You are on page 1of 3

Technology

Production
ตอนที่

รอบรู้เรื่อง การสอบเทียบ >>>


2009

มาตรฐานเครื่องมือวัด
แปลและเรียบเรียงจาก CALIBRATION BOOK ของ VAISALA Oyj. Finland
(ได้รับการอนุญาตจาก VAISALA Oyj. Finland แล้ว)
เมื่อเครื่องวัดได้ถูกตรวจสอบเสถียรภาพเป็น แปลและเรียบเรียง: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์
ระยะเวลานานพอ เราก็สามารถขยายระยะเวลาการ ผู้อำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา
สอบเทียบใหม่ ได้ การขยายเวลาจะทำได้เมื่อมีการ บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำกัด
สอบเทียบอย่างน้อย 3 ครั้งในช่วงเวลา 12 เดือน

และได้ผลว่ามีคุณภาพการวัดอยู่ภายในข้อกำหนด
การตัดสินใจเกี่ยวกับช่วงเวลาการสอบเทียบจะต้อง
เฉพาะของเครื่องวัด
ทำโดยผู้ใช้เครื่องวัดเสมอ แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีแนวทางเชิง

ปฏิบัติให้ใช้เช่นกัน
ช่วงเวลาสอบเทียบมาตรฐานโดยทั่วไป
บทที่ 3 (ต่อ) ช่วงเวลาโดยทั่วไปสามารถเลือกได้จากค่าที่ให้เป็น
3.2 การประเมินช่วงเวลาการสอบเทียบมาตรฐาน ตัวอย่างในตารางที่ 1 ค่าเวลาที่แตกต่างกันนั้นเป็นการบอก
ว่ า ช่ ว งเวลาที่ สั้ น กว่ า นั้ น จะเลื อ กใช้ กั บ เครื่ อ งวั ด ที่ ส ำคั ญ
อย่างยิ่งต่องาน ส่วนช่วงเวลาที่ยาวนานกว่าก็ใช้กับเครื่องวัด
ที่ไม่สำคัญมากนัก

▼ ตารางที่ 1 ตารางแสดงช่วงเวลาสอบเทียบโดยทั่วไป
เดือน
ชนิดของเครื่องมือวัด 6 9 12 24 36 60
มิเตอร์วัดความดันแบบทางกล X X
มิเตอร์วัดความดันบรรยากาศชนิดเที่ยงตรงมาก X X X
มิเตอร์วัดความดันบรรยากาศ (Barometers) X X X
เทอร์โมมิเตอร์แบบของเหลวในแท่งแก้ว (LIGs) X X
เทอร์โมมิเตอร์ชนิดความต้านทานเปลี่ยนตามอุณหภูมิ (RTDs) และอื่น ๆ X X X X
มิเตอร์วัดจุดน้ำค้าง (Dewpoint meters) X X
มิเตอร์วัดความชื้น (Humidity meters) X X X
มิเตอร์แบบใช้ไฟฟ้า X X
มิเตอร์แบบไม่ใช้ไฟฟ้า X X X
เครื่องวัดความยาว X X X X
เครื่องวัดความยาวแบบแสดงผลด้วยไฟฟ้า X X X X

Technology Promotion Mag.. June-July 2009, Vol.36 No.205 ● 029


Technology
Production

การขยายช่วงเวลาของการสอบเทียบใหม่ วัดทั้งหมด โดยมีถึง 5 จุดหรือมากกว่า มีระยะห่างระหว่าง


เมื่อเครื่องวัดได้ถูกตรวจสอบเสถียรภาพเป็นระยะ จุดเท่า ๆ กัน เพื่อพิสูจน์ดูความเชิงเส้น (linearity) ของเครื่อง
เวลานานพอ เราก็สามารถขยายระยะเวลาการสอบเทียบ วั ด ช่ ว งวั ด ที่ ส อบเที ย บอาจเล็ ก กว่ า ช่ ว งการวั ด จริ ง หาก
>>> 2009
ใหม่ได้ การขยายเวลาจะทำได้เมื่อมีการสอบเทียบอย่าง
น้อย 3 ครั้งในช่วงเวลา 12 เดือน และได้ผลว่ามีคุณภาพ
เครื่องวัดถูกใช้งานในช่วงที่จำกัด กรณีนี้เป็นการดีในทาง
ปฏิบัติที่จะระบุช่วงวัดของเครื่องวัดที่ถูกสอบเทียบไว้เพื่อ
การวัดอยู่ภายในข้อกำหนดเฉพาะของเครื่องวัด ก่อนทำการ ป้องกันมิให้เกิดการใช้งานนอกช่วงวัดที่ทำการสอบเทียบ
ขยายช่วงเวลาสูงสุดหรือไม่ขยายเวลาของเครื่องวัดที่สำคัญ ตัววัดที่มีความเฉื่อย (Hysteresis) ควรจะถูกสอบ-
ยิ่งช่วงเวลาสอบเทียบจะสามารถขยายได้ถ้าเครื่องวัดใช้ เทียบโดยวิธีเพิ่มและลดค่าทดสอบด้วยอัตราการเปลี่ยนค่า
ร่วมกับเครื่องวัดตัวอื่นที่มีเสถียรภาพมากกว่าหรือถ้าการใช้ และเวลาเสถียรที่เท่า ๆ กัน
งานนั้นยอมให้มีความถูกต้องต่ำกว่าข้อกำหนดเฉพาะของผู้
ผลิตเครื่องวัด ในกรณีทำการสอบเทียบตามช่วงเวลาปกติ 3.4 วิธีสอบเทียบมาตรฐานโดยผู้ใช้งาน
การลดช่วงเวลาการสอบเทียบใหม่ มีหลายวิธีในการสอบเทียบมาตรฐาน ผู้ผลิตเครื่องวัด
เมื่อเครื่องวัดมีการเคลื่อนค่าวัด (drift) ออกไปมาก ก็พัฒนาวิธีที่เขาคิดว่าดีที่สุดเฉพาะเครื่องวัดนั้น ศูนย์สอบ-
กว่าข้อกำหนดเฉพาะที่ยอมให้มี ควรปฏิบัติตามกระบวน- เทียบฯ ที่ให้บริการสอบเทียบฯ เครื่องวัดทั้งหลายก็มจี ำนวน
การต่อไปนี้ หนึ่งที่มีวิธีการสอบเทียบฯ ภายในของตนเอง นักมาตรวิทยา
● กรณีที่ผลการวัดคลาดเคลื่อนเกิดจากการใช้ผิด ที่โฟกัสอย่างเข้มงวดในการพัฒนากระบวนการและเครื่องมือ
วิธีหรือเสียหาย ให้ทำการแก้ไขต้นเหตุ โดยมุ่งไปทั้งหมดที่จะให้ได้ค่าความไม่แน่นอนของการวัดต่ำ
● กรณี ที่ ผ ลการวั ด คลาดเคลื่ อ นโดยปราศจาก ที่สุด
สาเหตุที่ชัดเจน ช่วงเวลาสอบเทียบควรจะลดลงครึ่งหนึ่ง ไม่ว่าจะเลือกใช้วิธีใดก็ตาม ควรจะอยู่บนพื้นฐาน
ของช่วงเวลาปกติแรกเริ่ม ของความเข้าใจอย่างเหมาะสมถึงความต้องการที่สัมพันธ์
● พิจารณาช่วงเวลาสอบเทียบของเครื่องวัดตัวอื่น ๆ กับการสอบกลับมาตรฐาน ความเที่ยงตรงและค่าใช้จ่าย
ที่คล้ายกันว่าควรจะลดลงหรือไม่ ผู้ใช้เครื่องวัดที่ให้ความสนใจในการทำการสอบเทียบฯ
3.3 การเลือกจุดสอบเทียบมาตรฐาน ด้ ว ยตนเอง ก็ จ ะต้ อ งซื้ อ หรื อ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ สอบเที ย บ
การสอบเทียบ 1 จุด เป็นแบบทั่วไปของการสอบเทียบ มาตรฐานของตนเอง การซื้อเครื่องมือสอบเทียบฯ ไว้ใช้ก็
ณ จุดใช้งาน เป็นวิธีที่ดีสำหรับการตรวจเฝ้าดูเสถียรภาพ ควรจะพิจารณาเรื่องการลงทุนเป็นหลัก
ระหว่างการสอบเทียบเต็มรูปแบบ การสอบเทียบจุดเดียว ไม่ใช่เพียงแต่ต้องการเงินทุนสำหรับซื้อเครื่องมือ-
อาจใช้ เ พื่ อ ปรั บ แต่ ง เครื่ อ งวั ด โดยการใช้ ค่ า แก้ (offset- สอบเทียบ ฯ เท่านั้น ยังต้องการการฝึกอบรมบุคลากร (รวม
correction) ทั้งบุคลากรสำรอง) การพัฒนาวิธีสอบเทียบมาตรฐานตัว
การสอบเทียบเต็มรูปแบบควรจะครอบคลุมช่วงการ เครื่องมือมาตรฐานที่มีอยู่ อาจต้องการทรัพยากรและเวลา
เพิ่มขึ้นและควรคิดอย่างรอบคอบ จริงจัง ก่อนที่จะทำการ
ซื้อเครื่องมือ นอกจากนี้ ยังต้องด้วยคิดว่าจะจัดเก็บเครื่องมือ
มาตรฐานสำหรับการสอบเทียบฯ ภายในองค์การเองอย่างไร
เครื่องมือมาตรฐานเหล่านี้จะไปสอบเทียบฯ กับมาตรฐาน
อ้างอิงที่ใด อย่างไร เครื่องสอบเทียบนั้นถูกประดิษฐ์อย่าง
ประณีตมากและต้องการการสอบเทียบฯ ที่มีความเที่ยงตรง
สูงมากในการดำรงค่าความเที่ยงตรงของมันให้ได้ตามข้อ
คุณสมบัติจำเพาะ การส่งตัวมาตรฐานอ้างอิงไปสอบเทียบฯ
โดยผู้อื่นนั้น เป็นวิธีปฏิบัติโดยทั่วไปมากที่สุด อย่างไรก็ตาม
ค่าใช้จ่ายสามารถสูงและใช้เวลานานได้ นั่นหมายถึงการ

030 ● June-July 2009, Vol.36 No.205 Technology Promotion Mag..


Technology

หยุดทำงานของผู้ใช้งานสอบเทียบ ฯ ตามปกติไปด้วย สู ง การสอบเทียบฯ ที่สถาบั นมาตรวิทยาแห่งชาติอ าจมี

Production
การซื้ อ เครื่ อ งวั ด ยิ่ ง มากก็ ยิ่ ง ต้ อ งการทำการสอบ- ราคาแพงและใช้เวลายาวนานมากได้
เทียบฯ ภายในองค์การ อาจมีเครื่องวัดที่ต้องการใช้บริการ ลู ก โซ่ ก ารสอบกลั บ มาตรฐานสามารถเกิ ด ความ
สอบเทียบ ฯ จากบุคคลภายนอกเสมอ ผู้ใช้เครื่องวัดอาจ
เลือกส่งมาตรฐานตรงไปที่สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่ง
เข้าใจผิดหรือสับสนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเชื่อม
โยงกันมาก ๆ ดังแผนผังตัวอย่างของลูกโซ่การสอบกลับ
>>>
2009

วิธีนี้เป็นวิธีปกติของศูนย์สอบเทียบมาตรฐานระดับความ มาตรฐานของเครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้น
เที่ยงตรงสูง การสอบเทียบฯ มาตรฐานระดับความเที่ยงตรง

หน่วย SI หน่วย SI
ระดับสากล ความดัน อุณหภูมิ


สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ มาตรฐาน มาตรฐาน
แห่งชาติ แห่งชาติ


มาตรฐาน มาตรฐาน
ปฐมภูมิ ปฐมภูมิ
ห้องปฏิบัติการสอบเทียบ ฯ
ภายในองค์การ
เครื่องสร้างความชื้นปฐมภูมิ

มาตรฐาน มาตรฐาน
ใช้งานประจำ ใช้งานประจำ



การสอบเทียบมาตรฐาน
ลูกค้า เครื่องมือวัดความชื้นและอุณหภูมิ

▲ รูปตัวอย่างของลูกโซ่การสอบกลับมาตรฐานของเครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้น

เอกสารอ้างอิง
CALIBRATION BOOK ของ VAISALA Oyj. Finland, April 2006

อ่านต่อฉบับหน้า
Technology Promotion Mag.. June-July 2009, Vol.36 No.205 ● 031

You might also like