You are on page 1of 11

ปฎิบัติการบทที่ 3 เรื่องการออสโมซิส

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม

1.นายเตชธรรม ตาดี เลขที่ 2

2.นายปิ ยวัฒน์ สมดวงศรี เลขที่ 3

3.นายเมธา แซ่ตน
ั้ เลขที่ 4

4.นางสาวณัฏฐริดา สิญจวัตร์ เลขที่ 7

5.นางสาวรุจิรา อิง้ เพ็ชร เลขที่ 18

6.นางสาวกนกวรรณพร แสงพล เลขที่ 31

. ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1

วัตถุประสงค์เพื่อการทดลอง

1.เพื่อศึกษาลักษณะการเคลื่อนที่ของน้ำด้วยวิธีออสโมซิส

2.เพื่อศึกษาความเข้มข้มในเนื้อเยื่อของชิน
้ มันฝรั่ง

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

1.มันฝรัง่ 8.กระบอกตวง

2.น้ำกลั่น 9.ช้อนตักสาร

3.น้ำตาลซูโครส 10.ทิชชู่

4.เครื่องชัง่ มวล
5.บีกเกอร์

6.เขียง

7.มีด

วิธีการดำเนินการทดลอง

1.เตรียมน้ำกลั่น และสารละลายน้ำตาลซูโครสความเข้มข้ม 0%,


0.01%, 0.05%, 1%, 5%

และ 10% โดยมวลต่อปริมาตร

2.ตวงสารละลายที่เตรียมไว้ทงั ้ หมดด้วยกระบอกตวง แล้วใส่


สารละลายลงในแก้วพลาสติก จำนวน

6 ใบ ใบละ 80 ลูกบาศก์เซนติเมตร

3.เตรียมมันฝรั่งลูกใหญ่ 1 ลูก ล้างและปอกเปลือกให้เรียบร้อย


จากนัน้ ตัดชิน
้ มันฝรั่งให้เป็ นทรง

ลูกบาศก์ขนาดประมาณ 1 x 1 x 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร ให้ได้


จำนวน 18 ชิน

4.แบ่งชิน
้ มันฝรั่งออกเป็ นชุด ชุดละ 3 ชิน
้ เพื่อเตรียมนำไปใส่ใน
สารละลายทัง้ 6 ความเข้มข้น

5.ชั่งมวลของมันฝรั่งในแต่ละชุดก่อนแช่ บันทึกมวล และคำนวณ


หาค่าเฉลี่ยของมวลของมันฝรั่ง

ในแต่ละชุดแล้วบันทึกลงในตารางบันทึกผลการทดลอง

6.แช่ชน
ิ ้ มันฝรั่งแต่ละชุดทิง้ ไว้เป็ นเวลา 1 ชั่วโมง
7.ชั่งมวลของมันฝรั่งในแต่ละชุด หลังแช่เรียบร้อยแล้ว บันทึก
มวล และคำนวณหาค่าเฉลี่ยของมวล

ของมันฝรัง่ ในแต่ละชุด แล้วบันทึกลงในตารางบันทึกผลการ


ทดลอง
ตัวแปรในการทดลอง

ตัวแปรต้นคือ ความเข้มข้นของสารละลายซูโครส

ตัวแปรตามคือ น้ำหนักของมันฝรัง่ หลังจากการแช่

ตัวแปรควบคุมคือ ขนาดของมันฝรัง่ นํา้ หนักของมันฝรั่ง


สายพันธุ์มน
ั ฝรั่ง

คำถามก่อนการทดลอง

1.นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าชุดการทดลองชุดใดบ้างที่มีการอ
อสโมซิสเกิดขึน

ตอบ ต้องมีการชั่งตวง แล้วนํา้ หนักของมันฝรั่งต้องมีการ


เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
2.โมเลกุลของน้ำตาลทรายหรือซูโครสส่งผลต่อมวลที่
เปลี่ยนแปลงไปของมันฝรั่งหรือไม่ จงอธิบาย

เหตุผลประกอบให้ชัดเจน

ตอบ ส่งผล เพราะว่าการออสโมซิสคือการแพร่ของนํา้ ผ่านเยื่อ


เลือกผ่านที่สามารถขัดขวางการ

เคลื่อนที่ของตัวละลายเพื่อที่จะสามารถพิจารณาการ
เคลื่อนที่ของนํา้ ได้ โดยยิ่งถ้าอนุภาค

มีขนาดเล็กจะทำให้เกิดการออสโมซิสได้ดี

3.หากความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสารละลายน้ำตาล
ซูโครสกับของเหลวในเนื้อเยื่อ

มันฝรั่งมากหรือน้อย จะส่งผลต่ออัตราในการออสโมซิสหรือไม่
อย่างไร

ตอบ ส่งผลโดยทีห
่ ากความเข้มข้นแตกต่างกันมาก จะส่งผลต่อ
อัตราในการออสโมซิสมาก

ส่วนหากความเข้มข้นแตกต่างกันน้อย จะส่งผลต่ออัตราใน
การออสโมซิสน้อยเพราะทิศทาง

การออสโมซิสนัน้ เป็ นการแพร่จากบริเวณที่มีความเข้มข้น


ของสารละลายตํ่าไปยังบริเวณที่มี

ความเข้มข้นของสารละลายสูงกว่า

4.นักเรียนควรใช้มันฝรั่งคนละลูกในการทดลองครัง้ เดียวกันหรือ
ไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ไม่ควร เพราะว่ามันฝรั่งแต่ละลูกนัน
้ ได้รบ
ั การปลูกที่ไม่
เหมือนกัน มันลูกนีอ
้ าจจะปลูกใน

ดินชนิดนึงหรือมีการให้แร่ธาตุ (ปุย
๋ ) ที่แตกต่างจากมันอีก
ลูก ทำให้มวลของมันฝรั่งในขนาด

ที่เท่ากันมีความแตกต่างกัน ฉะนัน
้ แล้วเราจึงควรใช้มันลูก
เดียวกันในการทดลอง

5.นักเรียนจะสังเกตสิ่งใดจากการทดลองนีเ้ พื่อเป็ นหลักฐานที่บ่ง


บอกว่าความเข้มข้นของ

สารละลายซูโครสกับความเข้มข้มของของเหลวในเนื้อเยื่อมันฝรั่ง
มีค่าเท่ากัน

ตอบ สังเกตจากมวลของมันฝรั่งหลังการแช่หรือรูปร่างที่ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง เพราะถ้าความ

เข้มข้นเท่ากัน การออสโมซิสของนํา้ เข้า-ออกจากเซลล์จะ


เท่ากันทำให้เซลล์มีรูปร่างคงที่

ตารางบันทึกผลการทดลอง
ความเข้มข้น มวลของมันฝรั่ง มวลของมันฝรั่ง ผลต่างของมวล
ของ ก่อนการ หลังการทดลอง ที่เปลี่ยนแปลง
สารสะลาย ทดลอง (g)* (g)* ไป
ซูโครส แยกชิน
้ ค่า แยกชิน
้ ค่า (g)**
(%m/v) เฉลี่ย เฉลีย

0.00 0.97 1.01 1.18 1.22 0.21
1.02 1.22
1.04 1.27
0.01 1.06 1.08 1.13 1.16 0.08
1.07 1.16
1.12 1.20
0.05 1.16 1.17 1.38 1.41 0.24
1.18 1.41
1.18 1.44
1.00 1.19 1.22 1.39 1.41 0.19
1.23 1.41
1.23 1.42
5.00 1.28 1.28 1.52 1.55 0.26
1.28 1.55
1.29 1.57
10.00 1.29 1.30 1.53 1.55 0.25
1.29 1.55
1.31 1.58

หมายเหตุ *ระบุทศนิยม 2 ตำแหน่ง

**ผลต่างของมวลที่เปลี่ยนแปลงไป = ค่าเฉลี่ยมวลชอง
แช่ฯ - ค่าเฉลี่ยของมวลหลังแช่ฯ
กราฟผลการทดลอง
กราฟผลต่างของมวลมันฝรั่งที่เปลี่ยนแปลงไป

หลังจากแช่ในสารละลายซูโครสในนํา้ กลั่นในความเข้มข้มต่างกันเป็ น
เวลา 1 ชั่วโมง

ความเข้มข้น ความเข้มข้น ความเข้มข้น ความเข้มข้น ความเข้มข้น ความเข้มข้น


0.00% 0.01% 0.05% 1% 5% 10%
คำถามท้ายการทดลอง

1.จากข้อมูลเส้นกราฟที่อยู่ฝั่งด้านบนแกน x เส้นกราฟที่อยู่ด้านล่าง
ของแกน x และเส้นกราฟที่เป็ นจุด

ตัดแกน x พอดี สามารถตีความหมายเกี่ยวกับผลต่างของมวลที่


เปลี่ยนแปลงไป และตีความเกี่ยวกับ

ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารละลายซูโครสกับความเข้ม
ข้นของเนื้อเยื่อมันฝรั่งได้อย่างไร

จงอธิบายให้เข้าใจตามลำดับ

ตอบ ยิ่งความเข้มข้นของสารละลายซูโครสมาก มวลของมันฝรั่งจะ


ยิ่งมากไปด้วย เพราะว่าการ

ออสโมซิสจะแพร่จากที่ที่มีความเข้มข้มน้อยไปความเข้มข้นมาก

2.ความเข้มข้นของเนื้อเยื่อมันฝรั่งมีค่าเทียบเท่ากับความเข้มข้นสาร
ละลายนำ้ตาลซูโครสประมาณเท่าใด

เพราะเหตุใด จงอธิบายให้เข้าใจ
ตอบ ประมาณ 0.01% เพราะมีผลต่างของมวลก่อนแช่และหลังแช่ที่
น้อยกว่าความเข้มข้นอื่น (0.08 g)

เพราะถ้าผลต่างของความเข้มข้มน้อย การออสโมซิสก็จะเกิด
น้อยตามไปด้วย ผลต่างมวลที่ได้หลัง

การแช่ก็จะน้อยลงตามไปนั่นเอง

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองพบว่ามันฝรั่งที่เราได้แช่ไปเป็ นเวลา 1 ชั่วโมง


นัน
้ มันฝรั่งที่แช่ในความเข้มข้นที่

มากขึน
้ จะมีอัตราการเกิดออสโมซิสที่มากขึน
้ คือผลต่างก่อนแช่และ
หลังแช่มากขึน
้ แต่ผลการทดลอง

อาจจะเกิดความคลาดเคลื่อนไปบ้างจากปั จจัยต่างๆ จากสภาพ


แวดล้อมและจากตัวบุคคลเอง

ส่วนที่สารละลายซูโครสความเข้มข้น 0.01% ผลต่างของ


มวลมันฝรั่งมีความแตกต่างน้อยเพราะ

ว่าความเข้มข้นของเนื้อเยื่อมันฝรั่งและความเข้มข้นของสารละลาย
ซูโครสมีอัตราใกล้เคียงกัน ทำให้เกิด

การออสโมซิสน้อย

You might also like