You are on page 1of 8

-ร่าง-

ประกาศกรมสรรพสามิต
เรื่อง กาหนดมาตรฐานคุณภาพสุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักร
---------------------------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 154 วรรคสอง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ภ าษี ส รรพสามิ ต
พ.ศ. 2560 ประกอบกับข้อ 5 (2) และข้อ 8 (4) แห่งกฎกระทรวงการอนุญาตนาสุ ราเข้ามาในราชอาณาจักร
พ.ศ. 2560 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงการอนุญาตนาสุ ราเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
และกฎกระทรวงการอนุ ญาตน าสุราเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... อธิบดีกรมสรรพสามิตจึงกาหนด
มาตรฐานคุณภาพสุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักรเพิ่มเติมไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ให้ยกเลิก
1.1 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง กาหนดมาตรฐานคุณภาพสุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักร
ลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562
1.2 ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง กาหนดมาตรฐานคุณภาพสุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักร
(ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2563

ข้อ 2 สุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดท้ายประกาศนี้


เว้นแต่เอทานอลและสุราสามทับให้มีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งออกโดยอาศัย
อานาจตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันออกประกาศเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่........................

อธิบดีกรมสรรพสามิต
มาตรฐานคุณภาพเบียร์
--------------------------

ให้เบียร์มีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติทางเคมี วัตถุเจือปนอาหาร และสารปนเปื้อน


ตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC (Association of Official Analytical
Chemists) หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า

1. แรงแอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ที่ฉลาก โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละ


โดยปริมาตร วิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC ข้อ 26.1.09 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธี
ทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน

2. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือ


วิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 เมทิลแอลกอฮอล์ 50 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 26.1.36
2 เอทิลคาร์บาเมต 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 28.1.48

3. วัตถุเจือปนอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธี


ทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั้งหมด 30 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 27.1.39

4. สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธี


ทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน

ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม


1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.1.01
2 ตะกั่ว 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.2.19
3 ทองแดง 1.5 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 28.1.23
4 เหล็ก 1.5 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 28.1.24
-2-

5. วิธีทดสอบที่เทียบเท่าข้างต้นจะต้องเข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
๕.1 เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
๕.๒ เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบตามมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับ
ในระดับนานาชาติ (International Organization Standard) หรือระดับภูมิภาค (Regional Organization
Standard)
๕.๓ กรณีที่เป็นวิธีทดสอบอื่น ๆ ให้เสนออธิบดีเป็นผู้พิจารณาเห็นชอบว่าเป็นวิธีทดสอบที่เทียบเท่า
จึงสามารถใช้วิธีดังกล่าวในการวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่างสินค้าได้
ในการพิจารณาวิธีการทดสอบที่เทียบเท่าจะต้องพิจารณารายการสารที่ทาการทดสอบประกอบด้วย
ดังนี้
๑) รายการสารที่ทาการทดสอบต้องมีจานวนรายการและค่าเกณฑ์มาตรฐานเป็นไปตามมาตรฐาน
คุณภาพสุราที่อธิบดีประกาศกาหนด
๒) กรณีที่รายการสารที่ทาการทดสอบมีจานวนไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุ ณภาพสุราที่อธิบดี
ประกาศกาหนด ให้ดาเนินการตามแนวทางดังต่อไปนี้
๒.๑) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ในประเทศผู้ผลิต ให้ระบุในหนังสือรับรอง
ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าว่าเป็นสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ใน
ขั้นตอนการผลิตเบียร์
๒.๒) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตอนุญาตให้ใช้แต่ไม่กาหนดให้ตรวจวิเคราะห์ในรายการสาร
ที่ตรวจตามมาตรฐานของประเทศผู้ผลิต ประเทศผู้ผลิตจะต้องสามารถยืนยันและระบุในหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์
ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าได้ว่า สารดังกล่าวไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสุราที่อธิบดี
ประกาศกาหนด หากไม่สามารถยืนยันได้จาเป็นต้องส่งตัวอย่างสุรามาเพื่อตรวจวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการ ดังนี้
๒.๒.๑) ห้องปฏิบัติการของกรมสรรพสามิต
2.2.2) ห้องปฏิบัติการของกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต หรือ
ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานอื่นที่มีมาตรฐานของห้องปฏิบัติการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์ของกรมสรรพสามิต (Good Laboratory Practice/Excise Department : GLP/EXD) หรือสูงกว่า
และขึ้นทะเบียนไว้กับกรมสรรพสามิตตามระเบียบที่อธิบดีกาหนด
มาตรฐานคุณภาพไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทาจากองุ่น และสุราแช่
--------------------------

ให้ไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่ มีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติทางเคมี วัตถุเจือปน


อาหาร และสารปนเปื้อนตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC (Association of
Official Analytical Chemists) และ ASTM (America Society of Testing and Materials) หรือวิธีทดสอบ
ที่เทียบเท่า

1. แรงแอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ที่ฉลาก โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละ


โดยปริมาตร วิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC ข้อ 26.1.09 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธี
ทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน

2. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือ


วิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 แอลดีไฮด์ (คิดเป็นแอซิทัลดีไฮด์) 160 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 26.1.24
2 เมทิลแอลกอฮอล์ 420 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 26.1.36
เดซิเมตร
3 เอทิลคาร์บาเมต 200 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 28.1.48
เดซิเมตร

3. วัตถุเจือปนอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือ


วิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั้งหมด 400 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 27.1.39
2 กรดเบนโซอิกหรือเกลือของกรดนี้ 250 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 37.1.62A
คานวณเป็นกรดเบนโซอิก
3 กรดซอร์บิกหรือเกลือของกรดนี้ 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 28.2.02
คานวณเป็นกรดซอร์บิก เดซิเมตร

4. สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC และ ASTM


หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC และ ASTM เป็นวิธีตัดสิน
-2-

ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม


1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.1.01
2 ตะกั่ว 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.2.19
3 เฟอร์โรไซยาไนด์ ต้องไม่พบ ASTM D 4374

5. วิธีทดสอบที่เทียบเท่าข้างต้นจะต้องเข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
๕.1 เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
๕.๒ เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบตามมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับ
ในระดับนานาชาติ (International Organization Standard) หรือระดับภูมิภาค (Regional Organization
Standard)
๕.๓ กรณีที่เป็นวิธีทดสอบอื่น ๆ ให้เสนออธิบดีเป็นผู้พิจารณาเห็นชอบว่าเป็นวิธีทดสอบที่เทียบเท่า
จึงสามารถใช้วิธีดังกล่าวในการวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่างสินค้าได้
ในการพิจารณาวิธีการทดสอบที่เทียบเท่าจะต้องพิจารณารายการสารที่ทาการทดสอบประกอบด้วย
ดังนี้
๑) รายการสารที่ทาการทดสอบต้องมีจานวนรายการและค่าเกณฑ์มาตรฐานเป็นไปตามมาตรฐาน
คุณภาพสุราที่อธิบดีประกาศกาหนด
๒) กรณีที่รายการสารที่ทาการทดสอบมีจานวนไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสุราที่อธิบดี
ประกาศกาหนด ให้ดาเนินการตามแนวทางดังต่อไปนี้
๒.๑) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ในประเทศผู้ผลิต ให้ระบุในหนังสือรับรอง
ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าว่าเป็นสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ใน
ขั้นตอนการผลิตไวน์ สปาร์กลิ้งไวน์ และสุราแช่
๒.๒) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตอนุญาตให้ใช้แต่ไม่กาหนดให้ตรวจวิเคราะห์ในรายการสาร
ที่ตรวจตามมาตรฐานของประเทศผู้ผลิต ประเทศผู้ผลิตจะต้องสามารถยืนยันและระบุในหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์
ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าได้ว่า สารดังกล่าวไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสุราที่อธิบดี
ประกาศกาหนด หากไม่สามารถยืนยันได้จาเป็นต้องส่งตัวอย่างสุรามาเพื่อตรวจวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการ ดังนี้
๒.๒.๑) ห้องปฏิบัติการของกรมสรรพสามิต
2.2.2) ห้องปฏิบัติการของกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต หรือ
ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานอื่นที่มีมาตรฐานของห้องปฏิบัติการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์ของกรมสรรพสามิต (Good Laboratory Practice/Excise Department : GLP/EXD) หรือสูงกว่า
และขึ้นทะเบียนไว้กับกรมสรรพสามิตตามระเบียบที่อธิบดีกาหนด
มาตรฐานคุณภาพสุรากลั่น
--------------------------

ให้สุรากลั่นมีมาตรฐานเกี่ยวกับแรงแอลกอฮอล์ คุณสมบัติทางเคมี วัตถุเจือปนอาหาร และสารปนเปื้อน


ตามที่กาหนดดังต่อไปนี้ โดยให้ใช้วิธีทดสอบตามมาตรฐาน AOAC (Association of Official Analytical
Chemists) หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า

1. แรงแอลกอฮอล์ ให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ที่ฉลาก โดยมีเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ± 1 ดีกรี ร้อยละ


โดยปริมาตร วิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC ข้อ 26.1.09 หรือวิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธี
ทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน

2. คุณสมบัติทางเคมี ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือ


วิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 ฟูเซลออยล์ 5,500 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 26.1.28
เดซิเมตร
2 เฟอร์ฟิวรัล 50 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 26.1.32
3 แอลดีไฮด์ (คิดเป็นแอซิทัลดีไฮด์) AOAC ข้อ 26.1.24
3.1 สุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ 160 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
ไม่เกิน 40 ดีกรี
3.2 สุรากลั่นที่มีแรงแอลกอฮอล์ 220 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร
เกิน 40 ดีกรี
4 เมทิลแอลกอฮอล์ 1,000 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 26.1.36
เดซิเมตร
5 เอทิลคาร์บาเมต 400 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ AOAC ข้อ 28.1.48
เดซิเมตร
หมายเหตุ : เกณฑ์การตรวจวิเคราะห์ของสารแอลดีไฮด์ (แอซีทัลดีไฮด์) จะพิจารณาแรงแอลกอฮอล์จากฉลากของผลิตภัณฑ์

3. วัตถุเจือปนอาหาร ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือ


วิธีทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
-2-

ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม


1 กรดเบนโซอิกหรือเกลือของกรดนี้ 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 37.1.62A
คานวณเป็นกรดเบนโซอิก
2 กรดซอร์บิกหรือเกลือของกรดนี้ 200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 28.2.02
คานวณเป็นกรดซอร์บิก

4. สารปนเปื้อน ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดในตารางและวิธีทดสอบให้ปฏิบัติตาม AOAC หรือวิธี


ทดสอบที่เทียบเท่า กรณีมีข้อโต้แย้งเรื่องวิธีทดสอบให้ใช้วิธีทดสอบ AOAC เป็นวิธีตัดสิน
ลาดับที่ รายการทดสอบ ไม่เกินเกณฑ์ที่กาหนด วิธีทดสอบตาม
1 สารหนู 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.1.01
2 ตะกั่ว 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร AOAC ข้อ 9.2.19

5. วิธีทดสอบที่เทียบเท่าข้างต้นจะต้องเข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
๕.1 เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
๕.๒ เป็นวิธีทดสอบในแต่ละรายการทดสอบตามมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับ
ในระดับนานาชาติ (International Organization Standard) หรือระดับภูมิภาค (Regional Organization
Standard)
๕.๓ กรณีที่เป็นวิธีทดสอบอื่น ๆ ให้เสนออธิบดีเป็นผู้พิจารณาเห็นชอบว่าเป็นวิธีทดสอบที่เทียบเท่า
จึงสามารถใช้วิธีดังกล่าวในการวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่างสินค้าได้
ในการพิจารณาวิธีการทดสอบที่เทียบเท่าจะต้องพิจารณารายการสารที่ทาการทดสอบประกอบด้วย
ดังนี้
๑) รายการสารที่ทาการทดสอบต้องมีจานวนรายการและค่าเกณฑ์มาตรฐานเป็นไปตามมาตรฐาน
คุณภาพสุราที่อธิบดีประกาศกาหนด
๒) กรณีที่รายการสารที่ทาการทดสอบมีจานวนไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสุราที่อธิบดีประกาศ
กาหนด ให้ดาเนินการตามแนวทางดังต่อไปนี้
๒.๑) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ในประเทศผู้ผลิต ให้ระบุในหนังสือรับรอง
ผลการวิเคราะห์ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าว่าเป็นสารที่ประเทศผู้ผลิตไม่อนุญาตให้ใช้ใน
ขั้นตอนการผลิตสุรากลั่น
-3-

๒.๒) รายการสารที่ประเทศผู้ผลิตอนุญาตให้ใช้แต่ไม่กาหนดให้ตรวจวิเคราะห์ในรายการสาร
ที่ตรวจตามมาตรฐานของประเทศผู้ผลิต ประเทศผู้ผลิตจะต้องสามารถยืนยันและระบุในหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์
ตัวอย่างสุราหรือหนังสือรับรองการส่งออกสินค้าได้ว่า สารดังกล่าวไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสุราที่อธิบดี
ประกาศกาหนด หากไม่สามารถยืนยันได้จาเป็นต้องส่งตัวอย่างสุรามาเพื่อตรวจวิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการ ดังนี้
๒.๒.๑) ห้องปฏิบัติการของกรมสรรพสามิต
2.2.2) ห้องปฏิบั ติการของกลุ่มวิเคราะห์สินค้าและของกลาง กรมสรรพสามิต หรือ
ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานอื่นที่มีมาตรฐานของห้องปฏิบัติการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์ของกรมสรรพสามิต (Good Laboratory Practice/Excise Department : GLP/EXD) หรือสูงกว่า
และขึ้นทะเบียนไว้กับกรมสรรพสามิตตามระเบียบที่อธิบดีกาหนด

You might also like