You are on page 1of 16

MACBETH

MarketAccess through Competency Based Education and Training in Horticulture

การควบคุม
เครื่องมือวัดและตรวจติดตาม

FSKN I 5

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ข้อกาหนดของ GFSI ระดับกลาง
• บริษัทต้องระบุอุปกรณ์การวัดและตรวจติดตามซึ่งมีความสาคัญต่อความ
ปลอดภัยอาหาร เพื่อให้แน่ใจว่ามีการสอบเทียบและตรวจสอบย้อนกลับ
ได้ตามมาครฐานที่เป็นที่รู้จัก

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ความสาคัญของ
การควบคุมเครื่องมือวัดและตรวจติดตาม
• อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจติดตามการควบคุมกระบวนการหรือตรวจวัดที่
จุดวิกฤติควรได้รับการควบคุมและจัดการด้วยความระมัดระวังเป็นอย่าง
ดี
• อุปกรณ์เหล่านี้จะต้องทางานอยู่ในช่วงความถูกต้องที่กาหนดและเชื่อถือ
ได้อยู่เสมอ
• หากมีการจัดการอุปกรณ์เหล่านี้ไม่ถูกต้องจะทาให้ระบบการควบคุม
ทั้งหมดเกิดความผิดพลาดและทาให้ไม่สามารถประกันความปลอดภัย
ของผลิตภัณฑ์ได้

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ตัวอย่างเครื่องมือวัดและตรวจติดตาม
• เทอร์โมมิเตอร์
• มาตรวัดความดัน
• เครื่องตรวจจับโลหะ
• เครื่องคัดแยกด้วยสี
• เครื่องวัดอัตราการไหล
• เครื่องวัดความเป็นกรด-ด่าง
• เครื่องชั่ง
• เครื่องวัดปริมาณน้าอิสระ
© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA
การสอบเทียบ
• “การตรวจสอบเครื่องมือวัดโดยการเทียบกับมาตรฐานที่ถูกต้องเพื่อ
ตรวจสอบการเบี่ยงเบนและแก้ไขความผิดพลาด”
• มาตรฐานที่ถูกต้องควรเป็นมาตรฐานสากลที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่มี
อานาจรับผิดชอบ
• จาเป็นต้องพิจารณาการเข้าถึงมาตรฐานสากลหรือทางเลือกอื่น ไม่ว่าจะ
เป็นมาตรฐานใด การบริการสอบเทียบจะต้องมีประสิทธิภาพและเชื่อถือ
ได้ ทั้งนี้อาจหาผู้ให้บริการสอบเทียบที่ได้รับการรับรอง
• สาหรับบางอุปกรณ์อาจไม่สามารถสอบเทียบกับมาตรฐานสากล แต่ก็
จาเป็นต้องแสดงว่าใช้มาตรฐานใด

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


การระบุอุปกรณ์
• จาเป็นต้องระบุอุปกรณ์ที่ต้องสอบเทียบ
และควบคุม เช่น
– อุปกรณ์ที่มีความสาคัญต่อการควบคุมจุด
วิกฤติของกระบวนการ เช่นเทอร์โมมิเตอร์
ในเครื่องพาสเจอร์ไรซ์แบบต่อเนื่องหรือรี
ทอร์ท
– อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจติดตามการวัดที่จุดวิกฤต
เช่น เทอร์โมมิเตอร์แบบพกพาที่ใช้
ตรวจสอบอุณหภูมิใจกลางของเนื้อสัตว์
ภายหลังการปรุงสุก
© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA
การควบคุมอุปกรณ์
• จาเป็นต้องมีขั้นตอน ตารางเวลา และบันทึกในรูปแบบเอกสาร
• ใช้หลักการ why, what, who, how และ when
• บันทึกและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการ
• ในระหว่างการผลิตจะต้องมีการอ้างอิงถึงความปลอดภัยของอุปกรณ์
เช่น การกาหนดชื่อบุคคลที่สามารถใช้อุปกรณ์ได้

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


การลงทะเบียนอุปกรณ์
• อุปกรณ์แต่ละชิ้นจะต้องถูกระบุโดยเลขอ้างอิงและลงบันทึกไว้
• อุปกรณ์แต่ละชิ้นจะต้องกาหนด limits of operation เช่น เทอร์โมมิเตอร์มี
limits of operation เท่ากับ ± 0.1C
• หัวหน้าคณะทางานด้านความปลอดภัยอาหารจะต้องมีทะเบียนของ
อุปกรณ์ทั้งหมด รวมถึงเลขอ้างอิง สถานที่ตั้ง ตารางการสอบเทียบ และ
ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ เช่น ความเสียหาย การซ่อมแซม การ
เบี่ยงเบนออกนอก limits of operation

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


การลงทะเบียนอุปกรณ์
Equipment Ref No Location Monitoring Calibration Comment
Dept Date
Master Digital QA/ R/Master 1 Raw material intake QA 14 /2 Send to manufacturer for
Thermometer 14/8 calibration
Master Digital QA/ R/Master 2 Raw material intake QA 14 /3 Send to manufacturer for
Thermometer 14/9 calibration
Master Digital QA/ P/Master1 Production area QA 15 /4 Send to manufacturer for
Thermometer 15/10 calibration
Retort P/Retort 1 In Line Production 16/6 Calibrate during shut down
Thermometer Retort 1
Retort P/Retort 2 In Line Production 16/6 Calibrate during shut down
Thermometer Retort 2

Retort P/Retort 3 In Line Production 16/6 Calibrate during shut down


Thermometer Retort 3

pH meter QA/L/1 QA Lab QA 17/6


pH meter Production Production area Production 17/6 Calibrate during shut down
Syrup make up

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ระเบียบปฏิบัติ
• อุปกรณทั้งหมดต้องถูกปกป้องจากความเสียหาย การเสื่อมสภาพ และ
การใช้ที่ผิดวิธี
• อุปกรณทั้งหมดต้องถูกใช้โดยบุคคลากรผู้มีอานาจซึ่งได้รับการอบรม
• ขั้นตอนต่างๆต้องมีการระบุเพื่อป้องกันการปรับเปลี่ยนจากบุคคลผู้ไม่ได้
รับอนุญาต
• ต้องให้แน่ใจว่าแผนกที่รับผิดชอบการใช้อุปกรณ์แสดงความเป็นเจ้าของ
อุปกรณ์นั้นๆ

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


อุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นต้องควบคุม
• อุปกรณ์เหล่านี้ใช้ในการตรวจติดตามแต่การตรวจวัดนั้นไม่ได้เป็นจุด
วิกฤติของความปลอดภัยอาหาร แต่ใช้บ่งชี้ลักษณะของผลิตภัณฑ์
• ตัวอย่างเช่น เทอร์โมมิเตอร์ดิจิตอล ที่ใช้ในโรงงานเพื่อตรวจสอบอุณหภูมิ
ต่างๆซึ่งไม่ใช่อุณหภูมิวิกฤติ ดังนั้นจึงไม่ถือว่าเป็นอุปกรณ์ที่ต้องควบคุม
แต่สามารถที่จะสอบเทียบกับอุปกรณ์หลัก
• สามารถใช้ประเมินความถูกต้องได้บ่อยครั้งโดยใช้เทคนิคการประเมิน
อย่างง่าย

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ตัวอย่างบันทึกการสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์
• แผนกผู้รับผิดชอบเทอร์โมมิเตอร์ต้องสอบเทียบทุกเดือนเพื่อยืนยันความ
ถูกต้องไม่เกิน ± 0.1C
• สอบเทียบโดยนาหัววัดจุ่มในน้าแข็งที่ละลาย ค่าที่อ่านได้ต้องอยู่ในช่วง -
1.0 ถึง +1.0C ภายใน 2 นาทีที่จุ่มหัววัด
• ภายในวันเดียวกันโดยนาหัววัดไปผ่านไอน้าจากหม้อต้มสองชั้นที่กาลัง
เดือด ค่าที่อ่านได้ต้องอยู่ในช่วง 99 ถึง 101
• เทอร์โมมิเตอร์ที่อ่านค่าได้นอกเหนือจากค่าที่กาหนดต้องไม่ถูกนาไปใช้
งานและส่งคืนยังผู้จัดการด้านความปลอดภัยและเปลี่ยนใหม่

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


ตัวอย่างบันทึกการสอบเทียบเทอร์โมมิเตอร์
Thermometer Ref no Date Temp Ice Temp Steam Signature Action

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


การแก้ไขสาหรับอุปกรณ์ที่ต้องควบคุม
• เนื่องจากค่าที่วัดได้จากอุปกรณ์เหล่านี้เป็นปัจจัยที่สาคัญต่อความ
ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นขั้นตอนจะต้องรวมถึงการกระทาที่จาเป็น
ในกรณีที่ตรวจพบว่าอุปกรณ์ทางานนอกช่วงเฉพาะที่กาหนด
• การแก้ไขจะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้นาคณะทางานด้านความ
ปลอดภัยอาหารและจะต้องปฏิบัติอย่างทันที

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA


การขออนุญาตเพื่อเผยแพร่ซ้า
• © 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกน และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อนุญาตให้เผยแพร่ดัดแปลงโดยต้องระบุที่มา และต้องเผยแพร่งาน
ดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน (Creative Commons Attribution-
Share Alike 3.0 Unported; CC-BY-SA).
• แหล่งที่มา: © 2009 Global Food Safety Initiative and Michigan State
University,แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org อนุญาตให้เผยแพร่
ดัดแปลงโดยต้องระบุที่มา และต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญา
อนุญาตเดียวกัน (CC-BY-SA).
• สามารถตรวจสอบสาเนาใบอนุญาตขอเผยแพร่ ได้ที่
http://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/ หรือส่งจดหมายไปยัง
Creative Commons, 559 Nathan Abbott Way, Stanford, California
94305, USA.
© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA
License to Reuse
• © 2012 Michigan State University, and Global Food Safety Initiative, licensed
using Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 Unported (CC-BY-SA).

• Source: © 2009 Global Food Safety Initiative and Michigan State University,
original at http://www.fskntraining.org, licensed using Creative Commons
Attribution-Share Alike 3.0 Unported.

• To view a copy of this license, visit http://creativecommons.org/licenses/by-


sa/3.0/ r send a letter to Creative Commons, 559 Nathan Abbott Way, Stanford,
California 94305, USA.

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

You might also like