You are on page 1of 57

การทดสอบถังเก็บนา้ มัน

วัตถุประสงค์

• อบรมการทดสอบและตรวจสอบด้วย
MassTech สาหรับสถานีบริ การน้ ามัน
เชื้อเพลิง,โรงงานอุตสาหกรรม และอื่นๆ
• มุ่งเน้นให้พลังงานจังหวัดมีความเข้าใจใน
หลักการและสามารถควบคุมการทดสอบ
และตรวจสอบได้อย่างถูกต้อง
การทดสอบถังเก็บนา้ มันใต้ดนิ

ตามพระราชบัญญัติควบคุมน้ ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542

• เมื่อมีการก่อสร้างและติดตั้งถังเก็บน้ ามันใหม่และท่อน้ ามันใหม่


จะต้องมีการทดสอบ
• ถังเก็บน้ ามันเชื้อเพลิงใต้ดินเมื่อใช้งานครบ 10 ปี จะต้องทาการ
ทดสอบถังเก็บน้ ามันและท่อน้ ามัน
• มีการเปลี่ยนชนิดน้ ามันจากถังเก็บน้ ามันดีเซลเป็ นน้ ามันเบนซิน
วิธีการทดสอบถังเก็บนา้ มันใต้ดนิ
• ทดสอบโดยใช้น้ า
• ทดสอบด้วยแรงดันอากาศหรื อก๊าซเฉื่ อย
• ทดสอบด้วยวิธีอื่นที่มีมาตรฐานเทียบเท่า
• ทดสอบด้วยวิธี MassTech
• ทดสอบด้วยวิธี Eazy 3 Plus
การทดสอบโดยใช้ แรงดันนา้ ,แรงดันอากาศหรื อก๊าซเฉื่ อย
ใช้แรงดันไม่นอ้ ยกว่า 3 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (20.6 กิโลปาสกาล)
แต่ไม่เกิน 5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (34.5 กิโลปาสกาล) ดังนี้

วิธีการทดสอบ ระยะเวลา
แรงดันน ้ำ (เฉพำะถังใหม่) ไม่น้อยกว่ำ 1 ชัว่ โมง
แรงดันอำกำศ
(ควำมจุถงั ไม่เกิน 30,000 ลิตร)
(เฉพำะถังใหม่)
ไม่น้อยกว่ำ 48 ชัว่ โมง
แรงดันก๊ ำซเฉื่อย
(ควำมจุถงั ไม่เกิน 30,000 ลิตร)
(เฉพำะถังเก่ำ)
ค่ ามาตรฐานวิกฤตของการรั่วซึม
สถาบันต่างๆในต่างประเทศ อาทิเช่น USEPAและCARB ของ
ประเทศสหรัฐอเมริ กา หรื อ BHSSE ของประเทศอังกฤษ
ได้กาหนดค่าวิกฤตของอัตราการรั่วไหลเป็ นค่ามาตรฐานและถือปฏิบตั ิ
เป็ นมาตรฐานสากล ตัวอย่างเช่น
USEPA ได้กาหนดค่ามาตรฐานวิกฤตสาหรับการรั่วไหลไว้ที่
0.1 แกลลอน/ชม. หรื อ เท่ ากับ 0.38 ลิตร/ชม.
ข้อกาหนดข้างต้นสาหรับ น้ ามันเชื้อเพลิงและไอระเหยของน้ ามัน
เชื้อเพลิงที่รั่วไหลออกจากระบบถังและท่อน้ ามันใต้ดิน ส่ วนอัตราการ
แพร่ กระจายของไอระเหยของน้ ามัน (VR1 , VR2 ) จะกาหนดค่า
มาตรฐานวิกฤตโดย CARB
อัตราการรั่วไหล 0.38 ลิตร/ชม. หมายถึงอะไร?

เงือ
่ นไขการทดสอบถังเก็บน้ ามันใต ้ดินภายใต ้มาตรฐานของ US-EPA

ถ้าดูตวั อย่างถังเก็บน้ ามันใต้ดินขนาดความจุ 40,000 ลิตร มีน้ ามันอยูค่ รึ่ งถัง


หากการที่เกิดน้ ามันรั่วไหลที่ปริ มาณ 0.380 ลิตร/ชม. เทียบได้กบั :
 ความสูงของระดับน้ ามัน ลดลง ทีร่ ะดับ 0.016 มม.
ี กาไรในอัตรา 9.12 ลิตร/วัน หรือเท่ากับ 273.6 ลิตร/เดือน
 การสูญเสย

พืน้ ที่ของพืน้ ผิวของนา้ มัน = 24 ตร.ม.


2,200 มม.

11,450 มม.
การทดสอบถังเก็บน้ ามัน

• ในปัจจุบนั นอกจากวิธีการทดสอบแบบ Pressure Decay Testing


แล้ว USEPA ได้มีการยอมรับวิธีการทดสอบถังเก็บน้ ามันที่
สามารถตรวจจับอัตราการรั่วได้ที่ 0.1 แกลลอน/ชัว่ โมง ตาม
ข้อกาหนดค่ามาตรฐานวิกฤตของ USEPA
1. วิธีการทดสอบแบบ Volumatric Testing Method
2. วิธีการทดสอบแบบ NonVolumatric Testing Method

• ทั้งสองวิธี จะใช้เครื่ องมืออุปกรณ์ในการตรวจจับการรั่วที่


แตกต่างกัน แต่จะมีการเก็บข้อมูลสถิติระหว่างการทดสอบและ
นามาประมวลผลสรุ ป เพื่อรายงานผลการทดสอบว่ามีการรั่ว
หรื อไม่และอัตราการรั่วเป็ นอย่างไร
การทดสอบถังเก็บน้ ามัน

USEPA ได้กาหนดขั้นตอนการทดสอบเพื่อประเมินวิธีการตรวจจับการ
รั่ว (Standard Test Procedures for Evaluating Leak Detection Methods) สาหรับ
Volumatric Testing Method และ NonVolumatric Testing Method โดยกาหนด
ค่าอัตราการรั่วไม่จริ ง P(FA) หรื อ False Alarm Rate และ ค่าอัตรารั่วที่
เป็ นไปได้ P(D) ที่ 0.1 แกลลอน/ชม. การประมวลผลกาหนดให้ตอ้ งนา
ข้อมูลสิ่ งแวดล้อมรอบๆถังฯทดสอบมาใช้ในการประเมินผลด้วย เช่น
• รายละเอียดของถังทดสอบ เช่น ปริ มาตรความจุของถัง, วัสดุที่ใช้ผลิตถัง,
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง , ความยาวของถัง , วัสดุที่ใช้ฝังกลบ
เช่น กรวด-ทราย
• ระดับของน้ าใต้ดิน
• ปริ มาณน้ ามันคงเหลือขณะทาการทดสอบ, ชนิ ดน้ ามัน
• อุณหภูมิ ของน้ ามัน
การทดสอบถังเก็บน้ ามัน
• US.EPA ยังได้กาหนดแบบฟอร์ม รู ปแบบของการรายงาน
ผลการทดสอบดังนี้
1. Method Description
2. Evaluation Results
3. Test Conditions During Evaluations
4. Limitations on the Results
5. Certification of Results
6. Additional Evaluation Results (If applicable)
• การทดสอบต้องทาไม่นอ้ ยกว่า 21 ครั้งซึ่งผลการทดสอบ
จะต้องถูกต้อง
การทดสอบถังเก็บน้ ามัน

MassTech เป็ นการทดสอบโดยใช้วิธีการวัดมวล (NonVolumetric Test )


และการใช้แรงดันต่า(1.45 PSI) ด้วยอุปกรณ์ตรวจจับความดันและอุณหภูมิที่
ละเอียดและแม่นยา
มีการการวัดค่าอุณหภูมิของน้ ามัน เพื่อนามาประมวลผลปรับแก้การขยายตัว
และหดตัวของน้ ามัน ทาให้สามารถตรวจหาอัตราการรั่วที่ต่ามาก ๆ ได้ถึง
ประมาณ 0.19 ลิตร/ชัว่ โมง ซึ่ งดีกว่าข้อกาหนดค่าวิกฤตการรั่วโดย US-EPA ที่
กาหนดไว้ไม่เกิน 0.38 ลิตร/ชัว่ โมง
การทดสอบถังเก็บน้ ามัน

MassTech ใช้วิธีการทดสอบแบบ NonVolumatric Testing


Method โดยติดตั้ง Probe ในถังทดสอบและ Sensor ตรวจจับการ
เปลี่ยนแปลงของแรงดันและอุณหภูมิของน้ ามัน เก็บบันทึกข้อมูล
การทดสอบด้วย Computer เพื่อการประมวลผลและสรุ ปรายงาน
ตามที่ USEPA กาหนด
ข ้อดีของการทดสอบ

• ไม่ตอ้ งสู บถ่ายน้ ามันออกจากถังเก็บน้ ามัน, ต้องการน้ ามันคงเหลืออยูใ่ นถัง 65% -


75% ในทางปฏิบตั ิจะมีน้ ามันอยูใ่ นถังเท่าใดก็ได้ การใช้แรงดันไม่เกิน
1.45psi.(10kPa) จะไม่ดนั ให้น้ ามันรั่วไหลออกจากถังได้ เนื่องจาก เป็ นแรงดันที่ต่า
กว่าค่าแรงดัน Static Lift ของน้ ามัน

• ใช้แรงดันก๊าซเฉื่ อย 1.45 PSI (10 kPa) , ทาการทดสอบตามขั้นตอน ใช้เวลาไม่นอ้ ย


กว่า 30 นาทีและไม่ควรเกิน 2 ชัว่ โมง (ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ ามันคงเหลือในถังเก็บ
น้ ามัน)

• บันทึกข้อมูลการทดสอบใน Computer สามารถสอบทานได้ถา้ มีขอ้ สงสัย

• มีการวิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุ ปผลการทดสอบ เพื่อหาตาแหน่งการรั่วและให้การ


รับรองผลได้
• ได้รับการทดสอบประเมินผลคุณภาพของวิธีการทดสอบโดย
Ken Wilcox Associates, Inc. ( KWA )
เมื่อ 26 February 1995, โดย Ken Wilcox Associates, Inc./ MassTech
001
6 August 1995, หนังสื อรับรองโดย Ken Wilcox Associates, Inc.
• ปรับปรุ งระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ ปริ มาตรช่องว่าง
(Ullage Space)
• ระดับน้ ามันขั้นต่าในถังทดสอบ
• อธิบายวิธีการทดสอบ
15 September 1995, หนังสื อรับรองโดย Ken Wilcox Associates,
Inc.
• ปรับปรุ งระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบและอัตราการรั่วที่
ตรวจวัดได้ที่อตั รา 0.05 แกลลอน/ชม.
15 September 1995, หนังสื อรับรองโดย Ken Wilcox Associates,
Inc.
• ปรับปรุ งระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบและอัตราการรั่วที่
ตรวจวัดได้ที่อตั รา 0.05 แกลลอน/ชม.
• MassTech ได้รับการทดสอบประเมิลผล คุณภาพของวิธีการทดสอบ
โดย Ken Wilcox Associates, Inc. ( KWA ) ดังนี้
5. 7 October 2004, โดย Ken Wilcox Associates, Inc.
• Evaluation of the MassTech 002 / Ullage Test System
6. 1 November 2004, โดย Ken Wilcox Associates, Inc.
• Performance Evaluation of the MassTech 2 / Wet Test Method
7. 19 November 2004, โดย Ken Wilcox Associates, Inc.
• Performance Evaluation of the MassTech 2 / Wet Test Method
8. 28 April 2005, โดย Ken Wilcox Associates, Inc.
• MassTech 2 Ullage Test System / NonVolumatric Tank Tightness
Test Method (ULLAGE)
• MassTech 2 Wet Test / Volumatric Tank Tightness Test Method
(Underfill)

การลงโปรแกรมและการใชงาน

โปรแกรม MassTech TS
• คอมพิวเตอร์ตอ้ งเป็ น Microsoft Vista Home Edition
ขึ้นไป
• Microsoft .NET extension
• Visual Basic Power Packs
เปิ ดโปรแกรม MassTech TS
1. โปรแกรมจะตรวจสอบเซ็นเซอร์
2. หน้าจอเข้าโปรแกรม
3. ข้อมูลผูท้ ดสอบและรายละเอียดสถานี
ข้อมูลผูท้ ดสอบและรายละเอียดสถานี
Technician ชื่อผูท้ ดสอบ
Code รหัสพนักงาน
Zone โซนประเทศ
Company ชื่อบริ ษทั ลูกค้า
Postcode รหัสไปรษณี
Site ชื่อสถานี
Address ที่อยูส่ ถานี
4. กรอกรายละเอียดการทดสอบ (Plan)
4. กรอกรายละเอียดการทดสอบ (Plan)
Job ลาดับตัวอักษร-งานวันแรกเป็ น “A”
Lines จานวนท่อที่ทดสอบ
Interstitial จานวนถังที่ทดสอบระหว่างชั้น
Calibration จานวนการสอบเทียบที่ทาการทดสอบ
Vapour จานวนท่อระบายอากาศที่ทาการทดสอบ
Tanks จานวนถังที่ทาการทดสอบ
หมายเหตุ ถ้ารายการไหนไม่ทดสอบให้ใส่ 0
5. กรอกรายละเอียดเรี ยบร้อยให้กด Load
เมื่อกรอกรายละเอียดเรี ยบร้อย ที่ Test List
จะมีรายละเอียด
จอ Test List

1 = ปี ค.ศ.
23 = วันที่
X XX XX XX X . X X X 45 = เดือน
67 = โซนประเทศ
1 23 45 67 8 . 9 10 11 8 = อักษรย่อยผูท้ ดสอบ
9 = ตาแหน่งทดสอบ
10 = ตาแหน่งถัง
11 = วันที่เริ่ มทดสอบ
6. กดปุ่ ม Diagnostic

จะโชว์หน้าต่างของเซ็นเซอร์
กดปุ่ ม Note

จะโชว์หน้าต่างเพื่อให้เพิ่มรายละเอียดของข้อมูล
7. จอ Test Pressure Setting

กาหนดค่าแรงดันของเซ็นเซอร์
(110 kPa)
จอ Test Pressure Setting
จอ Test Pressure Setting
จอ Test Pressure Setting

ถ้าความดันเกินให้กดปุ่ ม Stop
เพื่อยกเลิกการ Preset Pressure

ฟังค์ชนั่ Preset Pressure จะไม่ทางาน ถ้ามีการทดสอบ


A, M, P, 0 หรื อ N และปุ่ ม Preset Pressure จะไม่แสดง
Probe

โปรแกรม MassTechTS
สามารถเชื่อมต่อได้
สู งสุ ด 5 โพรบ
Probe
โปรแกรมสามารถ
เชื่อมต่อได้สูงสุ ด
5 Probe และ
สามารถทางานได้
พร้อมกัน
Probe

8. เลือก File ที่จะทดสอบ (เลือกเฉพาะ File ทดสอบถัง)


Probe

9. เลือกชนิดถังน้ ามัน
Probe

10. ให้เลือก Horizontal Cylinder


Probe

11. กรอกรายละเอียดของถังเก็บน้ ามัน


Probe
Tank ลาดับที่ของถังเก็บน้ ามัน
(Tank Linked To) การเชื่อมต่อกับถังเก็บน้ ามันอื่นๆ
Description รายเอียดถังเก็บน้ ามัน
Product ชนิดน้ ามัน
Tank Type ชนิดของถังเก็บน้ ามัน
Diameter เส้นผ่านศูนย์กลาง
Product Level ระดับของน้ ามัน
Water Level ความสูงของน้ าในถังเก็บน้ ามัน
Depth of Groundwater. ระดับน้ าใต้ดิน
Tank Floor Depth ระดับการฝังถัง
Capacity ความจุของถังเก็บน้ ามัน
Units หน่วย
Fill Gauge Reading ปริ มาณน้ ามันอ่านจากATG
Units หน่วย
Probe

12. เสร็ จแล้วให้กดปุ่ ม OK


Probe

13. โชว์ปุ่มที่เขียว A, M และ P (เฉพาะทดสอบถังน้ ามัน)


A

14. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบเปิ ด)


M1

15. กดปุ่ ม M เพื่อเป็ นการวัดมวลที่1 (M1) ระบบเปิ ด


A

16. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบเปิ ด)


P1

17. ปิ ดระบบท่อทั้งหมดทิ้งไว้ 30 นาที แล้วกดปุ่ ม P เพื่อ


วัดความดัน P1 (ระบบปิ ด)
A

18. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบปิ ด)


M2

19. กดปุ่ ม M เพื่อเป็ นการวัดมวล M2 (ระบบปิ ด)


A

20. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบปิ ด)


P2

21. เพิม่ แรงดันไนโตรเจนเป็ น 110 kPa แล้วกดปุ่ ม P เพื่อวัด


ความดัน P2 (ระบบปิ ด)
A

22. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบปิ ด)


M3

23. กดปุ่ ม M เพื่อเป็ นการวัดมวล M3 (ระบบปิ ด)


A

24. กดปุ่ ม A เพื่อวัดความดันบรรยากาศ (ระบบปิ ด)


ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ลกระทบต่อการทดสอบ

ระดับน้ า
ใต้ดิน

น้ าในถัง
อุณหภูมิ
น้ ามัน
ระดับนำ้ ใต้ ดิน
อุณหภูม ิ

อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง 1 องศาเซลเซียส จะส่ งผลกระทบทาให้ปริ มาตร


ของน้ ามันเปลี่ยนแปลงไป 25 ลิตร
นำ้ ในถังเก็บนำ้ มัน

You might also like