You are on page 1of 8

ปฏิบัตกิ ารบทที่ 2 เรื่ องเอนไซม์

รายชื่ อสมาชิกในกลุ่ม
1. นาย เตชธรรม ตาดี เลขที่ 2 ม.4/1
2. นาย ปิ ยวัฒน์ สมดวงศรี เลขที่ 3 ม.4/1
3. นาย เมธา แซ่ต้ นั เลขที่ 4 ม.4/1
4. นางสาว ณัฎฐริ ดา สิ ญจวัตร์ เลขที่ 7 ม.4/1
5. นางสาว รุ จิรา อิ้งเพ็ชร เลขที่ 18 ม.4/1
6. นางสาว กนกวรรณพร แสงพล เลขที่ 31 ม.4/1

เอนไซม์จากสิ่งมีชีวติ (2.2)

วัตถุประสงค์การทดลอง

1. บอกได้ว่าเซลล์ของสิ่ งมีชีวิตมีเอนไซม์

2. ทดลองเพื่อระบุได้ว่าเอนไซม์เป็ นตัวเร่ งการเกิดปฏิกิริยาเคมี

วัสดุและอุปกรณ์

1. ตัวอย่างที่นาํ มาศึกษา

- ชิ้นส่ วนของสัตว์ที่หั่นเป็ นชิ้นเล็กๆ เช่น

2. H2 O2 ความเข้มข้น 3 %

3. สารละลาย KI อิ่มตัว

4. หลอดทดลอง และที่วางหลอดทดลอง

5. หลอดหยด

6. ปิ เปตต์ขนาด 5 mL

7. ปากคีบ

8. เขียง มีด และกรรไกร


วิธีการดําเนินการทดลอง

1. ใช้กรรไกรหรื อมีดตัดตัวอย่างที่นาํ มาศึกษาให้เป็ นชิ้นเล็กๆ

2. ใส่ H2 O2 ความเข้มข้น 3 % ลงไปในหลอดทดลอง 4 หลอดหลอดละประมาณ 4 mL จากนั้นทําการทดลองดังนี้

- หลอดที่ 1 ไม่ใส่

- หลอดที่ 2 ใส่ สารละลาย KI อิ่มตัว 2-3 หยด

- หลอดที่ 3 ใส่ ช้ินส่ วนสัตว์

- หลอดที่ 4 ใส่ ยสี ต์ 3-4 หยด

3. สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและบันทึกผล

หลอดการทดลอง ชนิดของสารละลาย ผลที่สังเกตได้


1 ไม่มีฟองอากาศ
2 H2 O2 + สารละลาย IK มีฟองอากาศเกิดขึ้น
3 + ชิ้นส่ วนสัตว์ (ตับ) มีฟองอากาศเกิดขึ้น
4 + ยีสต์ มีฟองอากาศเกิดขึ้น

ตัวแปรในการทดลอง

ตัวแปรต้น = ชนิดของสารที่ใส่ ในหลอดทดลอง

ตัวแปรตาม = ปริ มาณฟองอากาศ

ตัวแปรควบคุม = H2 O2 ความเข้มข้น 3 %
คําถามท้ายกิจกรรม

1. ผลการทดลองของหลอดทดลองทั้ง 3 หลอดมีความแตกต่างกันอย่างไร

> ไม่เกิดฟองแก๊สที่หลอดที่ 1 แต่เกิดฟองแก๊สกับหลอดที่ 2,3,4 อย่างรวดเร็ ว

2. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการทดลองหลอดที่ 1 และ 2

> การทดลองหลอดที่ 1 และ 2 เป็ นชุดควบคุม เพื่อเปรี ยบเทียบกับหลอดที่ 3

-หลอดที่ 1 ไม่เกิดฟองแก๊สขึ้นเนื่องจากปฏิกิริยาการสลายตัวของ H2 O2 เกิดได้ชา้ มาก เกิดออกซิเจนได้นอ้ ยมาก

-หลอดที่ 2 เกิดฟองแก๊สปริ มาณมาก เป็ นผลจากการสลายตัวของ H2 O2 อย่างรวดเร็ ว เมื่อมี KI เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา

3. ตัวอย่างที่นาํ มาศึกษาให้ผลการทดลองเหมือนกันหรื อไม่ อย่างไร

> ให้ผลการทดลองเหมือนกันคือจะมีฟองแก๊สเกิดขึ้นแต่อาจจะมีปริ มาณฟองแก๊สแตกต่างกัน

4. จะทดสอบแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นนี้ได้อย่างไร

> ทดสอบได้โดยใช้ธูปที่ดบั เปลวไฟแล้ว เหลือเฉพาะปลายถ่านแดง ๆ จ่อเข้าไปใน หลอดทดลอง ถ้าถ่านสี แดงวาบขึ้น


แสดงว่าเป็ นแก๊สออกซิเจน

5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาการสลายของ

> 2H2 O2 2H2 O + O2

6. เพราะเหตุใดการสลายของ ในสภาพแวดล้อมภายนอกจึงเกิดขึ้นเองได้ชา้ มาก

> เนื่องจากในการเกิดปฏิกิริยาการสลายของ จะต้องการพลังงานกระตุน้ สู งมาก จึงทําให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเองได้ชา้ มาก

7. เพราะเหตุใดชิ้นส่ วนของสิ่ งชีวิตจึงทําให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็ วขึ้น

> เพราะในเซลล์ของสิ่ งมีชีวิตมีเอนไซม์เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองทําให้เห็นว่า สิ่ งมีชีวิตมีเอนไซม์ในตัวเอง ทําให้ปฏิกิริยาการสลายเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วโดยสังเกตได้จาก


ฟองแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นในการทดลอง
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่อประสิทธิภาพในการทํางานของเอนไซม์ (2.3)

วัตถุประสงค์การทดลอง

1. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการทํางานของเอมไซม์

2. อธิบายผลของปัจจัยต่างๆ ทีม่ ีต่อประสิ ทธิภาพในการทํางานของเอมไซม์

วัสดุและอุปกรณ์

1. ยีสต์ ความเข้มข้น 1 % 8. ที่วางหลอดทดลอง และหลอดทดลอง

2. นํ้ากลัน่ 9. บีกเกอร์ขนาด 250 mL

3. H2 O2 ความเข้มข้น 3 % 10. หลอดหยด

4. 1 M HCI ปริ มาตร 100 mL 11. แท่งแก้วคนสาร

5. 1 M NaOH ปริ มาตร 100 mL 12. ปิ เปตต์ ขนาด 5 mL และ 1 mL

6. เครื่ องชัง่ แบบดิจิตอล

7. เทอร์มอมิเตอร์

ตัวแปรในการทดลอง

ตัวแปรต้น = อุณหภูมิของนํ้าและค่า pH

ตัวแปรตาม = ปริ มาณฟองแก๊สออกซิเจน

ตัวแปรควบคุม = ปริ มาณของยีสต์และปริ มาณสารละลาย H2 O2


วิธีการดําเนินการทดลอง (ตอนที่ 1 ผลของอุณหภูมติ ่อการทํางานของเอนไซม์)

1. เตรี ยมหลอดทดลอง 8 หลอดโดยหลอดที่ 1-4 ใส่ ยสี ต์ความเข้มข้น 1 % ปริ มาตร 1 mL และหลอดที่ 5-8 ใส่ H2 O2
ความเข้มข้น 3 % ปริ มาตร 2 mL จากนั้นทําให้แต่หลอดมีอุณหภูมิต่างกันดังนี้

ประมาณ 10 องศาเซลเซียล
อุณหภูมิห้อง
ประมาณ 65 องศาเซลเซียล
ประมาณ 100 องศาเซลเซียล

2. จากนั้นนําหลอดทดลองแต่ละหลอดที่มีอุณหภูมิเดียวกันที่เตรี ยมไว้ ผสมกัน โดยให้เท H2 O2 ความเข้มข้น 3 % ใส่ใน


หลอดทดลองที่มียสี ต์บรรจุอยู่
3. สังเกตผลการทดลองที่เกิดขึ้นและบันทึกผล โดยสามารถบันทึกปริ มาณปริ มาณฟองแก๊สที่เกิดขึ้นโดยใช้ -/+/++/+++

หมายเหตุ เครื่ องหมาย - คือ ไม่เกิดฟองแก๊ส

เครื่ องหมาย + คือ เกิดฟองแก๊ส (ยิง่ จํานวน + มาก แสดงปริ มาณฟองแก๊สมาก)

หลอดการทดลอง อุณหภูมิ ปริ มาณฟองอากาศ


1 ประมาณ 10 องศาเซลเซียล -
2 อุณหภูมิห้อง +++
3 ประมาณ 65 องศาเซลเซียล ++
4 ประมาณ 100 องศาเซลเซียล +

วิธีการดําเนินการทดลอง (ตอนที่ 2 ผลของค่า pH ต่อการทํางานของเอนไซม์)

1. เตรี ยมสารละลายที่มีค่า pH ต่างกัน ดังในตาราง โดยกรณีที่มี pH indicator paper อาจเตรี ยมสารละลายที่มีค่า pH ต่างกัน
2 ชุด เพื่อใช้ชุดหนึ่งสําหรับตรวจสอบค่า pH ของสารละลายด้วย pH indicator paper

หลอดการทดลอง 3% H2 O2 (mL) 1 M HCI (mL) 1 M NaOH (mL) นํ้า (mL)


1 2 4 - -
2 2 2 - 2
3 2 1 - 3
4 2 - - 4
5 2 - 1 3
6 2 - 2 2
7 2 - 4 -

2. ใส่ ยสี ต์ความเข้มข้น 1 % ปริ มาตร 1 mL ลงในหลอดทดลองแต่ละหลอดที่เตรี ยมไว้ และใส่ น้ าํ มันในหลอดทดลอง


3. สังเกตผลการทดลองที่เกิดขึ้นและบันทึกผลโดยสามารถบันทึกปริ มาณฟองแก๊สที่เกิดขึ้น โดยใช้ -/+/++/+++

หมายเหตุ เครื่ องหมาย - คือ ไม่เกิดฟองแก๊ส

เครื่ องหมาย + คือ เกิดฟองแก๊ส (ยิง่ จํานวน + มาก แสดงปริ มาณฟองแก๊สมาก)

หลอดการทดลอง ค่า pH ของสารละลาย ปริ มาณฟองอากาศ


1 ประมาณ 0-1 +
2 ประมาณ 0-1 +
3 ประมาณ 1-2 +++
4 ประมาณ 6-7 ++++
5 ประมาณ 11 ++
6 ประมาณ 12-13 +
7 ประมาณ 14 +

คําถามท้ายกิจกรรม

1. ในการทดลองตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมคืออะไร

> ตัวแปรต้น คือ อุณหภูมิและ pH

ตัวแปรตาม คือ ปริ มาณฟองแก๊สที่เกิดขึ้น

ตัวแปรควบคุม คือ ปริ มาณของยีสต์ขนาดของหลอดทดลอง และปริ มาณสารละลาย H2 O2

2. ถ้าต้องการให้ผลการทดลองจากการตอนที่ 1 และ 2 นี้น่าเชื่อถือยิง่ ขึ้น จะมีวิธีการอย่างไร

> - ควรจะทําการทดลองชุดละ 3 ครั้ง เพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อน

- ควบคุมความสะอาดของอุปกรณ์ที่ใช้ทดลองทุกชนิ ดไม่ให้มีการปนเปื้ อน
3. จากการทดลองคะตะเลสจะทํางานได้ดีในช่วงอุณหภูมิและ pH เท่าใด

> จากการทดลองคะตะเลสสามารถทํา งานได้ดีในช่วงอุณหภูมิห้อง และในช่วงประมาณ pH 6-7

4. จากการทดลองอุณหภูมิและ pH มีผลต่อการทํางานของคะตะเลสของยีสต์อย่างไร

> จากการทดลองเอนไซม์คะตะเลสที่ได้จากยีสต์ จะทํางานได้ดีในช่วงอุณหภูมิประมาณ อุณภูมิห้อง และ pH ประมาณ 6-7


หากลดหรื อเพิ่มอุณหภูมิหรื อทําให้ pH เปลี่ยนแปลง จะทําให้ความสามารถในการทํางานของคะตะเลสค่อยๆ ลดลง และ
อาจไม่สามารถทํางานได้เลยเมื่ออุณหภูมิต่าํ หรื อสู งจนเกินไป หรื อมี pH ที่ต่าํ หรื อสู งจนเกินไป

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสรปุได้ดงั นี้

- อุณหภูมิต่อการทํางานของเอนไซม์จากยีสต์ จะทํางานได้ดีที่อุณหภูมิหอ้ ง และเมื่ออุณหภูมิสูงหรื อตํ่ากว่า


อุณหภูมิหอ้ ง การทํางานของเอนไซม์จะทํางานได้นอ้ ยลง การเกิดปฏิกิริยาสลาย H2 O2 ก็จะลดลง
- ค่า pH มีผลต่อการทํางานของเอนไซม์จากยีสต์ จะทํางานได้ดีในช่วงค่า pH ประมาณ 6-7 และเมื่อค่า pH
สูงหรื อตํ่ากว่านั้น การทํางานของเอนไซม์ก็จะทํางานได้นอ้ ยลง การเกิดปฏิกิริยาสลาย H2 O2 ก็จะลดลง

You might also like