ้าตาลออกไปแลวถูกนํามาใชเปนตัวอยางวัตถุดิบ
โดยนํามาวิเคราะหองคประกอบทางเคมีไดดงั นีค้ อื ปริมาณเถา 2.76% ปริมาณสารแทรกที่ละลายในเอทานอล
เบนซิน 2.93% ปริมาณเพนโตแซน 29.12% ปริมาณลิกนิน 21.85% ปริมาณโฮโลเซลลูโลส 66.38% ปริมาณ
แอลฟาเซลลูโลส 65.42% นอกจากนีย้ งั วิเคราะหองคประกอบของนํ้าตาลโมโนแซดคาไรด ที่ประกอบอยูในชาน
ออยพบวามีคาดังนี้คือ ปริมาณกลูโคส 29.67 % ปริมาณไซโลส 11.70% ปริมาณแมนโนส 3.02% ปริมาณ
อะราบิโนส 1.79% เทียบกับนํ้าหนักชานออยทีแ่ หง การแยกองคประกอบของเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิก
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39 81
สาขาวิทยาศาสตร

นิน ทดลองดัง Figure 1 โดยใชชานออยแหงหนัก 150 g แชในสารละลายกรดซัลฟุริกความเขมขนตาง ๆ กัน


0.1, 0.2, 0.3, 0.4, 0.5, 0.8, 1.0 และ 2.0 % ตามลําดับ เทียบกับนํ้าหนักแหงของชานออย เปนเวลาหนึ่งคืน
หลังจากนี้จะนําชานออยที่แชกรดเขาระเบิดดวยไอนํ้าในเครื่องระเบิดดวยไอนํ้าขนาดความจุ 2.5 ลิตร เปนเวลา
นาน 4 นาที ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 190°C เยื่อที่ไดภายหลังการระเบิดนําไปลางดวยนํ้ารอนทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 80°C เปนเวลา
นาน 15 นาที โดยใชอัตราสวนเยื่อตอนํ้าเทากับ 1: 10 โดยนํ้าหนัก เพื่อละลายเอาสวนของเฮมิเซลลูโลสออก
จากเยื่อ และสารละลายเฮมิเซลลูโลสที่ไดนี้จะนําไปวิเคราะหองคประกอบของนํ้าตาลโมโนแซคคาไรดโดยใช
เครือ่ งมือวิเคราะห High Performance Liquid Chromatography (HPLC) สวนเยื่อที่ไดหลังจากลางนํ้ารอนจะ
นําไปวิเคราะหองคประกอบทางเคมีตา ง ๆ และอีกสวนหนึ่งจะแบงไปกําจัดลิกนินออกโดยนําไปตมดวยโซเดียม
ไฮดรอกไซดเขมขน 20 % เทียบกับนํ้าหนักเยือ่ แหงทีอ่ ณ ุ หภูมิ 160°C ระยะเวลานาน 2 ชั่วโมง โดยใชอัตรา
สวนเยือ่ ตอนํ้าเทากับ 1 :10 โดยนํ้าหนัก เยื่อที่ไดภายหลังจากการตมจะนําไปลางดวยนํ้าหลาย ๆ ครั้งจนนํ้าที่
ลางไมมีสี แลวแบงเยื่อสวนหนึ่งไปวิเคราะหคาองคประกอบทางเคมีตาง ๆ และอีกสวนหนึ่งนําไปฟอกขาวดวย
สารละลายไฮโดรเจนเปอรออกไซด 2 ครัง้ ดังรายละเอียดของสภาวะการฟอกดังนี้คือ ความเขมขน H2O2 4%,
NaOH 1.5%, Na2SiO3 2% เทียบกับนํ้าหนักเยือ่ แหง และอัตราสวนโดยนํ้าหนักของเยือ่ : นํ้า เทากับ 1:10
โดยใชอุณหภูมิในการฟอกขาวที่ 90°C และระยะเวลาในการฟอกครั้งแรก ใช 120 นาที สวนครั้งที่สองใช 90
นาที และมีความเขมขนของสารเคมีตาง ๆ ในการฟอกเชนเดียวกับการฟอกครั้งแรกตามลําดับ เยือ่ ทีไ่ ดหลัง
จากการฟอกขาวนําไปวิเคราะหหาองคประกอบเคมี
Hot water at
H2SO4 Steam at 190°C 80°C NaOH water

ต ร ์
Soaking
าส Pulping Two times High alpha
ตรศ
Washed
in Exploded Washed with bleaching with cellulose
H2SO4 with เก
with hotษ NaOH
with
H2O2 pulp
steam าลัย
water
water
ิาวทย
มห
Bagasse
ิทัล Xylose Black

า มรู้ดิจ solution liquor



ลังค
Figureค 1 Flow diagram of the fractionation of bagasse

การวิเคราะหผลการทดลอง
องคประกอบเคมีตาง ๆ ของชานออยที่ใชเปนวัตถุดิบ เยื่อชานออยที่ไดภายหลังการระเบิดดวยไอนํ้า
เยื่อชานออยที่ไดภายหลังการตมดวยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด และเยื่อชานออยที่ไดภายหลังการฟอก
ขาว จะถูกนํามาวิเคราะหตามวิธีการมาตรฐานของ The Technical Association of the Pulp and Paper
Industry (TAPPI) ดังนีค้ อื เถา (Ash) วิเคราะหตาม TAPPI T211 om-93, สารแทรก (Extractive) ที่ละลายใน
เอทานอล-เบนซิน วิเคราะหตาม TAPPI 204 om-97, เพนโตแซน (Pentosan) วิเคราะหตาม TAPPI 223 om-
84, ลิกนินในรูปของคาสัน(Klason) ลิกนินวิเคราะหตาม TAPPI T222 om-98, โฮโลเซลลูโลส (Holocellulose)
วิเคราะหตามวิธีของ Browing ใน Method of Wood Chemistry แอลฟาเซลลูโลส (Alphacellulose) วิเคราะห
82 การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39
สาขาวิทยาศาสตร

ตาม TAPPI T-203 OS-74 และการวิเคราะหนํ้าตาลโมโนแซคคาไรดในชานออย และในสารละลายเฮมิ


เซลลูโลส วิเคราะหดวยเครื่อง HPLC ตามวิธีการของ Daniel Montane และคณะ (Daniel, 1997)

ผลและวิจารณ
Figure 2 แสดงโครมาโตแกรมของ ในสารละลายเฮมิเซลลูโลส ซึ่งวิเคราะหโดย HPLC และในTableที่
1 แสดงถึงปริมาณโมโนแซคคาไรดแตละชนิดโดยคํานวณจากการเปรียบเทียบพื้นที่ยอดของนํ้าตาลโมโนแซค
คาไรดแตละชนิด กับพื้นที่ยอดของอิโนซิทอล (Inositol) ทีใ่ ชเปนสารละลายมาตรฐาน จาก Figure 2 และ
Table 1 พบวาสภาวะที่เหมาะสมในการระเบิดดวยไอนํ้าที่ไดปริมาณไซโลสสูงสุดคือ การแชชานออยในสาร
ละลายกรดซัลฟุริกเขมขน 0.4 % เปนเวลาหนึ่งคืนแลวระเบิดดวยไอนํ้าทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 190°C นาน 4 นาที ผลการ
ทดลองนี้แสดงวาสารละลายกรดที่เจือจางชวยเพิ่มปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเฮมิเซลลูโลสใหแตกตัวเปนนํ้าตาล
ไซโลสดีขึ้น โดยพบวาคาเปอรเซนตคืนกลับ (% Recovery) ของนํ้าตาลไซโลสที่แชกรด ซัลฟวริกเขมขน 0.4%
จะมีคาถึง 83.30%

0.1% H2SO4

0.2% H2SO4

ต ร ์ 0.3% H2SO4
าส
ษตรศ xylose
ลัยเก

TIC ิทย
glucose
าว
ม ห 0.4% H2SO4
ิจ ทิ ัล
า ม รู้ด arabinoseo 0.5% H2SO4
คัลงคว
0.8% H2SO4

1.0% H2SO4

2.0% H2SO4

Time
Figure 2 Chromatogram of hemicellulose solution as treated by soaking bagasse in
H2SO4 and exploded by steam at 190°C , 4 min
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39 83
สาขาวิทยาศาสตร

Table 1 Amount of monosaccharides in hemicellulose solution which soaking bagasse 150 g in H2SO4
Concentration Glucose Xylose Arabinose Percent Recovery
Of H2SO4(%) (g) (g) (g) of Xylose (%)
0.1 0.54 5.42 0.60 30.88
0.2 0.90 8.60 0.89 49.00
0.3 1.70 13.39 14.75 76.29
0.4 2.31 14.62 1.54 83.30
0.5 2.55 12.05 1.45 68.66
0.8 3.03 9.28 1.02 52.88
1.0 2.90 6.50 10.6 37.04

เยื่อที่ไดภายหลังการระเบิดดวยไอนํ้านําไปลางนํ้ารอนแลวนําเยื่อไปตมดวยโซเดียมไฮดรอกไซดเขม
ขน 20% เทียบกับนํ้ าหนักเยื่อแหงตอ ไดผลขององคประกอบเคมีในเยื่อดังแสดงใน Table 2 และ Figure 3

Table 2 Chemical composition of bagasse raw material,bagasse pulp after steam explosion and after
delignification by NaOH

ตร์
% After Steam
Composition % in raw material % After Delignification
ศาส Explosion
Percent yield1 ษ- ตร 60.34 21.02
Ash ล ย
ั เก2.76 1.79 1.29

Pentosan ิา ทย 29.12
ว 2.97 1.19

Lignin ัิทล ม 21.85 19.91 2.88
Holocellulose รู้ดิจ 66.38 71.11 95.56

ควา
Alpha-cellulose 65.42 78.54 94.37
คลัง
1
compared with raw material
84 การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39
สาขาวิทยาศาสตร

100

80
% in raw material
percent (%) 60 % after steam explosion
% after delinification
40

20

0
ash pentosan lignin holocellulose alphacellulose

Composition

Figure 3 The relationship of chemical compound in bagasse raw material ;bagasse pulp after steam
explosion and after delignification

จาก Table 2 และ Figure 3 พบวา เยื่อที่ไดภายหลังการระเบิดดวยไอนํ้ามีคาเปอรเซนตผลไดสูงถึง


60% แตเมื่อนําไปกําจัดเอาลิกนินออกดวย NaOH คาเปอรเซนตผลไดลดเหลือ 21.02% ซึง่ เปนสภาวะที่
รุนแรงเกินไปจึงทําใหเปอรเซนตผลไดมีคาตํ่า และเมื่อพิจารณาแนวโนมของเถา, เพนโตแซน, ลิกนิน ของเยือ่
ภายหลังการระเบิดดวยไอนํ้าและเยื่อที่ตม NaOH ต ร ์ จะมีแนวโนมสูงขึ้นตามลําดับ เยื่อที่ไดภายหลังการตมดวย

NaOH ถูกนําไปฟอกขาวตออีก 2 ครัง้ ตโดยใชรศา ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (H2O2) แลวนําเยื่อภายหลังการฟอกขาว
มาวิเคราะหหาองคประกอบทางเคมี เัย กดษังแสดงใน Table 3
าล
วา ิทย
มห
Table 3 Chemical composition
ัล
of bagasse pulp after two stage bleaching with 4% H2O2
ูร้ดจิ ิท
ม yield1
Compositions Percent (%)
ว า
Percent 19.87
คลังค Ash 1.19
Pentosan 0.93
Lignin 1.02
Holocellulose 98.49
Alphacellulose 97.49
1
compared with raw material
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39 85
สาขาวิทยาศาสตร

จาก Table 3 พบวาคาเปอรเซนตผลไดของเยือ่ ภายหลังการฟอกมีคา 19.87% ซึง่ เมือ่ คิดเทียบหา


เปอรเซนตคืนกลับ(% Recovery) ของแอลฟาเซลลูโลสที่มีในชานออยวัตถุดิบจะไดคาเปอรเซนตคืนกลับคิด
เปน 30.37% และคุณสมบัตทิ างเคมีอน่ื ๆ ของเยือ่ ทีไ่ ดภายหลังการฟอกขาวเทียบกับคุณสมบัตเิ ยือ่ แอลฟา
เซลลูโลส มาตรฐานที่ใชในอุตสาหกรรมพบวา ปริมาณโฮโลเซลลูโลส และปริมาณแอลฟาเซลลูโลสของเยื่อที่
ไดจากการทดลองสูงกวาเยือ่ มาตรฐาน (คาแอลฟาเซลลูโลสมากกวา 95.6%) ปริมาณเพนโตแซนของเยื่อที่ได
จากการทดลองตํ่ากวาเยื่อมาตรฐาน (คาเพนโตแซน < 2.1%) แตขอ เสียของเยือ่ ทีไ่ ดจากการทดลองนีค้ อื มีคา
ปริมาณเถาสูง ซึ่งปกติเยื่อมาตรฐานจะมีปริมาณเถานอยกวา 0.08% ดังนั้นในการฟอกขาวเยื่อ ถาฟอกดวย
ไฮโดรเจนเปอรออกไซด 2 ครั้ง จะไมสามารถลดปริมาณเถาใหตํ่าเทาปริมาณเถาในเยื่อมาตรฐานไดดังนั้นใน
การฟอกขาวนอกจากจะใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดฟอกขาวแลวควรใชสารฟอกขาวชนิดอืน่ เชนพวก โซเดียม
คลอไรต (NaClO2) ชวยในการฟอกขาวดวย
สรุป
การระเบิดดวยไอนํ้า โดยแชชานออยในกรดซัลฟุริก เขมขน 0.4% เปนเวลา 1 คืน แลวระเบิดดวย
ไอนํ้าทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 190°C นาน 4 นาที สามารถไดเปอรเซนตคืนกลับของไซโลสเทากับ 83% ซึ่งเปนเปอรเซนต
ทีส่ งู แต เปอรเซนตคืนกลับของเยื่อที่มีแอลฟาเซลลูโลสสูงกลับตํ่า คือมีคา เทากับ 30% ทั้งนี้เพราะในการ
ทดลองใชปฏิกิริยาการกํ าจัดลิกนินออกดวยสารละลายเบสที่มีความเขมขนสูงและสภาวะในการกํ าจัดก็ใช
อุณหภูมิและความดันสูง จึงมีความเปนไปไดนอย ดังนั้นถาจะทําใหเทคนิคการระเบิดดวยไอนํ้าในการผลิตเยื่อ
ที่มีแอลฟาเซลลูโลสสูงจากชานออยนี้มีความเปนไปไดจะตองเพิ่มความดัน ของไอนําที ้ อ่ ณ
ุ หภูมิ 190°C ใน
ขณะที่ระเบิดชานออย ใหสูงขึ้นจนไดชานออยภายหลังการระเบิดเปนเยื่อหมด แลวนําเยือ่ ทีไ่ ดนไ้ี ปกําจัดเอาลิก
นินออกโดยใชสารละลายเบสที่มีความเขมขนนอร์ยกวา 20% และใชอณ ุ หภูมทิ ่ี 100°C ความดันบรรยากาศแทน

ส เซนตคืนกลับสูงขึ้นรวมทั้งใชสารฟอกขาวเชน NaClO2 รวม
ซึง่ นาจะไดเยื่อที่มีแอลฟาเซลลูโลสสูงที่มรีคศาาเปอร

ัย กษ
กับ H2O2 ในการฟอกขาวเพื่อเพิ่มเความขาวและช วยลดปริมาณเถาใหตํ่าลงดวย
าล
ิาวทย เอกสารอางอิง

Daniel Montae, Joan ัิทล ม Salvato and Xavier Farriol. 1997. Fractionation of wheat straw – Explosion
ม ร ู้ดิจ Characteristics of the lignin obtained by alkali delignification of the steamed
Pretreatment
ว า Holz forsehung, 51, 135-141.
straw.

คลัง A.A., A.Nada, U.Hagemann and O.A. Elseond. 1996. Preparation of Dissolving Pulp from
Ibrahim
sugar cane bagasse and its acetylation under homogeneous solution condition.
Holzforschung, 50, 221-225.
Gravitis, J., C.K. Suzuki, J. Zandersons, and O, Bikovens. 1998. Sugar cane bagasse utilization into
fiber materials and value-added chemicals by steam explosion with the zero emissions target.
Biomass & Bioenergy, 14, 219-225.
Martinez.J.M., J.M. Granado, D.Montane J. Salvado and X. Farriol. 1995. Fractionation of residual
lignocellulosics by dilute acid prehydrolysis and alkaline extraction. Application to almond
shells. Rioresource Technology, 52, 59-67.
86 การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 39
สาขาวิทยาศาสตร

F.Ali and C.N. Saikia. 1997. Evaluation of Hibiscus sabdariffa and Gmetina arborea as Raw materials
for Production of High-cellulose Pulp. Journal of Seieutific & Industrial Risearch. 56, 618-626.
Hu Hui - ren, shi shu-lan, wei De – jin and He Qiu – Shi. 1996. Production of Dissolving Pulps with
wheat straws. Proceedings in third international non – wood fiber pulping and papermaking
conference, 1, 212 – 221.
TAPPI Test method. 1996.

ต ร ์
าส
ษตรศ
ัย เก
าล
ิาวทย
มห
ิจ ิทัล
า ม รู้ด
คัลงคว

You might also like