You are on page 1of 12

มอก.

540–2545

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
ออกซิเจนการแพทย์

1. ขอบข่าย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนีค้ รอบคลุมเฉพาะออกซิเจนการแพทย์ เท่านัน้

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ต่อไปนี้
2.1 ออกซิเจนการแพทย์ ซึง่ ต่อไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกว่า “ออกซิเจน” หมายถึง ออกซิเจนทีอ่ ยูใ่ นสภาวะก๊าซหรือ
ของเหลว มีสตู รเคมี O2 สำหรับใช้ในการแพทย์

3. คุณลักษณะทีต่ อ้ งการ
3.1 ลักษณะทัว่ ไป
ในสภาวะก๊าซ ไม่มกี ลิน่ ไม่มสี ี ในสภาวะของเหลว ไม่มกี ลิน่ มีสฟี า้ อ่อน
3.2 คุณลักษณะทีต่ อ้ งการทางฟิสกิ ส์และทางเคมี
ให้เป็นไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 1

–1–
มอก. 540–2545

ตารางที่ 1 คุณลักษณะทางฟิสกิ ส์และทางเคมี


(ข้อ 3.2)

รายการที่ คุณลักษณะ เกณฑที่กําหนดวิธีวิเคราะห


ตามขอ
1 ความชื้น มิลลิกรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร ไมเกิน 0.12 7.2
2 ความเปนกรดหรือความเปนดาง* ตองผานการทดสอบ 7.3
3 สารออกซิไดส*(oxidising substance) ตองผานการทดสอบ 7.4
4 ความบริสุทธิ์ รอยละโดยปริมาตร ไมนอยกวา 99.0 7.5
5 คารบอนไดออกไซด ลูกบาศกมิลลิเมตรตอ 7.6
ลูกบาศกเดซิเมตร ไมเกิน 300
6 คารบอนมอนอกไซด ลูกบาศกมิลลิเมตรตอ 7.7
ลูกบาศกเดซิเมตร ไมเกิน 5

หมายเหตุ * กรณีที่กระบวนการผลิตเป็นกระบวนการแยกออกซิเจนจากอากาศ (air-liquefaction


process) และใช้เทคนิคการดูดซึม (adsorption technique) โดยใช้สารอะลูมิโนซิลิเคต
(alumino silicate) หรือแอคติเวเต็ดอะลูมนิ า (activated alumina) เป็นตัวกำจัดคาร์บอน
ไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์และความชื้น ไม่ต้องทดสอบความเป็นกรดหรือความ
เป็นด่าง และสารออกซิไดส์

–2–
มอก. 540–2545

4. การบรรจุ
4.1 ภาชนะทีใ่ ช้บรรจุออกซิเจนต้องสะอาด และใช้บรรจุออกซิเจนเท่านัน้
4.2 ภาชนะบรรจุทเ่ี ป็นท่อ (cylinder) ให้เป็นไปตาม มอก. 359
ในกรณีเป็นท่อทีใ่ ช้แล้ว ให้ตรวจสภาพท่อตาม มอก. 358
4.3 สี ท่อบรรจุออกซิเจนให้ใช้สเี ขียวมรกต ส่วนคอและไหล่ให้ใช้สขี าว ตาม มอก. 87
4.4 ข้อต่อท่อบรรจุออกซิเจน ให้เป็นไปตาม มอก. 1095
4.5 ภาชนะบรรจุที่เป็นถังเก็บออกซิเจนเหลว ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถังเก็บก๊าซเหลว
(ในกรณีทย่ี งั มิได้มกี ารประกาศกำหนดมาตรฐานดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างผูซ้ อ้ื กับผูข้ าย)
4.6 ให้มวี สั ดุหมุ้ ห่อข้อต่อท่อบรรจุออกซิเจน เพือ่ ป้องกันสิง่ สกปรกเข้าไปในข้อต่อ และเพือ่ แยกท่อทีย่ งั ไม่ได้ใช้งาน
ออกจากท่อทีใ่ ช้แล้ว และให้มชี อ่ื หรือเครือ่ งหมายการค้าของผูบ้ รรจุทว่ี สั ดุหมุ้ ห่อด้วย

5. เครือ่ งหมายและฉลาก
5.1 ทีภ่ าชนะบรรจุออกซิเจนทุกหน่วยหรือทีฉ่ ลากทีต่ ดิ อยูก่ บั ภาชนะบรรจุออกซิเจนทุกหน่วย อย่างน้อยต้องมีเลข
อักษรหรือเครือ่ งหมาย แจ้งรายละเอียดต่อไปนีใ้ ห้เห็นได้งา่ ย ชัดเจนและไม่ลบเลือน
5.1.1 ในกรณีทเ่ี ป็นท่อบรรจุออกซิเจน
(1) เครือ่ งหมายกากบาทสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีแดงบนส่วนไหล่ และคำว่า “ออกซิเจนการแพทย์”
และสูตรเคมี “O2” โดยใช้อกั ษรสีขาวทีต่ วั ท่อ ขนาดสูงไม่ตำ่ กว่า 1 ใน 8 ของเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของท่อ
(2) ชือ่ ผูท้ ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการค้าทีจ่ ดทะเบียน และชือ่ ผูจ้ ดั จำหน่าย พร้อมสถานทีต่ ง้ั
(3) รหัสรุน่ ทีท่ ำ
(4) ปริมาตรของออกซิเจนเป็นลูกบาศก์เดซิเมตรทีค่ วามดัน 0.1 เมกะพาสคัล และความดันของออกซิเจน
ทีบ่ รรจุ เป็นเมกะพาสคัล ทีอ่ ณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส ± 2 องศาเซลเซียส
(5) ข้อความหรือเครือ่ งหมายแสดงคำเตือนว่า “ห้ามใช้สารหล่อลืน่ กับข้อต่อ” และคำแนะนำการเก็บและ
การเคลือ่ นย้ายอย่างปลอดภัยสำหรับผูใ้ ช้
5.1.2 ในกรณีทเ่ี ป็นถังเก็บออกซิเจนเหลว
(1) คำว่า “ออกซิเจนการแพทย์” และสูตรเคมี “O2” โดยใช้อกั ษรสีดำ
(2) ข้อความหรือเครือ่ งหมายแสดงคำเตือน เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามทำให้เกิดประกายไฟ ห้ามนำสารไวไฟ
เข้าใกล้
ในกรณีทใ่ี ช้ภาษาต่างประเทศ ต้องมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไว้ขา้ งต้น
หมายเหตุ ผู้ทำหรือโรงงานที่ทำ หมายถึง ผู้ทำและผู้บรรจุในรายเดียวกัน หรือผู้บรรจุที่รับออกซิเจนจากผู้อื่น
มาบรรจุ

6. การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตดั สิน
6.1 การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตดั สินให้เป็นไปตามภาคผนวก ก.

–3–
มอก. 540–2545

7. การวิเคราะห์
7.1 ข้อกำหนดทัว่ ไป
7.1.1 ให้ใช้วิธีวิเคราะห์ที่กำหนดในมาตรฐานนี้หรือวิธีอื่นที่ให้ผลเทียบเท่า แต่ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งให้ใช้วิธีที่
กำหนดในมาตรฐานนีเ้ ป็นวิธตี ดั สิน
7.1.2 หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอืน่ น้ำกลัน่ และสารเคมีทใ่ี ช้ตอ้ งมีความบริสทุ ธิเ์ หมาะสำหรับใช้ในการวิเคราะห์
7.2 การวิเคราะห์ความชืน้
7.2.1 เครื่องมือ
เครือ่ งมือวิเคราะห์ปริมาณความชืน้ ดังรูปที่ 1
7.2.2 สารเคมี
7.2.2.1 คาร์บอนไดออกไซด์แข็ง
7.2.2.2 แอซีโทนหรือเอทานอล
7.2.3 วิธวี เิ คราะห์
7.2.3.1 ผ่านก๊าซตัวอย่างเข้าทางท่อนำก๊าซเข้า ด้วยอัตรา 1 ลูกบาศก์เดซิเมตรต่อนาที ถึง 5 ลูกบาศก์เดซิเมตร
ต่อนาที เติมแอซีโทนหรือเอทานอลลงในภาชนะทรงกระบอก ประมาณครึง่ หนึง่ ของความสูง
7.2.3.2 ค่อยๆ เติมคาร์บอนไดออกไซด์แข็งชิน้ เล็กๆ พร้อมทัง้ คนตลอดเวลา จนกระทัง่ สังเกตเห็นละออง
ไอน้ำเกิดทีผ่ วิ นอกของภาชนะทรงกระบอก A ตรงปลายท่อนำก๊าซเข้า อ่านอุณหภูมทิ นั ที
7.2.3.3 ทำซ้ำโดยปล่อยให้อณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ จนกระทัง่ ละอองไอน้ำหายไป แล้วปฏิบตั ติ ามข้อ 7.2.3.2 ซ้ำจน
ได้คา่ อุณหภูมคิ งที่ อุณหภูมทิ อ่ี า่ นได้ตอ้ งต่ำกว่าหรือเท่ากับ-40 องศาเซลเซียส จึงจะถือว่ามีปริมาณ
ความชืน้ ไม่เกิน 0.12 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร

–4–
มอก. 540–2545

A คือ ภาชนะทรงกระบอกผนังบางทำดวยโลหะ เชน ทองแดงชุบโครเมียมขนาดเสนผานศูนยกลาง ประมาณ


4 เซนติเมตร สูง 7.5 เซนติเมตรถึง 12.7 เซนติเมตร ผิวดานนอกเปนมัน และจะตองไมทำใหอณ
ุ หภูมทิ ี่
ผิวดานในและดานนอกตางกัน
B คือ ขวดแกวหรือภาชนะโปรงใส พรอมฝาปด
C คือ ทอนำกาซเขา ทำดวยทองแดง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร ปลายทออยูเหนือสวนลาง
สุดของภาชนะทรงกระบอก A ประมาณ 2.5 เซนติเมตร
D คือ ทอนำกาซออก ทำดวยทองแดง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร ปลายอีกดานหนึ่งตอกับ
เครื่องวัดปริมาณกาซ
E คือ เทอรโมมิเตอรทวี่ ดั อุณหภูมไิ ดต่ำกวา -40 องศาเซลเซียส
รูปที่ 1 เครือ่ งมือวิเคราะหปริมาณความชืน้
(ขอ 7.2.1)

7.3 การวิเคราะหความเปนกรดหรือความเปนดาง
7.3.1 เครือ่ งมือ (ดูรปู ที่ 2)
7.3.1.1 หลอดแกวรูปทรงกระบอกจำนวน 3 หลอด ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน 30 มิลลิเมตร สูง
ประมาณ 180 มิลลิเมตร พรอมจุกปด เฉพาะหลอดแกวหลอดที่ 2 มีจกุ ยางซึง่ เจาะรูใสหลอดนำกาซ
เขาขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน 0.5 มิลลิเมตร ยาวเกือบถึงกนหลอด และมีหลอดนำกาซออก
ซึง่ ตอกับเครือ่ งวัดปริมาณกาซ
7.3.1.2 เครือ่ งวัดปริมาณกาซ
7.3.2 สารละลายและวิธเี ตรียม
7.3.2.1 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.01 โมลตอลูกบาศกเดซิเมตร
7.3.2.2 สารละลายเมทิลเรดอินดิเคเตอร รอยละ 0.5 โดยน้ำหนัก
ละลายเมทิลเรด 0.5 กรัม ในน้ำกลัน่ 100 ลูกบาศกเซนติเมตร

–5–
มอก. 540–2545

7.3.3 วิธวี เิ คราะห


เติมสารละลายเมทิลเรดอินดิเคเตอร 1 ลูกบาศกเซนติเมตรลงในน้ำกลัน่ 350 ลูกบาศกเซนติเมตร ตมให
เดือด 5 นาที เทใสหลอดแกวทัง้ 3 หลอด หลอดละ 100 ลูกบาศกเซนติเมตร ในขณะทีย่ งั อนุ อยู โดย
หลอดแกวหลอดที่ 1 เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.1 ลูกบาศกเซนติเมตร และหลอดแกวหลอด
ที่ 2 และหลอดที่ 3 เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.2 ลูกบาศกเซนติเมตร หลังจากนั้นปดจุก
หลอดแกวหลอดที่ 1 และหลอดที่ 3 แลวผานกาซตัวอยาง 2 ลูกบาศกเดซิเมตรลงในหลอดแกวหลอด
ที่ 2 ภายในเวลา 30 นาที เปรียบเทียบสีทเี่ กิดขึน้ ในหลอดแกวทัง้ สาม โดยตัง้ หลอดแกวทัง้ สามบนพืน้
สีขาว เปดจุก แลวมองตรงจากดานบนลงมา สีของสารละลายในหลอดแกวหลอดที่ 2 ตองไมเขมกวา
สีเหลืองของสารละลายในหลอดแกวหลอดที่ 1 หรือไมเขมกวาสีชมพูของสารละลายในหลอดแกวหลอด
ที่ 3 จึงจะถือวาผานการทดสอบ

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 2 เครือ่ งมือวิเคราะหความเปนกรดหรือความเปนดาง
(ขอ 7.3.1 และขอ 7.4.1)

7.4 การวิเคราะหสารออกซิไดส
7.4.1 เครื่องมือ
หลอดแกวรูปทรงกระบอก เชนเดียวกับขอ 7.3.1.1 หลอดที่ 1 และหลอดที่ 2
7.4.2 สารเคมี สารละลายและวิธเี ตรียม
7.4.2.1 กรดเกลเชียลแอซีตกิ ความหนาแนน 1.049 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร

–6–
มอก. 540–2545

7.4.2.2 สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์-น้ำแป้ง
ละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ 0.75 กรัม ในน้ำกลัน่ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต้มให้เดือด เติมน้ำแป้ง
(ละลายแป้ง 0.5 กรัม ในน้ำกลัน่ 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ลงไปจนหมดพร้อมทัง้ คนสม่ำเสมอ
ต้มให้เดือดอีก 2 นาทีถงึ 3 นาที ปล่อยให้เย็น
ทดสอบความไวของสารละลาย โดยนำสารละลายมา 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร เติมกรดเกลเชียลแอซีตกิ
0.05 ลูกบาศก์เซนติเมตรและไอโอดีน 0.5 มิลลิโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร 0.25 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สารละลายต้องเปลีย่ นเป็นสีนำ้ เงิน
7.4.3 วิธวี เิ คราะห์
เติมสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์-น้ำแป้ง ซึง่ เตรียมขึน้ ใหม่ๆ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตรและกรดเกลเชียล
แอซีตกิ 0.2 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในหลอดแก้วทัง้ สอง แล้วผ่านก๊าซตัวอย่าง 5 ลูกบาศก์เดซิเมตร
ลงไปในหลอดแก้วหลอดที่ 2 สีของสารละลายในหลอดแก้วหลอดที่ 2 ต้องเหมือนกับสีของสารละลาย
ในหลอดแก้วหลอดที่ 1 จึงจะถือว่าผ่านการทดสอบ การทดสอบนีค้ วรกระทำในทีซ่ ง่ึ ไม่มแี สงสว่างมาก
เกินไป
7.5 การวิเคราะห์ความบริสทุ ธิ์
ให้ใช้เครือ่ งมือวิเคราะห์ความบริสทุ ธิท์ ก่ี ำหนดต่อไปนี้ หรืออาจใช้เครือ่ งมือวิเคราะห์ความบริสทุ ธิอ์ น่ื ทีเ่ ทียบเท่า
ซึง่ ต้องแสดงค่าในช่วงร้อยละ 99 ถึงร้อยละ 100 ได้ละเอียดอย่างน้อย 0.1 ในกรณีทม่ี ปี ญ ั หาให้ใช้วธิ วี เิ คราะห์ท่ี
กำหนดต่อไปนีเ้ ป็นวิธตี ดั สิน
7.5.1 เครือ่ งมือวิเคราะห์ความบริสทุ ธิ์ ตัวอย่างดังแสดงในรูปที่ 3

–7–
มอก. 540–2545

A คือ บิวเรตต ความจุ 100 ลูกบาศกเซนติเมตร ระหวางขีดบอกปริมาตรตัง้ แต 99 ลูกบาศกเซนติเมตร ถึง


100 ลูกบาศกเซนติเมตร มีสเกลทีอ่ า นไดละเอียดถึง 0.1 ลูกบาศกเซนติเมตร
B คือ แอบซอรปชันปเปต ซึง่ ภายในบรรจุทองแดงทีม่ ลี กั ษณะเปนขดลวด เศษ หรือแทงเล็กๆ ไวจนเต็ม
C คือ ก็อกสามทางชนิดคะปลลารี (capillary) ซึง่ มีเสนผานศูนยกลางภายใน 1 มิลลิเมตร
D คือ ขวดปรับระดับ ความจุประมาณ 175 ลูกบาศกเซนติเมตร
E คือ สายยางยาวประมาณ 750 มิลลิเมตร ตออยรู ะหวางบิวเรตต A กับขวดปรับระดับ D
รูปที่ 3 ตัวอยางเครือ่ งมือวิเคราะหความบริสทุ ธิ์
(ขอ 7.5.1 และขอ 7.5.3.1)

7.5.2 สารละลายและวิธเี ตรียม


7.5.2.1 สารละลายแอมโมเนียมคลอไรด–แอมโมเนียมไฮดรอกไซด
ละลายแอมโมเนียมคลอไรด 550 กรัม ในน้ำกลั่น 1 250 ลูกบาศกเซนติเมตร เติมสารละลาย
แอมโมเนียเขมขน ความหนาแนน 0.88 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร 750 ลูกบาศกเซนติเมตร
7.5.3 วิธวี เิ คราะห
7.5.3.1 ประกอบเครือ่ งมือเขาดวยกัน (ดังรูปที่ 3) ใหปลายหลอดแกวชนกัน และบรรจุสารละลายแอมโมเนียม
คลอไรด–แอมโมเนียมไฮดรอกไซดลงในแอบซอรปชันปเปตตและขวดปรับระดับ ใหมีปริมาณ
พอเหมาะ
7.5.3.2 ไลกา ซในบิวเรตต แอปซอรปชันปเปตต และกอก C ออกใหหมด แลวปลอยกาซตัวอยางเขาใหได
ปริมาตรในบิวเรตต 100 ลูกบาศกเซนติเมตร
7.5.3.3 ไลกา ซในบิวเรตตไปยังแอบซอรปชันปเปตต ไปมา จนปริมาตรของกาซทีเ่ หลือในบิวเรตตคงที่
7.5.3.4 ปริมาตรของกาซในบิวเรตตทหี่ ายไป คือ ความบริสทุ ธิข์ องกาซตัวอยางเปนรอยละโดยปริมาตร

–8–
มอก. 540–2545

หมายเหตุ 1. สารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์–แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ที่เตรียมใหม่ ให้ทดลอง


วิเคราะห์ออกซิเจน 2 ครั้งถึง 3 ครั้งก่อนแล้วจึงวิเคราะห์จริงและสารละลายนี้ใช้ได้
หลายครัง้ ถ้าการดูดซึมออกซิเจนช้าเกินไปหรือมีตะกอนเกิดขึน้ ให้เปลีย่ นสารละลายใหม่
2. ทองแดงในแอบซอร์ปชันปิเปตต์ ควรเติมให้เต็มอยูเ่ สมอ
7.6 การวิเคราะห์คาร์บอนไดออกไซด์
7.6.1 เครื่องมือ
7.6.1.1 หลอดวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide detector tube)
7.6.1.2 เครือ่ งวัดปริมาณก๊าซ
7.6.2 วิธวี เิ คราะห์
ผ่านก๊าซตัวอย่าง 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร ลงในหลอดวัดคาร์บอนไดออกไซด์ซง่ึ ต่อกับเครือ่ งวัดปริมาณก๊าซ
ด้วยอัตราการไหลตามทีก่ ำหนดไว้สำหรับหลอดวัดแต่ละชนิดทีใ่ ช้ แล้วอ่านค่าทีไ่ ด้จากหลอดวัด
7.7 การวิเคราะห์คาร์บอนมอนอกไซค์
7.7.1 เครื่องมือ
7.7.1.1 หลอดวัดคาร์บอนมอนอกไซด์ (carbon monoxide detector tube)
7.8.1.2 เครือ่ งวัดปริมาณก๊าซ
7.7.2 วิธวี เิ คราะห์
ผ่านก๊าซตัวอย่าง 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร ลงในหลอดวัดคาร์บอนมอนอกไซด์ซง่ึ ต่อกับเครือ่ งวัดปริมาณก๊าซ
ด้วยอัตราการไหลตามทีก่ ำหนดไว้สำหรับหลอดวัดแต่ละชนิดทีใ่ ช้ แล้วอ่านค่าทีไ่ ด้จากหลอดวัด

–9–
มอก. 540–2545

ภาคผนวก ก.
การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตดั สิน
(ข้อ 6.1)

ก.1 รุน่ ในทีน่ ้ี หมายถึง ออกซิเจนทีบ่ รรจุในภาชนะบรรจุชนิดและขนาดเดียวกัน ในคราวเดียวกัน


ก.2 การชักตัวอย่างและเกณฑ์ตดั สิน ให้เป็นไปตามแผนการชักตัวอย่างทีก่ ำหนดต่อไปนี้ หรืออาจใช้แผนการชัก
ตัวอย่างอืน่ ทีเ่ ทียบเท่ากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว้
ก.2.1 การชักตัวอย่าง
ก.2.1.1 ในกรณีทภ่ี าชนะบรรจุเป็นท่อ ให้ชกั ตัวอย่างโดยวิธสี มุ่ จากรุน่ เดียวกันตามจำนวนทีก่ ำหนดในตารางที่
ก.1 เพือ่ วิเคราะห์คณุ ลักษณะทีต่ อ้ งการ และตรวจสอบการบรรจุ และเครือ่ งหมายและฉลาก
ตารางที่ ก.1 แผนการชักตัวอย่าง
(ข้อ ก.2.1.1)

ขนาดรุน ขนาดตัวอยาง
หนวยภาชนะบรรจุ หนวยภาชนะบรรจุ
1 ถึง 30 1
31 ถึง 60 2
ตั้งแต 60 ขึ้นไป 3

ก.2.1.2 ในกรณีทภ่ี าชนะบรรจุเป็นถังเก็บออกซิเจนเหลว ให้ชกั ตัวอย่างในสภาพของเหลวจากถังเก็บลงในดิว


เออร์ฟลาสก์ (Dewar flask) หรือภาชนะอืน่ ใดทีม่ คี ณ
ุ ภาพเทียบเท่า ในปริมาตรไม่นอ้ ยกว่า 2 ลูกบาศก์
เดซิเมตร เพือ่ วิเคราะห์คณ
ุ ลักษณะทีต่ อ้ งการของก๊าซออกซิเจน
ก.2.2 เกณฑ์ตดั สิน
ตัวอย่างต้องเป็นไปตามข้อ 3. ข้อ 4. และข้อ 5. ทุกรายการ จึงจะถือว่าออกซิเจนรุน่ นัน้ เป็นไปตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้

–10–
มอก. 540–2545

ภาคผนวก ข.
ข้อแนะนำในการเก็บและเคลื่อนย้าย
ข.1 การเก็บท่อออกซิเจน
ข.1.1 ต้องกำหนดสถานทีเ่ ก็บให้แน่นอน และสถานทีเ่ ก็บนัน้ ต้องเป็นทีแ่ ห้งและอากาศถ่ายเทได้ดี ถ้าเก็บนอก
อาคารต้องมีทร่ี องรับและหลังคากันแดดกันฝน
ข.1.2 ห้ามเก็บท่อใกล้วตั ถุไวไฟ เช่น น้ำมัน ไข สารทีไ่ หม้ไฟได้ หรือใต้เพลาเครือ่ งจักร หรือสถานทีซ่ ง่ึ น้ำมัน
สามารถหยดลงบนท่อ ลิน้ หรือส่วนประกอบอืน่ ๆ ของท่อได้
ข.1.3 ไม่ควรเก็บท่อออกซิเจนไว้ในห้องเดียวกับทีผ่ ลิตอะเซทิลนี หรือใกล้กบั ท่อบรรจุกา๊ ซอะเซทิลนี หรือก๊าซอืน่ ๆ
ทีไ่ หม้ไฟได้ ถ้าจำเป็นต้องเก็บห้องเดียวกัน ต้องเก็บให้หา่ งจากกันอย่างน้อย 6 เมตร หรือมิฉะนัน้ ให้กน้ั
ด้วยผนังกันไฟ ซึง่ มีอตั ราการต้านไฟอย่างน้อย 30 นาที สูงอย่างน้อย 1.50 เมตร
ข.1.4 ไม่ควรให้อณ ุ หภูมขิ องท่อสูงถึง 50 องศาเซลเซียส เพราะความดันในท่อจะเพิม่ ขึน้ ตามอุณหภูมทิ ส่ี งู ขึน้
ห้ามเก็บท่อไว้ใกล้เตาไฟ เครือ่ งกระจายความร้อนและแหล่งให้ความร้อน
ข.1.5 ต้องมีวธิ ปี อ้ งกันมิให้ทอ่ ล้ม เช่น มีสายรัด
ข.1.6 ต้องไม่ให้ทอ่ ได้รบั การกระทบกระแทกอย่างแรง ซึง่ อาจทำให้ตวั ท่อ ลิน้ หรืออุปกรณ์นริ ภัยอืน่ ๆ เสียหายได้
ไม่ควรเก็บท่อใกล้ลฟิ ต์ ทางเดิน หรือสถานทีม่ กี ารเคลือ่ นย้ายวัตถุหนักๆ ไปมา เพราะอาจกระแทกหรือ
ตกทับท่อได้
ข.1.7 ต้องปิดฝาครอบลิน้ ให้แน่นอยูเ่ สมอ เว้นแต่ในขณะใช้งาน
ข.1.8 ห้ามบุคคลทีไ่ ม่เกีย่ วข้องเข้าไปในบริเวณทีเ่ ก็บท่อ
ข.1.9 ควรเก็บท่อให้ใช้ได้ตามลำดับก่อนหลังทีไ่ ด้รบั มา
ข.1.10 ควรแยกท่อเปล่าและท่อมีกา๊ ซอยูเ่ ต็มออกจากกัน ท่อเปล่าควรปิดลิน้ และฝาครอบลิน้ ให้สนิท และทำเครือ่ ง
หมายไว้เพือ่ ป้องกันมิให้สบั สน
ข.1.11 ห้ามเก็บท่อไว้ในทีช่ น้ื ใกล้เกลือ หรือสารเคมีกดั กร่อน เพราะจะทำให้ทอ่ เป็นสนิม และฝาครอบลิน้ ติดแน่น
กับท่อ
ข.1.12 ห้ามสูบบุหรีห่ รือทำให้เกิดประกายไฟในบริเวณใช้งาน
ข.2 การเคลือ่ นย้ายท่อออกซิเจน
ข.2.1 ต้องกระทำด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้กระเทือนหรือกระแทก ห้ามโยนท่อ และต้องปิดฝาครอบลิน้ ให้แน่น
อยู่เสมอ
ข.2.2 พาหนะบรรทุกออกซิเจนต้องมีสายรัดท่อไว้ให้แน่น ควรมีทย่ี ดึ ให้มน่ั คงเพือ่ ไม่ให้หล่น และท่อควรจะตัง้ ตรง
ข.2.3 พาหนะทีใ่ ช้ขนส่งท่อต้องมีขอ้ ความ “ก๊าซอันตราย” ให้เห็นได้อย่างชัดเจน

–11–
มอก. 540–2545

ข.3 การเก็บและการเติมออกซิเจนเหลว
ข.3.1 ถังเก็บออกซิเจนเหลว ไม่ควรตั้งในบริเวณที่เสี่ยงต่ออันตรายจากการถูกชน หรือใกล้เคียงกับบริเวณ
ก่อสร้าง เสาไฟฟ้าแรงสูง หม้อแปลงไฟฟ้า หรือใกล้เคียงกับบริเวณทีม่ เี ชือ้ เพลิง ตัวอย่างสถานทีต่ ง้ั ถังเก็บ
ออกซิเจนเหลว ดังแสดงในตารางที่ ข.1
ข.3.2 บริเวณทีต่ ง้ั ถังเก็บออกซิเจนเหลวต้องมีรว้ั สูงไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตรล้อมรอบ กันไม่ให้บคุ คลทีไ่ ม่เกีย่ วข้อง
เข้าไป
ข.3.3 การเติมออกซิเจนเหลวทุกครัง้ ต้องกระทำโดยผูช้ ำนาญการด้วยความระมัดระวัง เพือ่ ป้องกันอันตรายซึง่
อาจเกิดขึ้นได้
ข.3.4 พาหนะขนส่งออกซิเจนเหลวต้องมีตวั อักษรระบุคำว่า “ออกซิเจนเหลว” และ “ก๊าซอันตราย” อย่างชัดเจน
ในทีซ่ ง่ึ สังเกตเห็นได้งา่ ย
ตารางที่ ข.1 ตัวอย่างสถานทีต่ ง้ั ถังเก็บออกซิเจนเหลว
(ข้อ ข.3.1)

ประเภทวัสดุ ระยะหางจากถังเก็บออกซิเจนเหลว เมตร


ขนาดไมเกิน 20 ตัน ขนาดเกิน 20 ตันถึง 200 ตัน
เปลวไฟ ควันไฟ 5 8
แหลงเก็บวัสดุติดไฟ บานไม 5 8
ปลองระบายกาซเชื้อเพลิง 5 8
ที่จอดรถทั่วไป (ยกเวนรถที่ไดรับอนุญาต) 5 8
ถนนสาธารณะ 5 8
รางรถไฟ 10 15
รั้วโรงพยาบาล 5 8
สํานักงาน หองอาหาร ที่คนอยูรวมกัน 5 8
ชุมชนสาธารณะ เชน สนามกีฬา 10 15
ทอกาซหรือของเหลวติดไฟได (ไมมีขอตอหรือลิ้น) 3 3
เครื่องยนต เครื่องจักรที่ไมเกี่ยวของ 5 8

–12–

You might also like