You are on page 1of 24

1

เตรียมความพร้อมก่อนเข้าทาโครงงาน

รอบ A และ B สัปดาห์ที่ 2 ของ เดือนธันวาคม 2564 จนถึง สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม 2565
ตั้งแต่ วันพุธ ที่ 5 มกราคม 2565 ถึง วันจันทร์ ที่ 24 มกราคม 2565

5-01-65 ตรวจสอบอุปกรณ์ และสารเคมี เรียนรู้การใช้เครื่องสเปกโตรโฟโตเมตรี


เบิกน้ากลั่นที่ห้องเป่าแก้ว
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. เครื่องยูว-ี วิสิเบิล สเปกโตรโฟโตมิเตอร์
2. กระดาษกรอง Whatman เบอร์ 1
3. pH meter

ลาดับ รายการ ขนาด (mL) จานวน


1 ขวดปรับปริมาตร 10 2
50 10
250 4
2 บีกเกอร์ 50 5
100 3
250 2
3 ปิเปต 1.5 1
3 1
10 1
4 กระบอกตวง 25 1
500 1
5 ลูกยาง 2
6 ช้อนตักสาร 3
7 กรวยกรอง 1
8 กรวยแยก 1
จบวันที่ 1
2

6-01-65 การสกัดสารสีจากกะหล่าปลีม่วง 2 วิธี


วิธีที่ 1 การเตรียมสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง
1. ล้างกะหล่าปลีม่วงให้สะอาดด้วยน้าปราศจากไอออน
2. ชั่งกะหล่าปลีม่วง 25 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์
3. เติมเอทานอลลงไป 500 มิลลิลิตร (1%HCL in ethanol)
4. แช่ทิ้งไว้เป็นเวลา 1 นาที แล้วกรองสารสกัดที่ได้
5. เก็บสารสกัดไว้ในตู้เย็น

วิธีที่ 2 การเตรียมสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง
1. ล้างกะหล่าปลีม่วงให้สะอาดด้วยน้าปราศจากไอออน
2. ชั่งกะหล่าปลีม่วงมา 200 กรัม ใส่ลงในบีเกอร์
3. เติมเอทานอลลงไป 400 มิลลิลิตร
4. แช่ทิ้งไว้ในตู้เย็น 72 ชั่วโมง
5. กรองสารสกัดที่ได้
6. นาสารสกัดที่ได้ใส่ในกรวยแยก จากนั้นเติมเอทานอล 100 มิลลิลิตร และเติม
คลอโรฟอร์ม 50 มิลลิลิตร
7. เขย่าให้เข้ากัน แล้วไขชั้นคลอโรฟอร์มทิ้งไป
8. เก็บสารไว้ในตู้เย็น

** นาสารสกัดที่ได้ทั้ง 2 วิธีไปวัดค่าการดูดกลืนแสง
3

6-01-65 เตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 6 (1L)

คานวณน้าหนักเพื่อใช้เตรียมสารละลายมาตรฐาน 1000 ppm Pb ปริมาตร 1 L จาก Pb(NO3)2


(331.21 g/mol)
เตรียมสารละลาย 1000 ppm = 1000 mg/L
1L = 1000mg
1L =1g
ต้องการ 100 mL ต้องใช้ Pb 100 mg = 0.1 g

วิธีคิด Pb(NO3)2 331.21 g มี Pb อยู่เท่ากับ 207.20 g


(𝟑𝟑𝟏.𝟐𝟏𝒈)(𝟎.𝟏𝒈)
ต้องการ Pb 0.1 g จะใช้ Pb(NO3)2 331.21 g = 𝟐𝟎𝟕.𝟐𝟎 𝒈
= 0.15985 g

จบวันที่ 2
4

7-01-65 เรื่อง ศึกษาสเปกตรัมของสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงด้วยเครื่องยูว-ี วิสิเบิล สเปกโตรโฟโต


มิเตอร์
การเตรียมสาร
1. เตรียมสารละลายมาตรฐานตะกั่วจากสต็อก 1000 ppm เตรียมความเข้มข้นละ 100
มล. ที่ความเข้มข้น 10, 30, 50, 100 ppm
ชั่ง Pb(NO3)2 (AR grade) 0.1598 กรัม โดยใช้สารละลายกรดไนตริก (HNO3)
ความเข้มข้น 0.1 M เป็นตัวทาละลาย ปรับปริมาตรด้วยน้า DI จนครบ 100 มล.
ความเข้มข้น (ppm) คานวณ ปริมาตรที่ใช้ (ml)
10 C1V1 = C2V2 1.0
V1 = 10(100) /1000
30 C1V1 = C2V2 3.0
V1 = 30(100) /1000
50 C1V1 = C2V2 5.0
V1 = 50(100) /1000
100 C1V1 = C2V2 10.0
V1 = 100(100) /1000

สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 10 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 80 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 1 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความเข้มข้น 10 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงวิธีที่ 1 ปริมาตร 10 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 100 มิลลิลติ ร
สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 30 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 80 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 3 mLเพื่อเตรียมให้ได้ความเข้มข้น 30 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงวิธีที่ 1 ปริมาตร 10 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 100 มิลลิลติ ร
สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 50 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 80 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 5 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความเข้มข้น 50 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงวิธีที่ 1 ปริมาตร 10 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 100 มิลลิลติ ร
5

สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 100 ppm


1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 80 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 10 mL เพือ่ เตรียมให้ได้ความเข้มข้น 100 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงวิธีที่ 1 ปริมาตร 10 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 100 มิลลิลติ ร

7-01-65 การทดลอง
ตอนที่ 1.1 ศึกษาสเปกตรัมของสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง
วัดค่าการดูดกลืนแสงของสารสกัดในช่วงความยาวคลื่น 200-800 nm โดยใช้แบลงค์เป็นน้า,
เอทานอล บันทึกค่าการดูดกลืนแสง
1. กลั้วคิวเวทท์ด้วยสารสกัดที่สกัดได้จากวิธีที่ 1 (2-3 ครั้ง)
2. บรรจุสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงลงในคิวเวทท์ แล้วนาไปตรวจวัด
3. บรรจุน้ากลั่นลงในคิวเวทท์ที่ใช้เป็นแบลงค์
4. ใส่คิวเวทท์ที่มสี ารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงลงในช่องใส่คิวเวทท์ อ่านค่าการดูดกลืนแสง
และบันทึกผลไว้ ทาซ้า 3 ครั้ง บันทึกค่าสเปกตรัม และ max
5. ทาการทดลองเช่นเดิม แต่เปลี่ยนแบลงค์เป็นเอทานอล

ตอนที่ 1.2 ศึกษาสเปกตรัมของสารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว


วัดค่าการดูดกลืนแสงของสารสกัดในช่วงความยาวคลื่น 200-800 nm โดยใช้แบลงค์เป็น นา้ ,
เอทานอล, และสารประกอบเชิงซ้อน + บัฟเฟอร์ บันทึกค่าการดูดกลืนแสง
1. กลั้วคิวเวทท์ด้วยสารละลายของ บัฟเฟอร์ 5.0 mL, สารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง 10 mL,
สารมาตรฐานตะกั่วความเข้มข้น 10 ppm (2-3 ครั้ง)
2. บรรจุสารละลายข้อ (1) ลงในคิวเวทท์ เพื่อนาไปตรวจวัด
3. บรรจุน้ากลั่นลงในคิวเวทท์ที่ใช้เป็นแบลงค์
4. นาคิวเวทท์ทั้งสองลงในช่องใส่คิวเวทท์ อ่านค่าการดูดกลืนแสง และบันทึกผลไว้ ทาซ้า
3 ครั้ง บันทึกค่าสเปกตรัม และ max
5. กลั้วคิวเวทท์ด้วยสารละลายของ บัฟเฟอร์ 5.0 mL, สารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง 10 mL,
สารมาตรฐานตะกั่วความเข้มข้น 30 ppm (2-3 ครั้ง)
6. บรรจุสารละลายข้อ (1) ลงในคิวเวทท์ เพื่อนาไปตรวจวัด
7. บรรจุเอทานอลลงในคิวเวทท์ที่ใช้เป็นแบลงค์
8. นาคิวเวทท์ทั้งสองลงในช่องใส่คิวเวทท์ อ่านค่าการดูดกลืนแสง และบันทึกผลไว้ ทาซ้า3
ครั้ง บันทึกค่าสเปกตรัมและ max
6

9. กลั้วคิวเวทท์ด้วยสารละลายของ บัฟเฟอร์ 5.0 mL, สารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง 10 mL,


สารมาตรฐานตะกั่วความเข้มข้น 50 ppm (2-3 ครั้ง)
10. บรรจุสารละลายข้อ (1) ลงในคิวเวทท์ เพื่อนาไปตรวจวัด
11. บรรจสุารละลายเชิงซ้อน+บัฟเฟอร์ลงในควิเวทท์ที่ใช้เป็นแบลงค์
12. นาคิวเวทท์ทั้งสองลงในช่องใส่คิวเวทท์ อ่านค่าการดูดกลืนแสง และบันทึกผลไว้ ทาซ้า 3
ครั้ง บันทึกค่าสเปกตรัมและ max
13. กล้ัวคิวเวทท์ด้วยสารละลายของ บัฟเฟอร์ 5.0 mL, สารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง 10 mL,
สารมาตรฐานตะก่ัวความเข้มข้น 100 ppm (2-3 คร้ัง)
14. บรรจุสารละลายข้อ (1) ลงในคิวเวทท์ เพื่อนาไปตรวจวัด
15. บรรจสุารละลายเชิงซ้อน+บัฟเฟอร์ลงในควิเวทท์ที่ใช้เป็นแบลงค์
16. นาคิวเวทท์ทั้งสองลงในช่องใส่คิวเวทท์ อ่านค่าการดูดกลืนแสง และบันทึกผลไว้ ทาซ้า 3
ครั้ง บันทึกค่าสเปกตรัม และ max
7

ตารางบันทึกผลการทดลอง

ความเข้มข้นสารละลายตะกั่ว ค่าการดูดกลืนแสง (nm)


สารตัวอย่าง แบลงค์
(ppm) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
สารสกัดจากกะหล่าปลี
น ้า -
ม่วง
สารสกัดจากกะหล่าปลี
เอทานอล -
ม่วง
0
สารสกัดจากกะหล่าปลี 10
+ สารละลายตะกั่ว น ้า 30
+ บัฟเฟอร์ 50
100
0
สารสกัดจากกะหล่าปลี 10
+ สารละลายตะกั่ว เอทานอล 30
+บัฟเฟอร์ 50
100
0
สารสกัดจากกะหล่าปลี 10
สารเชิงซ้อน 30
+ สารละลายตะกั่ว
+ บัฟเฟอร์
+บัฟเฟอร์ 50
100
10
น้า
สารสกัดจากกะหล่าปลี 50
+ สารละลายตะกั่ว 10
เอทานอล
50
8

เตรียมสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง (ใช้ในวันที่10-11 มกราคม)


1. ล้างกะหล่าปลีม่วงให้สะอาดด้วยน้าปราศจากไอออน
2. ชั่งกะหล่าปลีม่วงมา 200 กรัม ใส่ลงในบีเกอร์
3. เติมเอทานอลลงไป 400 มิลลิลิตร
4. แช่ทิ้งไว้ในตู้เย็น 72 ชั่วโมง
5. กรองสารสกัดที่ได้
6. นาสารสกัดที่ได้ใส่ในกรวยแยก จากนั้นเติมเอทานอล 100 มิลลิลิตร และเติม
คลอโรฟอร์ม 50 มิลลิลิตร
7. เขย่าให้เข้ากัน แล้วไขชั้นคลอโรฟอร์มทิ้งไป
8. เก็บสารไว้ในตู้เย็น

เตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 6 (1L) (ใช้ในวันที่ 10-11 มกราคม)

จบวันที่ 3
9

ผลการทดลอง

ที่มา : วรางคณา 2017

ที่มา : เกศินี 2018

สเปกตรัมของสารเชิงซ้อนที่เกิดปฏิกิริยาระหว่างสารสกัดแอนโทไซยานินและเหล็กที่ความเข้มข้นต่างๆ
10

10-01-65 การเตรียมสาร
เตรียมสารละลายมาตรฐานตะกั่วจากสต็อก 1000 ppm เตรียมความเข้มข้นละ 50 มล. ที่
ความเข้มข้น 10, 20, 30, 40, 50 ppm
ศึกษาปริมาตรสารสกัดกะหล่าปลีที่เหมาะสมในการวิเคราะห์หาปริมาณPb(II)
- ศึกษาปริมาตรสารสกัดที่เหมาะโดยการเติม Pb(II) ที่ความเข้มข้น 10, 20, 30, 40 และ50 ppm
ตามลาดับลงไปในขวดวัดปริมาตรขนาด 50 มิลลิลิตร
- เติมสารสกัดปริมาตรที่ต้องการศึกษา (ปริมาตรที่ต้องการศึกษา 1, 3, 5 และ 10 มิลลิลติ ร) ปรับ
ปริมาตรให้ครบ 50 มิลิลิตร
- เตรียมแบลงค์ที่ต้องการศึกษา
- ศึกษาโดยใช้สารละลายบัฟเฟอร์ที่ pH 6 (เตรียมไว้ในวันที่ 7-01-65)

สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 10 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 0.5 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความ
เข้มข้น 10 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 1, 3, 5, 10 mL ตามลาดับ
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 20 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 1.0 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความ
เข้มข้น 20 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 1, 3, 5, 10 mL ตามลาดับ
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 30 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 1.5 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความ
เข้มข้น 30 ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 1, 3, 5, 10 mL ตามลาดับ
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
11

สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 40 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 2.0 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความเข้มข้น 40
ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 1, 3, 5, 10 mL ตามลาดับ
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
สารสกัดที่เติมสารละลายมาตรฐานตะกั่ว 50 ppm
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm มา 2.5 mL เพื่อเตรียมให้ได้ความเข้มข้น 50
ppm
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 1, 3, 5, 10 mL ตามลาดับ
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร

**นาไปวัดค่าการดูดกลืนแสง**
12

ตารางบันทึกผล
ปริมาตรสารสกัด (mL) ความเข้มข้นของสารละลายตะกั่ว ค่าการดูดกลืนแสง (nm)
หมายเหตุ
(ppm) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
0
10
20
1
30
40
50
0
10
20
3
30
40
50
0
10
20
5
30
40
50
0
10
20
10
30
40
50
13

เตรียมบัฟเฟอร์ที่ pH ต่างๆที่ต้องการศึกษา (pH 4, 6, 8, 10) (ใช้ในวันที่ 11-01-65)


14
15
16

จบวันที่ 4
17

11-01-65 เตรียมสารละลายมาตรฐานตะกั่วตามความเข้มข้นที่เหมาะสม
1. ปิเปตสารละลายตะกั่วจาก Stock 1000 ppm ที่ความเข้มข้น 10, 20, 30, 40, 50 ppm
ความเข้มข้นละ 50 มิลลิลิตร
2. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
3. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
4. เตรียมแบลงค์ที่ต้องการศึกษา
5. นาบัฟเฟอร์ที่เตรียมไว้ในวันที่ 10-01-65 มาศึกษา

ศึกษาผลของ pH
เตรียมบัฟเฟอร์ ทีp่ H 4
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ pH 4 ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่วที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
a. ตัวอย่างขวดที่ 1
- ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ pH 4 ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
- ปิเปตสารละลายตะกั่ว 1.0 มิลลิลิตร
- ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง 5 มิลลิลิตร
- ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่น 50 มิลลิลิตร
- ทาแบบเดิมจนครบทั้ง 5 ความเข้มข้นของสารละลายตะกั่วในแต่ละ pH
เตรียมบัฟเฟอร์ ที่pH 6
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ pH 6 ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่ว ที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
เตรียมบัฟเฟอร์ ที่pH 8
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ pH 8 ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่ว ที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร
18

เตรียมบัฟเฟอร์ ที่pH 10
1. ปิเปตสารละลายบัฟเฟอร์ pH 10 ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ลงในขวดปรับปริมาตร
2. ปิเปตสารละลายตะกั่ว ที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
3. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
4. ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่นจนครบ 50 มิลลิลติ ร

เตรียม NaOH กับ HCl ที่ pH 4, 6, 8, 10 เพื่อปรับปริมาตร


1. ปิเปตสารละลายตะกั่วที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
2. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
3. ปรับปริมาตรด้วยน้า ที่ pH 4 จนครบ 30 มิลลิลิตร
เตรียม NaOH กับ HCl ที่ pH 4, 6, 8, 10 เพื่อปรับปริมาตร
1. ปิเปตสารละลายตะกั่วที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
2. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
3. ปรับปริมาตรด้วยน้า ที่ pH 6 จนครบ 30 มิลลิลิตร
เตรียม NaOH กับ HCl ที่ pH 4, 6, 8, 10 เพื่อปรับปริมาตร
1. ปิเปตสารละลายตะกั่วที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
2. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
3. ปรับปริมาตรด้วยน้า ที่ pH 8 จนครบ 30 มิลลิลิตร
เตรียม NaOH กับ HCl ที่ pH 4, 6, 8, 10 เพื่อปรับปริมาตร
1. ปิเปตสารละลายตะกั่วที่ความเข้มข้นต่างๆ มา 1.0, 2.0, 3.0, 4.0, 5.0 mL ตามตาราง
2. ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง ปริมาตร 5 mL
3. ปรับปริมาตรด้วยน้า ที่ pH 10 จนครบ 30 มิลลิลิตร

** นาไปวัดค่าการดูดกลืนแสง **
19

ตารางบันทึกผล

ปรับ pH ความเข้มข้นของสารละลายตะกั่ว ค่าการดูดกลืนแสง (nm) หมาย


pH
โดยใช้ (ppm) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เหตุ
0
10
20
4
30
40
50
0
10
20
6
30
40
50
บัฟเฟอร์
0
10
20
8
30
40
50
0
10
20
10
30
40
50
20

ปรับ pH ความเข้มข้นของสารละลายตะกั่ว ค่าการดูดกลืนแสง (nm)


pH หมายเหตุ
โดยใช้ (ppm) ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
0
10
20
4
30
40
50
0
10
20
6
30
40
50
กรด-เบส
0
10
20
8
30
40
50
0
10
20
10
30
40
50
21

ผลการทดลอง

Laura I. L. Favaro 2018

จบวันที่ 5
22

12-01-65 เตรียมสารสกัดจากกะหล่าปลี (เพื่อใช้ในวันที่ 14-16 มกราคม)


เตรียมสารลาะลายบัฟเฟอร์ (เพื่อใช้ในวันที่ 14-16 มกราคม)
เตรียมสารละลายตะกั่วในช่วงความเข้มข้นทีส่ นใจ 1-15 ความเข้มข้น
จบวันที่ 6

14-01-65 การศึกษาประสิ ทธิภาพของการวิเคราะห์


1. ช่วงความเป็ นเส้นตรงของ Pb (II)
ท าการศึ ก ษาช่ ว งความเป็ นเส้ น ตรงของ Pb (II) โดยการวิ เ คราะห์ ต ะกั่ว ที่ ค วามเข้ม ข้น ต่ า งกัน
ทาการศึกษาตั้งแต่ความเข้มข้นของ Pb (II) 0-100 ppm แล้วนาไปวัดค่าดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 535 nm
จากนั้นพล็อตกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ Pb (II) และการดูดกลืนแสง
2. Limit of detection ของ Pb (II)
การศึกษาหา LOD นาสารละลายBlank ที่เตรี ยมไว้ไปวัดค่าการดูดกลืนแสงทั้งหมด 20 ซ้ า (n=20)
ใช้นิยามคือ 3เท่าของ SD blank /slope
3. Limit of quantification ของ Pb(II)
การศึกษาหา LOQ นาสารละลายBlank ที่เตรี ยมไว้ไปวัดค่าการดูดกลืนแสงทั้งหมด 20 ซ้ า (n=20)
ใช้นิยามคือ 10เท่าของSD blank /slope
4. Precision ของ Pb(II)
การศึกษา Precision ซึ่ งจะศึกษาที่ 2 ความเข้มข้น โดยดูจากช่วงความเป็ นเส้นตรง คือวิเคราะห์ที่ 5
และ 10 ppm ไปวัดค่าดูดกลืนแสงทั้งหมด10ซ้ า (n=10)

จบวันที่ 7

15-01-65 5. Interference study


การศึกษาผลของตัวรบกวน ( Cu 2+, Cr 3+, Zn 2+ )
• เตรี ยมตัวรบกวน Cu (II), Cr (III), Zn (II)
copper(II) nitrate, Cu(NO3)2·3H2O
Chromium(III) chloride
Zinc(II) chloride
23

1. คานวณน้าหนักเพื่อใช้เตรียมสารละลายมาตรฐาน 1000 ppm Cu ปริมาตร 1 L จาก Cu(NO3)2


(187.56 g/mol)
เตรียมสารละลาย 1000 ppm = 1000 mg/L
1L = 1000mg
1L =1g
ต้องการ 100 mL ต้องใช้ Cu 100 mg = 0.1 g
วิธีคิด Cu(NO3)2 187.56 g มี Cu อยู่เท่ากับ 63.546 g
(𝟏𝟖𝟕.𝟓𝟔𝒈)(𝟎.𝟏𝒈)
ต้องการ Cu 0.1 g จะใช้ Cu(NO3)2 187.56 g = 𝟔𝟑.𝟓𝟒𝟔 𝒈
= 0.2952 g

2. คานวณน้าหนักเพื่อใช้เตรียมสารละลายมาตรฐาน 1000 ppm Cr ปริมาตร 1 L จาก CrCl3


(153.36 g/mol)
เตรียมสารละลาย 1000 ppm = 1000 mg/L
1L = 1000mg
1L =1g
ต้องการ 100 mL ต้องใช้ Cr 100 mg = 0.1 g
วิธีคิด CrCl3 158.36 g มี Cr อยู่เท่ากับ 51.996 g
(𝟏𝟓𝟖.𝟑𝟔𝒈)(𝟎.𝟏𝒈)
ต้องการ Cr 0.1 g จะใช้ CrCl3 158.36 g = 𝟓𝟏.𝟗𝟗𝟔 𝒈
= 0.3046 g

3. คานวณน้าหนักเพื่อใช้เตรียมสารละลายมาตรฐาน 1000 ppm Zn ปริมาตร 1 L จาก ZnCl3


(136.28 g/mol)
เตรียมสารละลาย 1000 ppm = 1000 mg/L
1L = 1000mg
1L =1g
ต้องการ 100 mL ต้องใช้ Zn 100 mg = 0.1 g
วิธีคิด ZnCl3 136.28 g มี Zn อยู่เท่ากับ 65.38 g
(𝟏𝟑𝟔.𝟐𝟖𝒈)(𝟎.𝟏𝒈)
ต้องการ Zn 0.1 g จะใช้ ZnCl3 136.28 g = 𝟔𝟓.𝟑𝟖 𝒈
= 0.2084 g
24

การทดลอง
1. ปิ เปตสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วง
2. เตรี ยมสารละลายตะกัว่
3. เตรี ยมแบลงค์ที่ตอ้ งการศึกษา
4. ปิ เปตบัฟเฟอร์
5. เติมตัวรบกวานที่ตอ้ งการศึกษา
6. ปรับปริ มาตรด้วยน้ ากลัน่
จบวันที่ 8

7. % Recovery ของ Pb(II)


การศึกษา%Recovery การตรวจสอบความถูกต้อง โดยใช้ตวั อย่างน้ า 2.5 mL

16-01-65 ศึกษาตัวอย่าง
• เตรียมสารละลายมาตรฐานตะกั่วตามความเข้มข้นที่เหมาะสม
• ปิเปตสารสกัดจากกะหล่าปลี
• เตรียมแบลงค์ที่ต้องการศึกษา
• ปิเปตบัฟเฟอร์
• เติมตัวอย่างน้าที่ต้องการศึกษา 2.5 mL
• ปรับปริมาตรด้วยน้ากลั่น
• วัดค่าการดูดกลืนแสง

16-01-65 ศึกษาวิเคราะห์ตัวอย่างโดยการใช้สมาร์ทโฟน

1. ใช้ syringe ขนาด 1 ml ดูดสารละลายมาตรฐานตะกั่ว ที่ความเข้มข้น 10, 30, 50, 100 ppm ลงใน
ถาดหลุม ปริมาตรหลุมละ 0.1 ml
2. ใช้ syringe ขนาด 1 ml ดูดสารสกัดจากกะหล่าปลีม่วงลงในถาดหลุม ปริมาตรหลุมละ 0.1 ml
3. จากนั้นเมื่อสารเกิดปฏิกิรยิ า จับเวลาจนครบ 10 นาที แล้วถ่ายภาพด้วยกล้องโทรศัพท์มือถือ โดยไม่
ต้องเปิดแฟลช ให้ใช้แสงสว่าง ณ สถานทีท่ าการทดสอบ
4. วัดค่าความเข้มสีในแต่ละหลุมจากภาพถ่ายบนโทรศัพท์มอื ถือด้วยแอปพลิเคชัน Pixel Picker
5. บันทึกผล

You might also like