You are on page 1of 74

16/4/2563 สภาวิศวกร


สภาวิศวกร | Council of engineers

ก รข
วิชา : Quality Control

ิ ว
าวศ
เนือหาวิชา : 193 : 01 Meaning and Concept of Quality Control and Quality Improvement
สภ
ข ้อที 1 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
1 : การทําแผนหรือระบบเพือสร ้างความมันใจให ้ลูกค ้า เพือตอบสนองสิงทีลูกค ้าคาดหวัง
2 : การรักษาคุณภาพให ้ได ้ในระดับเดิม โดยแก ้ไขเมือกระบวนการผิดจากเป้ าหมาย
3 : การควบคุมค่าเฉลียของกระบวนการให ้คงที
4 : การควบคุมค่าความผันแปรของกระบวนการให ้คงที

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
คุณสมบัตข ิ องผลิตภัณฑ์และ/หรือบริการในการตอบสนองต่อความต ้องการในการใช ้งาน ตรงกับข ้อใด
1 : สมรรถนะ(Performance)
2 : ความสามารถในการใช ้งานได ้(Serviceability)
3 : ความทนทาน(Durability)
4 : ความถูกต ้องตรงกัน(Conformance)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 3 :
คํากล่าวในข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : "Nonconforming Product" คือ ผลิตภัณฑ์ทบกพร่
ี องและไม่เหมาะกับการใช ้งาน
2 : ผลิตภัณฑ์ทมี ี เหมาะสมต่อการใช ้งาน
ี "Nonconformity" คือ ผลิตภัณฑ์ทไม่
3 : "Nonconformity" คือ ความบกพร่องทีเกิดกับผลิตภัณฑ์
4 : "Nonconforming Product" จะมี "nonconformity" อยู่

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 4 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่ตวั วัดคุณภาพ
1 : ความทนทาน(Durability)
2 : ความสุนทรีย(์ Aesthetics)
3 : ลักษณะ(Features)
4 : ราคา(Price)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 5 :
ข ้อใดมีขนตอนคล
ั ้ายกับ DMAIC
1 : PDCA
2 : DFSS
3 : TQM
4 : ISO

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 6 :
จุดประสงค์ของการทํา QC คือข ้อใด
1 : วิเคราะห์สาเหตุของความล ้มเหลวของผลิตภัณฑ์ในเชิงคุณภาพ
2 : เพิมประสิทธิภาพทางการตลาด

ิ ธ

3 : ขจัดข ้อโต ้แย ้งระหว่างผู ้ผลิตและผู ้ใช ้


สท

4 : ควบคุมคุณภาพให ้ได ้มาตรฐานตามทีกําหนดไว ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ง วน

ข ้อที 7 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 1/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ถ ้าจะวางระบบ QC ในโรงงาน ควรศึกษาหาข ้อมูลใดก่อน

รข
1 : ข ้อกําหนดของทุกผลิตภัณฑ์ (Specification)
2 : กรรมวิธกี ารผลิต
3 : การสร ้างแผนภูมค ิ วบคุม


4 : แผนการสุม ่ ตัวอย่าง

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

าวศ
สภ
ข ้อที 8 :
ถ ้าต ้องการเป็ นผู ้นํ าทางด ้านการคิดค ้นพัฒนา หรือนวัตกรรมใหม่ คุณภาพระดับใดทีจะต ้องตอบสนอง
1 : คุณภาพทีมีเสน่ห(์ Attractive Quality)
2 : คุณภาพมิตเิ ดียว(One-Dimensional Quality)
3 : คุณภาพทีต ้องมี(Must-be Quality) ทดสอบ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 9 :
QA และ QC มีความสัมพันธ์กน
ั อย่างไร
1 : QA เน ้นกระบวนการ หรือวิธกี าร QC เน ้นผลลัพธ์ ไม่สม ั พันธ์กน ั
2 : QA เน ้นผลลัพธ์ QC เน ้นกระบวนการ หรือวิธก ี าร ไม่สมั พันธ์กนั
3 : QA เน ้นกระบวนการ หรือวิธก ี าร QC เน ้นผลลัพธ์ เเละ QC เป็ นส่วนหนึงของ QA
4 : QA เน ้นผลลัพธ์ QC เน ้นกระบวนการ หรือวิธก ี าร เเละ QA เป็ นส่วนหนึงของ QC

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 10 :
ข ้อใดต่อไปนีผิด
1 : สาเหตุของความแปรปรวนในกระบวนการแบ่งออกเป็ น ความแปรปรวนเนืองมาจากธรรมชาติของกระบวนการผลิต (Common Cause) และ
ความแปรปรวนเนืองมาจากสาเหตุเฉพาะหรือสาเหตุพเิ ศษ (Special cause) ความแปรปรวนอันเนืองมาจากสาเหตุเฉพาะนีมักเป็ นผลพวงมาจาก
การทีมีความผิดปกติในกระบวนการการผลิต เช่น การเปลียนแปลงของวัสดุ วิธก ี ารผลิต หรือ เครืองจักร
2 : เป้ าหมายหลักของการใช ้แผนภูมค ิ วบคุม คือ การลดความแปรปรวนในกระบวนการ
3 : ผู ้ผลิตควรมุง่ เน ้นตรวจสอบเพือคัดของเสียออกจากกระบวนการ มากกว่าทีจะป้ องกันการเกิดของเสีย
4 : คุณภาพ คือ ความพึงพอใจของลูกค ้า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 11 :
เทคนิคใดใช ้ในการควบคุมคุณภาพในระหว่างกระบวนการผลิต
1 : การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)
2 : แผนภูมค ิ วบคุม (Control Chart)
3 : การชักตัวอย่างเพือการยอมรับ (Acceptance Sampling)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 12 :
ข ้อใดไม่ใช่มต
ิ ค
ิ ณ
ุ ภาพ 8 ประการ (dimensions of quality) ทีนํ าเสนอโดย Garvin (1987)
1 : สมรรถนะ(Performance)
2 : ความเชือถือได ้(Reliability)
3 : ความเหมาะสมสําหรับการใช ้งาน(Fitness for use)
4 : ความสุนทรีย(์ Aesthetics)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 13 :
ผู ้จัดการโรงงานแห่งหนึงส่งช่างเชือมทีก่อให ้เกิดงานเสียเนืองจากการเชือมบ่อย เข ้าฝึ กอบรมในหลักสูตร “การเชือมเพือลดของเสีย” ค่าใช ้จ่ายใน
การส่งช่างเชือมเข ้าอบรมจัดเป็ นค่าใช ้จ่ายประเภทใด

ิ ธ

1 : ต ้นทุนเชิงป้ องกัน(prevention costs)


สท

2 : ต ้นทุนจากการประเมินคุณภาพ(appraisal costs)
3 : ต ้นทุนคุณภาพด ้านความล ้มเหลวภายใน(internal failure costs)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 2/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 14 :

รข
กระบวนการกลึงเพลา มีข ้อกําหนดขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 20 +/-0.2 มม. โดยใช ้เครืองกลึงแบบกึงอัตโนมัต ิ พนักงานแผนก QA สุม ่ ชินงานทีกลึง
แล ้วจํานวน 30 ชุด ๆ ละ 4 ชิน มาตรวจสอบเพือสร ้างแผนภูมค ่ ายใต ้การควบคุม โดยมีคา่ เฉลียของเส ้นผ่านศูนย์กลาง
ิ วบคุม พบว่ากระบวนการอยูภ
และค่าเฉลียของพิสย ั เท่ากับ 19.99 และ 4.118 มม. ตามลําดับ เราควรจะปรับปรุงกระบวนการอย่างไร


1 : เพิมค่าเฉลียของกระบวนการ

ิ ว
2 : ลดความผันแปรของกระบวนการ
3
4
:
: าวศ
เพิมค่าเฉลียของกระบวนการและลดความผันแปรของกระบวนการพร ้อมกัน
กระบวนการมีความสามารถดีอยูแ
่ ล ้ว
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 15 :
ข ้อใดคือความหมายของ "คุณภาพ" ในสมัยใหม่
1 : ความเหมาะสมของการนํ าไปใช ้งาน
2 : ความสามารถในการตอบสนองต่อความพึงพอใจของลูกค ้า
3 : ความสอดคล ้องกับข ้อกําหนดของผลิตภัณฑ์
4 : การทีผลิตภัณฑ์มค
ี วามผันแปรตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 16 :
ข ้อใดเป็ นความหมายของการควบคุมคุณภาพ
1 : การเปรียบเทียบสิงทีทําได ้กับเป้ าหมายและแก ้ไขในส่วนต่าง
2 : การคัดแยกของดีออกจากของเสีย
3 : การยกระดับเป้ าหมายให ้สูงขึน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 17 :
ข ้อใดไม่ได ้จัดอยูใ่ นต ้นทุนคุณภาพด ้านความล ้มเหลวภายใน (Internal Failure Cost)
1 : การนํ ากลับไปซ่อมใหม่
2 : การนํ ากลับไปทดสอบใหม่
3 : การทดสอบเครืองมือให ้พร ้อมใช ้งาน
4 : การวิเคราะห์สาเหตุของของเสียทีเกิดขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 18 :
ข ้อใดจัดอยูใ่ นต ้นทุนคุณภาพด ้านความล ้มเหลวภายนอก (External Failure Cost)
1 : การตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดบ ่ ระบวนการผลิต
ิ ทีจะเข ้าสูก
2 : การซ่อมสินค ้าให ้ลูกค ้าในช่วงเวลารับประกัน
3 : การทดสอบเครืองมือให ้พร ้อมในการใช ้งาน
4 : การวิเคราะห์ถงึ สาเหตุของของเสียทีเกิดขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 19 :
ข ้อใดเป็ นลําดับของการจัดฝึ กอบรมทางด ้านคุณภาพ 1. กําหนดหัวข ้อการอบรม 2. จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม 3. กําหนดวัตถุประสงค์ของ
การอบรม 4. กําหนดความต ้องการในการอบรม
1 : 4, 1, 3, 2
2 : 4, 3, 1, 2
3 : 3, 4, 1, 2
4 : 1, 4, 3, 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ิ ธ

ข ้อที 20 :
สท

ข ้อใดเป็ นต ้นทุนคุณภาพทีซ่อนเร ้น (Hidden quality costs)


1 : ต ้นทุนในการฝึ กอบรมพนักงาน
2 : ั ยภาพ
การสูญเสียลูกค ้าทีมีศก
วน

3 : ต ้นทุนในการรายงานเกียวกับของเสีย (Scrap)
4 : ต ้นทุนการพัฒนาสินค ้าใหม่

อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 3/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 21 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นดัชนีชวัี ดเกียวกับต ้นทุนคุณภาพทีเหมาะสําหรับผู ้บริหารระดับสูง


1 : ต ้นทุนคุณภาพรวมในหน่วยของบาท

ิ ว
2 : ต ้นทุนคุณภาพต่อผลิตภัณฑ์ทผลิ
ี ต

าวศ
3 : ต ้นทุนคุณภาพเปรียบเทียบกับกําไร
4 : ต ้นทุนคุณภาพเปรียบเทียบกับค่าใช ้จ่ายพนักงาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 22 :
ข ้อมูลใดมีความจําเป็ นต่อการทําวิจัยตลาด (Market Research) เพือศึกษาเกียวกับคุณภาพ
1 : รูปแบบและรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์
2 : ระดับคุณภาพของคูแ ่ ข่งในตลาด
3 : ระดับคุณภาพของบริษัทในตลาด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 23 :
ต ้นทุนคุณภาพเนืองจาก “Poor quality” หมายถึงข ้อใด
1 : ความล ้มเหลวภายในและภายนอก(Internal และ External failure)
2 : การตรวจสอบ(Inspections) และ การทดสอบ(Tests)
3 : งานซ่อม(Reworks) และ ของเสีย(Scrap)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 24 :
ต ้นทุนสําหรับการคัดเลือกผู ้ส่งมอบวัตถุดบ
ิ (Vendor) ทีเหมาะสมคือต ้นทุนคุณภาพในข ้อใด
1 : ต ้นทุนจากความล ้มเหลว(Failure cost)
2 : ต ้นทุนจากการประเมิน(Appraisal cost)
3 : ต ้นทุนเชิงป้ องกัน(Prevention cost)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 25 :
การทบทวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ต ้องใช ้ข ้อมูลใดประกอบ
1 : การทบทวนการออกแบบกระบวนการ
2 : การทบทวนนโยบายของฝ่ ายบริหาร
3 : การทบทวนทัศนะคติของพนักงาน
4 : การทบทวนวัฒนธรรมด ้านคุณภาพขององค์กร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 26 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับหลักปรัชญาของเดมมิง
1 : คนงานมีความสําคัญทีสุดต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์
2 : การจ่ายค่าแรงงานทียุตธิ รรมกับลูกจ ้างและนายจ ้างควรใช ้ระบบรางวัลจูงใจ
3 : ฝ่ ายบริหารควรมององค์กรแบบองค์รวม
4 : ควรส่งเสริมให ้พนักงานในทุกแผนกมีการสือสารทีดีและทํางานร่วมกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 27 :

ข ้อใดต่อไปนีกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง
ิ ธ
สท

1 : “Shewhart” เป็ นผู ้คิดค ้นแผนภูมค


ิ วบคุม
2 : ่ ตัวอย่าง
“Dodge และ Romig” เป็ นผู ้คิดค ้นแผนการสุม
3 : “Deming” เป็ นบุคคลสําคัญในการเผยแพร่หลักการควบคุมคุณภาพในประเทศญีปุ่ น
วน

4 : ผู ้ประกอบการในอเมริกาให ้ความสนใจการควบคุมคุณภาพโดยใช ้หสักทางสถิตก


ิ อ
่ นผู ้ประกอบการในญีปุ่ น

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 4/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 28 :

รข
ความหมายของคุณภาพทีดีควรครอบคลุมถึงหลักการในข ้อใดบ ้าง
1 : การเน ้นการป้ องกันมากกว่าการควบคุม


2 : เน ้นการปรับปรุงอย่างต่อเนือง
3 : ควรเน ้นทังการออกแบบกระบวนการ และออกแบบผลิตภัณฑ์

ิ ว
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สภ

ข ้อที 29 :
ในการเลือกสภาผู ้แทนราษฎร พรรคการเมืองเน ้น “คุณภาพ” ของนักการเมืองทีดี ควรเลือกจากพรรคทีสังกัดว่ามีประวัตท
ิ ดี
ี และเป็ นสถาบันทางการ
เมือง ตรงกับลักษณะทางคุณภาพในข ้อใด
1 : ความสามารถในการใช ้งานได ้(Serviceability)
2 : คุณภาพทีถูกกําหนด(Perceived Quality)
3 : สมรรถนะ(Performance)
4 : ความเชือถือได ้(Reliability)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 30 :
นาย ก. เลือกผู ้มัคร สส. โดยพิจารณาจากรูปร่างหน ้าตาของผู ้สมัคร เพราะไม่มข
ี ้อมูลเกียวกับผลงานของผู ้สมัครเลย ตรงกับลักษณะทางคุณภาพใน
ข ้อใด
1 : สมรรถนะ(Performance)
2 : ความสุนทรีย(์ Aestheties)
3 : ลักษณะ(Features)
4 : ความเชือถือได ้(Reliability)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 31 :
ในอุตสาหกรรมโทรศัพท์มอ ื ถือมีการแข่งขันสูงมาก ดังนัน จึงต ้องมีการเปลียนแปลงรูปแบบใหม่ๆ ทุกสัปดาห์ ผู ้จัดการฝ่ ายออกแบบพยายามคิด
ั ในการทํางานเสริมใหม่ๆ ของโทรศัพท์มอ
ฟั งก์ชน ื ถือเพือดึงดูดลูกค ้าวัยรุน
่ แสดงว่าควรเน ้นลักษณะคุณภาพในด ้านใด
1 : ลักษณะ(Features)
2 : ความสุนทรีย(์ Aestheties)
3 : สมรรถนะ(Performance)
4 : ความเชือถือได ้(Reliability)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 32 :
ุ่ ประหยัดนํ ามัน และสามารถใช ้นํ ามันจากไบโอดีเซลได ้ ควรเน ้น
ฝ่ ายบริหารของบริษัทผลิตรถยนต์แห่งหนึงให ้นโยบายว่าในปี 2550 จะเน ้นรถยนต์รน
ลักษณะคุณภาพในด ้านใด
1 : ความเชือถือได ้(Reliability)
2 : ความสามารถในการใช ้งานได ้(Serviceability)
3 : ลักษณะ(Features)
4 : ความถูกต ้องตรงกับมาตรฐาน(Conformance to Standard)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 33 :
ผู ้จัดการแผนกบรรจุภณ
ั ฑ์พบว่ายอดขายสินค ้าของบริษัทลดลง เพราะบรรจุภณ
ั ฑ์ไม่ทน
ั สมัย ในกรณีนบริ
ี ษัทควรเน ้นลักษณะคุณภาพในข ้อใด
1 : สมรรถนะ(Performance)
2 : ความถูกต ้องตรงกับมาตรฐาน(Conformance to Standard)
3 : ลักษณะ(Features)
4 : ความสุนทรีย(์ Aestheties)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ธ

เนือหาวิชา : 194 : 02 Quality Management: TQM, Six Sigma, National Quality Award, Quality Standards
สท
วน

ข ้อที 34 :
ท่านคิดว่าข ้อใดต่อไปนีกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management)

1 : TQM เป็ นระบบทีให ้พนักงานมีสว่ นร่วมในการปรับปรุงการทํางาน


อส

2 : TQM เป็ นการสร ้างความมันใจให ้กับลูกค ้าในเชิงรุก


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 5/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : TQM เป็ นระบบทีมุง่ ปฏิบต
ั ต
ิ ามลายลักษณ์อก ั ษร
4 : TQM เป็ นระบบทีฝ่ ายบริหารต ้องมีสว่ นร่วมโดยตรง

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3


ิ ว
าวศ
ข ้อที 35 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่ประเภทของการตรวจติดตามคุณภาพในระบบ ISO9001:2000
1 : Internal Audit
สภ
2 : Second Party Audit
3 : Third Party Audit
4 : Product Audit

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 36 :
ตําแหน่งต่อไปนี เป็ นทีนิยมอยูใ่ นผังองค์กรทีดําเนินงานตามระบบบริหารงานแบบ Six Sigma ยกเว ้นข ้อใด
1 : Champion
2 : Black Belt
3 : Red Belt
4 : Green Belt

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 37 :
หัวใจของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management) คือ
1 : สร ้างผลกําไร
2 : ลดต ้นทุน
3 : สร ้างความพึงพอใจต่อลูกค ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 38 :
ข ้อใดไม่ใช่แนวคิด (concept) ของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management) ตามรูปแบบของ ดร.คาโน
1 : กระบวนการถัดไป คือลูกค ้า
2 : วงจร P – D – C – A
3 : การจัดทํามาตรฐานการทํางาน (Standardization)
4 : การทํางานข ้ามสายงาน (Cross Function Team)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 39 :
ข ้อใดไม่ได ้จัดอยูใ่ นประเภทของแนวคิดของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management)
1 : Market-In
2 : Management by Fact
3 : Process Oriented
4 : 7 QC Tools & Suggestion System

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 40 :
ข ้อใดคือแนวคิดของการลดต ้นทุนทีถูกต ้องตามหลักการของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management)
1 : การลดต ้นทุน คือ การตัดค่าใช ้จ่ายลง
2 : การลดต ้นทุน คือ การลดคุณภาพของสินค ้าลง
3 : การลดต ้นทุน คือ การต่อรองราคาวัตถุดบิ ให ้ตําสุด
4 : การลดต ้นทุน คือ การลดความสูญเปล่าในระบบงาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ธ
สท

ข ้อที 41 :
งวน

ข ้อใดเป็ นสิงแรกทีควรกระทําเพือให ้ได ้ระดับคุณภาพทีดี


1 : การกําหนดขันตอนการผลิตทีชัดเจน
2 : การวางแผนการตรวจสอบคุณภาพ
อส

3 : การกําหนดวิธก
ี ารป้ องกันปั ญหาด ้านคุณภาพ
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 6/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


4 : การศึกษาถึงความต ้องการของลูกค ้า

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 4


ิ ว
ข ้อที 42 :

าวศ
QA ในโรงงานหมายถึงข ้อใด
1 : Quality Analysis
2 : Quality Automation
สภ
3 : Quality Acceptance
4 : Quality Assurance

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 43 :
QCC หมายถึงข ้อใด
1 : Quality Control Cooperation
2 : Quality Control Circle
3 : Quality Control Concept
4 : Quality Control Conventional

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 44 :
การเริมทําQuality Control Circle (QCC) ควรเริมจากกิจกรรมอะไรก่อน
1 : แบ่งพนักงานในบริษัทเป็ นกลุม

2 : กําหนดเป็ นนโยบายบริษัทโดยผ่านความเห็นชอบจากผู ้บริหารระดับสูงก่อน
3 : ตังชือคณะกรรมการดูแลกิจกรรม QCC
4 : พนักงานในบริษัทลงคะแนนเสียงเพือเลือกหัวข ้อ QCC

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 45 :
ข ้อใดต่อไปนี ไม่ใช่ ต ้นทุนคุณภาพ
1 : งานทีต ้องทิง (Scrap)
2 : งานทําซํา (Rework)
3 : งานทดสอบซํา (Retest)
4 : ต ้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 46 :

สินค ้าทีมีเครืองหมายดังต่อไปนี ไม่ได ้ครอบคลุมถึง


1 : การคุ ้มครองผู ้บริโภค
2 : การรักษาสิงแวดล ้อม และทรัพยากรธรรมชาติ
3 : การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให ้สามารถแข่งขันได ้ในตลาดโลก
4 : การสร ้างความเป็ นธรรมในการซือขาย ขจัดปั ญหา และอุปสรรคทางการค ้าทีเกิดจากมาตรการด ้านมาตรฐาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 47 :
การขอรับรองสัญลักษณ์ฉลากเขียวของสินค ้าทีผลิตขึน แสดงว่าสินค ้าทีผลิตมีสว่ นช่วยในการลดมลภาวะจากสิงแวดล ้อม และเพือผลักดันให ้ผู ้ผลิต
ใช ้เทคโนโลยี หรือวิธก
ี ารผลิต ทีให ้ผลกระทบต่อสิงแวดล ้อมน ้อย จะสามารถติดต่อขอรับรองได ้จากหน่วยงานใดของรัฐ

ิ ธ
สท

1 : กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
2 : กรมส่งเสริมการส่งออก
3 : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อต
ุ สาหกรรม
วน

4 : กรมโรงงาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 7/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 48 :

รข
ข ้อใดไม่ใช่หลักการพืนฐานของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management หรือTQM)
1 : ่ ู ้ปฎิบต
มีการจัดการทีเกียวข ้องและยอมรับจากทางฝ่ ายบริหารระดับสูงลงสูผ ั ก
ิ ารและจากระดับผู ้ปฏิบต
ั ก ่ ู ้บริหารระดับสูง
ิ ารไปสูผ


2 : มีการให ้ความร่วมมือจากทุกฝ่ าย
3 : มีการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนืองทังทางธุรกิจและการผลิต

ิ ว
4 : ลดปริมาณของเสียเป็ นศูนย์

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สภ

ข ้อที 49 :
ข ้อใดเป็ นต ้นทุนทีเกียวข ้องกับคุณภาพ
1 : ต ้นทุนเชิงป้ องกัน (Prevention costs)
2 : ต ้นทุนจากการประเมินคุณภาพ (Appraisal costs)
3 : ต ้นทุนจากความล ้มเหลว (Failure costs)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 50 :
การซ่อมของเสียในขณะผลิต เป็ นตัวอย่างของต ้นทุนคุณภาพในด ้านใด
1 : ต ้นทุนจากความล ้มเหลวภายใน (Internal failure costs)
2 : ต ้นทุนจากความล ้มเหลวภายนอก (External failure costs)
3 : ต ้นทุนเชิงป้ องกัน (Prevention costs)
4 : ต ้นทุนจากการประเมินคุณภาพ (Appraisal costs)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 51 :
ISO 9000 มีวต
ั ถุประสงค์ในด ้านใด
1 : ผลิตภัณฑ์
2 : ขันตอนในการผลิต
3 : ขันตอนในการจัดการด ้านคุณภาพ
4 : ข ้อกําหนดของผู ้ขาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 52 :
ข ้อใดถูกต ้องเกียวกับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14000
1 : ไม่ได ้เป็ นเงือนไขทีต ้องทําให ้เสร็จก่อนสําหรับการขอการรับรอง ISO 9000
2 : เป็ นการจัดการด ้านสิงแวดล ้อม
3 : เป็ นระบบทีดีในการป้ องกันมลภาวะ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 53 :
การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management หรือ TQM) เน ้นในเรืองใด
1 : ความรับผิดชอบของทีมงานด ้านคุณภาพในการระบุและแก ้ปั ญหาทีเกียวข ้องกับคุณภาพ
2 : การบริหารจัดการคุณภาพทีเน ้นให ้ทุกคนในองค์กรมีสว่ นร่วมในด ้านคุณภาพ
3 : ระบบทีผู ้จัดการซึงทีมีอํานาจจะเป็ นผู ้ตัดสินใจได ้เท่านัน
4 : การให ้นักสถิตเิ ป็ นผู ้แก ้ปั ญหาด ้านคุณภาพ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 54 :
ข ้อใดมิใช่หลักการของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management หรือ TQM)

1 : การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือง
ิ ธ

2 : การให ้พนักงานมีสว่ นร่วมในการปรับปรุงคุณภาพ


สท

3 : อํานาจในการตัดสินใจทีศูนย์กลาง
4 : การใช ้เครืองมือทางสถิตใิ นการปรับปรุงคุณภาพ
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 8/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 55 :

รข
ไคเซนเป็ นภาษาญีปุ่ นมีความหมายว่าอย่างไร
1 : วิธก
ี ารป้ องกันความผิดพลาด


2 : การผลิตแบบทันเวลา
3 : การจัดทํามาตรฐาน

ิ ว
4 : การปรับปรุงอย่างต่อเนือง

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สภ

ข ้อที 56 :
โปกาโยเกะ (Poka-yoke) เป็ นภาษาญีปุ่ นหมายถึงอะไร
1 : บัตร (Card)
2 : เทคนิคป้ องกันความผิดพลาด (Foolproof)
3 : การปรับปรุงอย่างต่อเนือง
4 : การผลิตแบบทันเวลา

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 57 :
ระบบการให ้คะแนนรางวัลคุณภาพแห่งชาติจะขึนอยูก
่ บ
ั การประเมินใน 2 มิตไิ ด ้แก่
1 : กระบวนการ และ วิธกี าร
2 : ผลลัพธ์ และ คุณภาพ
3 : วิธก
ี าร และ คุณภาพ
4 : กระบวนการ และ ผลลัพธ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 58 :
คาโนได ้แบ่งคุณลักษณะของสินค ้าทีมีผลต่อความพึงพอใจของลูกค ้าออกเป็ น 3 ประเภท ข ้อใดหมายถึง คุณลักษณะทีลูกค ้าไม่ได ้คาดหวัง แต่หากผู ้
ขายมี ก็จะทําให ้ลูกค ้าพึงพอใจอย่างมาก
1 : Dissatisfier
2 : Satisfier
3 : Attractive Quality
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 59 :
การแบ่งลูกค ้าเป็ นลูกค ้าภายในและลูกค ้าภายนอกเพือวัตถุประสงค์ใดเป็ นสําคัญ
1 : เพือจะได ้ทราบความต ้องการของลูกค ้า
2 : เพือให ้สามารถแยกวิธก
ี ารบริหารออกจากกันได ้เด็ดขาด
3 : เพือลดความซับซ ้อนในการบริหารงาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 60 :
ข ้อใดเป็ นกิจกรรมในการวางแผนคุณภาพ
1 : การทําแผนด ้านคุณภาพเพือรักษาระดับความพึงพอใจของลูกค ้า
2 : การตังเป้ าหมายทางคุณภาพ
3 : การพิจารณาความต ้องการของลูกค ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 61 :
การจัดของทีใช ้งานให ้เป็ นหมวดหมูเ่ ป็ นกิจกรรมใดใน 5 ส

ิ ธ

1 : สะสาง
สท

2 : สะดวก
3 : สะอาด
4 : สุขลักษณะ
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 9/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 62 :

รข
โดยปกติ พืนทีใต ้โค ้งปกติทอยู
ี น ั ส่วนของเสียทีอยูน
่ อก μ±6σ มีคา่ 0.002 ppm แต่ทําไมในระบบ Motorola six-sigma จึงมีสด ่ อก μ±6σ จึงมีคา่
3.4 ppm


1 : เพราะค่าเฉลียของกระบวนการคงที
2 : เพราะค่าเฉลียของกระบวนการค่อนข ้างคงที

ิ ว
3 : เพราะมีสมมติฐานให ้ค่าเฉลียของกระบวนการเบียงเบนได ้ ±1.5σ
4 :
าวศ
ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 63 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่กจิ กรรมในช่วงการวางแผนการตรวจสอบคุณภาพ (audit)
1 : การศึกษาทบทวนเอกสาร
2 : การเตรียมรายการตรวจสอบ (checklists)
3 : การชีแจงจุดประสงค์ในการตรวจสอบ
4 : การจัดตารางการตรวจสอบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 64 :
มอก. 18000 เป็ นมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อต
ุ สาหกรรมว่าด ้วย
1 : การจัดการสิงแวดล ้อมในโรงงานอุตสาหกรรม
2 : การจัดการความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
3 : การประกันคุณภาพของสินค ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 65 :
มาตรฐานใดต่อไปนีเป็ นมาตรฐานทีเกียวข ้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์
1 : ISO 9001
2 : ISO 14000
3 : TS 16949
4 : ISO 17025

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 66 :
กําหนดสเปกชินงาน (specification) มีคา่ เท่ากับ 10±0.6 หน่วย กําหนดให ้ขนาดของชินงานแจกแจงปกติโดยมีคา่ เฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 10.3 และ 0.2 หน่วย ตามลําดับ ถ ้าผู ้ผลิตประยุกต์ใช ้หลักการของ Six Sigma ในการลดความผันแปรของกระบวนการจนสําเร็จ คือ ลดความ
ผันแปรได ้ตามเป้ าหมายเชิงทฤษฎีอย่างสมบูรณ์ ทีระดับ Six Sigma โดยมิได ้ปรับปรุงค่าเฉลียของกระบวนการ ทีระดับคุณภาพใหม่นจะมี
ี คา่ คาด
หมายของชินงานทีเสียจากกระบวนการผลิตกี ppm
1 : 66810
2 : 2700
3 : 1350
4 : 3.4

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 67 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management หรือ TQM) TQM
1 : เป็ นการจัดการคุณภาพทีทุกคนในองค์กรต ้องตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพและมีสว่ นร่วม
2 : เป็ นการจัดการคุณภาพทีรวมระบบคุณภาพเข ้าไว ้ในเป้ าหมายของธุรกิจ
3 : เป็ นระบบการจัดการคุณภาพทีมุง่ เน ้นการตอบสนองความต ้องการของลูกค ้า (Customer Focus)
4 : เป็ นการจัดการคุณภาพทีมุง่ เน ้นพัฒนาการด ้านคุณภาพแบบก ้าวกระโดด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ธ
สท

ข ้อที 68 :
ข ้อใดเป็ นสิงทีจะต ้องกระทําก่อนนํ าระบบการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management หรือ TQM) ไปประยุกต์ใช ้
1 : กําหนดพันธกิจขององค์กร
งวน

2 : กําหนดกลยุทธ์ทางคุณภาพ
3 : กําหนดเป้ าหมายทางด ้านคุณภาพ
4 : กําหนดวิธกี ารปรับปรุงคุณภาพ
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 10/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

รข
ข ้อที 69 :


ข ้อใดเป็ นองค์ประกอบของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management ,TQM)

ิ ว
1 : การทีทุกคนในองค์กรมีสว่ นร่วมในเรืองคุณภาพ
2
3
4
:
:
:
าวศ
การนํ าสถิตไิ ปใช ้ในการปรับปรุงคุณภาพ
การสือสารนโยบายจากผู ้บริหารสูพ
ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
่ นักงาน
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 70 :
ข ้อใดไม่ถกู ต ้อง
1 : กระบวนการทีมีระดับคุณภาพที 6 Sigma จะมีของเสียประมาณ 3.4 ส่วนในล ้านส่วน
2 : บริษัททีนํ าระบบบริหารคุณภาพแบบ 6 Sigma ไปใช ้ จะมีของเสียประมาณ 3.4 ส่วนในล ้านส่วน
3 : กระบวนการทีมีระดับคุณภาพที 6 Sigma จะมีของเสียน ้อยกว่ากระบวนการทีมีระดับคุณภาพที 3 Sigma
4 : กระบวนการทีมีระดับคุณภาพที 3 Sigma จะมีความผันแปรมากกว่ากระบวนการทีมีระดับคุณภาพที 6 Sigma เมือช่วงความกว ้างของข ้อกําหนด
ของผลิตภัณฑ์เท่ากัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 71 :
ข ้อใดไม่ถกู ต ้อง
1 : การนํ าซิกซ์ ซิกมา(Six Sigma) ไปใช ้ จะมีลก ั ษณะการทํางานแบบโครงการ
2 : ขันตอนของการปรับปรุงคุณภาพแบบซิกซ์ ซิกมา คือ DMAIC
3 : สมาชิกทุกคนในทีมซิกซ์ ซิกมา จะต ้องทํางานเต็มเวลาให ้กับโครงการซิกซ์ ซิกมา
4 : ซิกซ์ ซิกมา มีจด ี างสถิตไิ ปใช ้
ุ เด่นทีมีการวิเคราะห์ข ้อมูลและนํ าวิธท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 72 :
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(Thailand Quality Award ,TQA) เน ้นให ้ความสําคัญในเรืองใดมากทีสุด
1 : การจัดการกระบวนการภายใน
2 : การจัดการทรัพยากร
3 : ภาวะการเป็ นผู ้นํ าของผู ้บริหาร
4 : ผลลัพธ์ทางธุรกิจ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 73 :
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(Thailand Quality Award, TOA)มีพนฐานมาจากเกณฑ์
ื รางวัลใด
1 : Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA)
2 : Deming Prize
3 : Juran Prize
4 : Prime Minister Award

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 74 :
ข ้อใดคือความหมายของ Quality Control Circle (QCC)
1 : กลุม
่ ของพนักงานทีรวมกันเพือแก ้ไขปั ญหาคุณภาพงาน
2 : ระบบบริหารคุณภาพแบบหนึง
3 : การร่วมกันแก ้ปั ญหาคุณภาพงานโดยพนักงานจากฝ่ ายต่างๆ
4 : การประชุมของผู ้บริหารเกียวกับเรืองคุณภาพ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ธ
สท

ข ้อที 75 :
เทคนิคการตังคําถามเพือให ้ทราบว่าทําไมกระบวนการยังไม่เป็ นไปตามทีควรจะเป็ นคือข ้อใด
1 : PDCA cycle
งวน

2 : Benchmarking
3 : 5W2H
4 : QCC
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 11/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

รข
ข ้อที 76 :


ข ้อใดหมายถึง การกําหนดหาองค์กรทีมีความเป็ นเลิศและนํ าวิธก
ี ารทีเขาปฏิบต ิ าปรับใช ้
ั ม

ิ ว
1 : Continuous improvement
2
3
4
:
:
:
าวศ
Benchmarking
Employee empowerment
QCC
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 77 :
ข ้อใดหมายถึง การให ้อํานาจและความรับผิดชอบแก่พนักงานในการทํางาน
1 : continuous improvement
2 : benchmarking
3 : employee empowerment
4 : QCC

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 78 :
ข ้อใดไม่ใช่เป้ าหมายของการปรับปรุงกระบวนการ
1 : เพือให ้ได ้ระดับคุณภาพทีสูงขึน
2 : เพือลดความสูญเปล่าในกระบวนการ
3 : เพือเพิมระดับความพึงพอใจของลูกค ้า
4 : เพือหาสาเหตุของปั ญหาคุณภาพ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 79 :
ื มว่าอย่างไร
หน่วยงานทีทําหน ้าทีสนับสนุนมาตรฐานคุณภาพ ทีเรียกว่า ISO ซึงเป็ นทีรู ้จักกันทัวไป มีชอเต็
1 : International Organization for Standardization
2 : Internal Standards for Operations
3 : International Systems Organization
4 : Industry Standards for Operations

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 80 :
ส่วนใดในองค์กรทีต ้องมีบทบาทในเรืองคุณภาพ
1 : ฝ่ ายจัดซือ
2 : ฝ่ ายประกันคุณภาพ
3 : ฝ่ ายบริหาร
4 : ทุกฝ่ าย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 81 :
สิงใดทีผู ้บริหารควรปฏิบต ั ทัศน์ขององค์กร 2. กําหนดระบบค่าตอบแทนทีสนับสนุนนโยบายคุณภาพ 3.
ั ใิ นการบริหารคุณภาพ 1. กําหนดวิสย
สนับสนุนให ้มีการอบรมทางด ้านคุณภาพอย่างต่อเนือง 4. สนับสนุนทรัพยากรในการปรับปรุงคุณภาพ
1 : 1, 2
2 : 1, 2, 3
3 : 1, 2, 3, 4
4 : 3, 4

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ธ

เนือหาวิชา : 195 : 03 7 Quality Control Tools


สท

ข ้อที 82 :
งวน

ข ้อใดไม่ได ้เป็ นหนึงใน “The Seven Quality Control Tools”


1 : แผนภาพการกระจาย(Scatter Diagram)
2 : ใบตรวจสอบ(Check sheet)
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 12/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : การออกแบบการทดลอง(Design of Experiment)
4 : ผังเหตุและผล(Cause and Effect diagram)

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3


ิ ว
าวศ
ข ้อที 83 :
เทคนิคข ้อใดเหมาะสมทีสุดในการช่วยชีถึงต ้นเหตุของความบกพร่องของผลิตภัณฑ์
1 : Control chart (แผนภูมค
ิ วบคุม)
สภ
2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)
3 : Fish bone diagram (แผนผังก ้างปลา)
4 : Check sheet (ใบตรวจสอบ)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 84 :
แผนผังก ้างปลาเป็ นเครืองมือทีใช ้วิเคราะห์หาสาเหตุทคาดว่
ี ามีผลกับปั ญหาทีสนใจศึกษา ส่วนประกอบของแผนผังก ้างปลาในข ้อใดต่อไปนี ทีใช ้
แสดงอาการของปั ญหา
1 : หัวปลา
2 : ก ้างปลาหลัก
3 : ก ้างปลาย่อย
4 : หางปลา

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 85 :
เครืองมือคุณภาพชนิดใดทีใช ้ป้ องกันปั ญหา ความไม่แน่นอน หรือความเสียงในอนาคต
1 : กราฟ และแผนภูมค ิ วบคุม (Graph and Control Chart)
2 : แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)
3 : แผนภูมก
ิ ารตัดสินใจ (Process Decision Program Chart)
4 : แผนภูมลิ ก
ู ศร (Arrow Diagram)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 86 :
ข ้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการใช ้เครืองมือคุณภาพ 7 อย่างเดิม (7 QC Tools)
1 : วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา
2 : การจํากัดขอบเขตของปั ญหาให ้แคบลง
3 : การตรวจจับชินงานทีไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนดของผลิตภัณฑ์
4 : การแยกแยะความผันแปรออกเป็ นสาเหตุธรรมชาติและสาเหตุผด ิ ธรรมชาติ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 87 :
ในกรณีทฮิ ี สโตแกรมมีรป
ู แบบทรงภูเขาสองยอดนัน น่าจะมีสาเหตุมาจากอะไร
1 : การแบ่งจํานวนชันของฮิสโตแกรมไม่เหมาะสม
2 : ข ้อมูลมาจากคนละแหล่งความผันแปรทีมีความแตกต่างกัน 2 แหล่ง
3 : ข ้อมูลมาจากกระบวนการผลิตในช่วงเวลาทีต่างกัน
4 : ข ้อมูลมาจากกระบวนการผลิตแบบต่อเนืองทีไม่มกี ารควบคุมคุณภาพทีดีพอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 88 :
ข ้อใดอธิบายถึงแผนภูมก
ิ ้างปลาไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เรียกอีกอย่างหนึงว่า แผนภาพแสดงเหตุและผล
2 : เป็ นเครืองมือทีใช ้เฉพาะในส่วนของโรงงานเท่านัน ไม่นยิ มใช ้ในสํานักงาน
3 : การได ้มาซึงข ้อมูลใช ้วิธก
ี ารระดมสมองจากผู ้ปฏิบต
ั ิ
4 : ควรระบุเหตุปัจจัยเฉพาะทีสามารถแก ้ไขได ้เท่านัน และไม่ควรระบุถงึ ภัยธรรมชาติในเหตุปัจจัย

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สท
งวน

ข ้อที 89 :
เครืองมือคุณภาพชนิดใด ทีนิยมนํ ามาใช ้เพือรักษาระดับคุณภาพหรือมาตรฐานทีรับประกัน
1 : แผนภูมค
ิ วบคุม
อส

2 : แผนภูมพิ าเรโต
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 13/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : FMEA (Failure Mode and Effects Analysis)
4 : ฮิสโตแกรม

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 1


ิ ว
าวศ
ข ้อที 90 :
ประโยชน์ของผังเหตุและผล (Cause and Effect diagrams) คือข ้อใด
1 : เพือรวบรวมข ้อมูลว่าอะไรคือปั ญหาทีสําคัญทีสุดทีเราควรแก ้ไขก่อน-หลัง
สภ
2 : เพือหาสาเหตุของปั ญหา
3 : เพือหาว่าข ้อมูลต่างๆ ทีได ้มีการกระจายแบบใด
4 : เป็ นแผนผังก ้างปลาเพือเปรียบเทียบข ้อมูลปั จจุบน
ั (เขียนไว ้ด ้านบน) และข ้อมูลในอดีต (เขียนไว ้ด ้านล่าง)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 91 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นเครืองมือในการควบคุมคุณภาพ
1 : Check Sheet(ใบตรวจสอบ)
2 : Defect Concentration Diagram
3 : Control Chart(แผนภูมค
ิ วบคุม)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 92 :
่ ตัวอย่าง 5 ชิน ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
กําหนดให ้ ค่าเฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานของกระบวนการคือ 1.5 และ 0.15 ไมครอน ตามลําดับ สุม
1 : ค่าเบียงเบนมาตรฐานของกลุม ่ ตัวอย่าง คือ 0.15
2 : สําหรับแผนภูมค ิ วบคุมที ±3σ จะได ้ว่า UCL = 1.7013
3 : สําหรับแผนภูมค ิ วบคุมที ±3σ จะได ้ว่า LCL = 0
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 93 :
4 M ของแผนภาพแสดงเหตุและผลคืออะไร
1 : วัตถุดบ ิ , เครืองจักร/อุปกรณ์, แรงงาน และวิธก
ี าร
2 : วัตถุดบ ิ , วิธก
ี าร, คน และทัศนคติ
3 : ผู ้เชียวชาญด ้านคุณภาพ 4 ท่าน
4 : วัตถุดบ ิ , การจัดการ, แรงงาน และแรงจูงใจ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 94 :
เครืองมือทีใช ้เพือให ้เข ้าใจลําดับของเหตุการณ์ทผลิ
ี ตภัณฑ์เคลือนย ้ายคืออะไร
1 : แผนภาพพาเรโต(Pareto Diagram)
2 : แผนผังกระบวนการ (Process chart)
3 : ใบตรวจสอบ(Check Sheet)
4 : โปกาโยเกะ (Poka-yoke)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 95 :
ผังก ้างปลาเรียกอีกชือหนึงว่าอะไร
1 : แผนภาพแสดงเหตุและผล(Cause-Effect Diagram)
2 : แผนภาพโปกาโยเกะ(Poka-Yoke)
3 : แผนภาพไคเซน(Kaizen)
4 : แผนภาพคัมบัง(Kanban)

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สท
งวน

ข ้อที 96 :
กลุม่ คุณภาพประชุมระดมสมองและพยายามระบุปัจจัยทีมีอาจจะมีผลต่อข ้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์ ในขันตอนดังกล่าวควรใช ้เครืองมือใด
1 : แผนภาพพาเรโต
อส

2 : แผนผังกระบวนการ
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 14/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : แผนภูมค
ิ วบคุม
4 : แผนภาพแสดงเหตุและผล

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 4


ิ ว
าวศ
ข ้อที 97 :
แผนภาพใดใช ้แสดงการกระจายของข ้อมูล
1 : แผนภาพพาเรโต
สภ
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
3 : กราฟวงกลม
4 : แผนภาพแสดงเหตุและผล

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 98 :
แผนภาพใดใช ้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข ้อมูล 2 ชุด
1 : แผนภาพพาเรโต
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
3 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
4 : แผนภาพการกระจาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 99 :
ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) สามารถแสดงโดยใช ้เครืองมือคุณภาพใดประกอบ
1 : ใบตรวจสอบ (check sheet)
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม(Histogram)
3 : แผนภาพพาเรโต(Pareto Diagram)
4 : แผนภาพการกระจาย(Scatter Diagram)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 100 :
หากสงสัยว่าระยะห่างระหว่างปื นพ่นสีถงึ ชินงาน มีความสัมพันธ์ตอ นงานอย่างไร ควรใช ้เครืองมือคุณภาพชนิดใด
่ ความหนาของสีทปรากฏบนชิ

1 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
3 : แผนภาพพาเรโต
4 : แผนภาพการกระจาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 101 :
ชินงานเสียทีเกิดขึนในกระบวนการพ่นสี เกิดขึนได ้จากข ้อบกพร่องหลายอย่าง เช่น สีเป็ นเม็ด สีย ้อย ความหนาสีมากเกินไป หากต ้องการทราบว่าควร
จะต ้องแก ้ไขในข ้อบกพร่องใดก่อน ควรจะใช ้เครืองมือใดช่วยในการเก็บและบันทึกข ้อมูล
1 : ใบตรวจสอบ(Check Sheet)
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
3 : แผนภาพพาเรโต
4 : แผนภาพการกระจาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 102 :
ชินงานเสียทีเกิดขึนในกระบวนการพ่นสี เกิดขึนได ้จากข ้อบกพร่องหลายอย่าง เช่น สีเป็ นเม็ด สีย ้อย ความหนาสีมากเกินไป หากต ้องการทราบว่าควร
จะต ้องแก ้ไขในข ้อบกพร่องใดก่อน ควรจะใช ้เครืองมือใด
1 : ใบตรวจสอบ(Check Sheet)
2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
3 : แผนภาพพาเรโต
4 : แผนภาพการกระจาย

ิ ธ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

ข ้อที 103 :
เครืองมือใดช่วยในการหาสาเหตุทเป็
ี นรากเหง ้าของปั ญหา
อส

1 : แผนภาพฮิสโตแกรม
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 15/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


2 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
3 : แผนภาพพาเรโต

รข
4 : แผนภาพการกระจาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 2


ิ ว
ข ้อที 104 :
าวศ
เมือใช ้แผนภาพแสดงเหตุและผล คําถามใดทีมักใช ้เป็ นหลักในการระบุถงึ สาเหตุรากเหง ้าของปั ญหา
สภ
1 : อะไร
2 : เมือไร
3 : ใคร
4 : ทําไม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 105 :
ข ้อใดคือปั ญหาในกระบวนการเรียนการสอน
1 : หนังสือยาก อ่านหนังสือไม่รู ้เรือง
2 : อาจารย์อธิบายได ้ไม่ชด ั เจน
3 : การได ้รับองค์ความรู ้ไม่ครบถ ้วน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 106 :
การเก็บรวบรวมข ้อมูลก่อนทีจะมีการปรับปรุง เครืองมือทีควรใช ้คือ
1 : check sheet (ใบรายการตรวจสอบ)
2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)
3 : cause and effect diagram (แผนภาพแสดงเหตุและผล)
4 : control chart (แผนภูมค
ิ วบคุม)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 107 :
เมือรวบรวมข ้อมูลทางธุรกิจเรียบร ้อยแล ้ว เครืองมือทีใช ้ในการเรียงลําดับความถีของข ้อมูลได ้แก่
1 : check sheet (ใบรายการตรวจสอบ)
2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)
3 : cause and effect diagram (แผนภาพแสดงเหตุและผล)
4 : control chart (แผนภูมค
ิ วบคุม)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 108 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีใช ้เพือแสดงลําดับขันตอนการทํางานภายในกระบวนการ
1 : แผนภูมก
ิ ้างปลา
2 : แผนภาพพาเรโต
3 : ฮีสโตแกรม
4 : แผนภูมกิ ารไหลของกระบวนการ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 109 :
ข ้อใดคือประโยชน์ของแผนผังพาเรโต (Pareto Chart)
1 : บ่งชีความเสถียรของกระบวนการ
2 : บ่งชีปั ญหาส่วนน ้อยทีมีความสําคัญมาก
3 : บ่งชีความถีของการเกิดของปั ญหาต่าง ๆ
4 : ถูกทังข ้อ 2 และข ้อ 3

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท
งวน

ข ้อที 110 :
การประยุกต์ใช ้ระบบข ้อเสนอแนะในโรงงานได ้อย่างมีประสิทธิผลและยังยืน ปั จจัยใดทีสําคัญทีสุด
1 : การให ้รางวัลจูงใจ
อส

2 : การให ้คํายกย่อง
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 16/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : ผู ้บริหารให ้ความสําคัญและปรับเปลียนแปลงตามข ้อเสนอแนะทีเหมาะสม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3


ิ ว
าวศ
ข ้อที 111 :
QFD (Quality Function Deployment) คืออะไร
1 : หลักการบริหารคุณภาพโดยใช ้การระดมความคิด
สภ
2 : เป็ นหนึงในเครืองมือคุณภาพ 7 ประการแบบใหม่
3 : เครืองมือในการหาสาเหตุในการแก ้ปั ญหาด ้านคุณภาพ
4 : เครืองมือในการสือสารความต ้องการของลูกค ้า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 112 :
หลักการและจุดมุง่ หมายหลักของไคเซ็น (Kaizen) คือข ้อใด
1 : ปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนือง
2 : ลดต ้นทุน
3 : ลดการสูญเสีย
4 : เพิมประสิทธิภาพในการทํางาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 113 :
ข ้อใดต่อไปนีสรุปไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับเครืองมือคุณภาพ 7 ประการ
1 : Check sheet – หาข ้อมูล
2 : Histograms - หาคําตอบ
3 : Pareto diagrams –หาปั ญหา
4 : Scatter diagrams – หาคําตอบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 196 : 04 Control Charts for Variables

ข ้อที 114 :
คุณลักษณะในข ้อใดควรประยุกต์ใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมสําหรับข ้อมูลเชิงแปรผัน(Variable Control Chart)
1 : จํานวนรอยตําหนิบนผ ้าทอต่อทุกๆ 50 ตารางเมตร
2 : อุณหภูมท
ิ ทางเข
ี ้าทีเครืองควบแน่น
3 : ชินงานในสายการผลิตเพลาทีเกิดรูพรุน
4 : จํานวนเพลาทีมีเส ้นผ่านศุนย์กลางเล็กเกินไป

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 115 :
ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลีย (X-bar chart) สามารถบ่งบอกสาเหตุของความบกพร่องในกระบวนการผลิต
2 : แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลีย (X-bar chart) สามารถสะท ้อนถึง “precision” ของกระบวนการผลิตได ้
3 : แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลีย (X-bar chart) สามารถสะท ้อนถึง “accuracy” ของกระบวนการผลิตได ้
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 116 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ควรสร ้างแผนภูมค ั ก่อนแผนภูมค
ิ วบคุมพิสย ิ วบคุมค่าเฉลียเสมอ
2 : แผนภูมค ิ วบคุมสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัดสามารถควบคุมได ้ดีกว่าแบบหน่วยนับ
3 : สําหรับแผนภูมค ิ วบคุมสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัดและแบบหน่วยนับ ระยะห่างระหว่าง UCL และ CL จะเท่ากับระยะห่างระหว่าง LCL และ CL

ิ ธ

เสมอ
สท

4 : แผนภูมค ิ วบคุมสัดส่วนของเสียขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างไม่จําเป็ นต ้องเท่ากัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

ข ้อที 117 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 17/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


แผนภูมค
ิ วบคุมแบ่งเป็ น 2 แบบใหญ่ๆ คือ

รข
1 : แบบหน่วยนับ และแบบแสดงจํานวนจุดบกพร่อง
2 : แบบ Variable และแบบ Attribute
3 : แบบ x-bar chart และแบบ R-chart


4 : แบบ P-chart และแบบ C-chart

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

าวศ
สภ
ข ้อที 118 :
ถ ้าท่านต ้องการควบคุมความหนาของแผ่นยางในกระบวนการผลิต ควรใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมแบบใด
1 : แผนภูมค
ิ วบคุมแบบ p-chart
2 : แผนภูมคิ วบคุมแบบ X-bar chart
3 : แผนภูมค ิ วบคุมแบบ C-chart
4 : แผนภูมค ิ วบคุมแบบ X-bar chart และ R-chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 119 :
ในการอ่านความหมายจากแผนภูมค
ิ วบคุม เมือข ้อมูลทีควบคุมเกิด “runs” ขึน หมายถึงข ้อใด
1 : ข ้อมูลพิกดั ออกนอกพิกด ั ควบคุม
2 : ข ้อมูลจํานวนมากอยูข ่ ้างเดียวกัน เกิดความไม่สมดุลขึน
3 : ข ้อมูลมีแนวโน ้มเพิมขึนหรือลดลง เรียงติดต่อกันอย่างต่อเนือง
4 : ข ้อมูลมีลก
ั ษณะเพิมขึนและลดลง สลับกันแบบต่อเนือง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 120 :
โดยปกติแล ้ว ขีดจํากัดการเตือน (Warning Limit) ของแผนภูมค
ิ วบคุมอยูท
่ ี
1 : 1 σ
2 : 2 σ
3 : 3 σ
4 : 6 σ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 121 :
โดยปกติแล ้ว ขีดจํากัดการดําเนินการ (Action Limit) ของแผนภูมค
ิ วบคุมอยูท
่ ี
1 : ±1 σ
2 : ±2 σ
3 : ±3 σ
4 : ±6 σ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 122 :
ส่วนประกอบของแผนภูมค
ิ วบคุมมีอะไรบ ้าง
1 : UCL, LCL, Center Line
2 : UCL, Center Line, 0
3 : USL, LSL, Center Line
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 123 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เป้ าหมายหลักของการใช ้แผนภูมค ิ วบคุม คือ การลดความแปรปรวนในกระบวนการ
2 : ตัวแปรทีมีการกระจายแบบ Binomial สามารถใช ้แผนภูม ิ - R ได ้

ิ ธ

3 : แผนภูมค ิ วบคุมมีไว ้สําหรับหาสาเหตุของการเกิดความผิดปกติในกระบวนการผลิต


4 : หากต ้องการควบคุมสัดส่วนของเสีย ควรใช ้แผนภูม ิ p
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ง วน

ข ้อที 124 :
อส

วัตถุประสงค์ของแผนภูม ิ R-chart ใช ้ในการตรวจจับในกรณีใด


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 18/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : การเพิมหรือลดความแปรปรวนของกระบวนการ

รข
2 : การเปลียนแปลงเปอร์เซ็นต์ของเสียในตัวอย่าง
3 : ่ น
การเปลียนแปลงแนวโน ้มเข ้าสูศ ู ย์กลางของกระบวนการ
4 : การเปลียนจํานวนของเสียในตัวอย่าง


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ว
ข ้อที 125 :
าวศ
วัตถุประสงค์ของแผนภูม ิ X-bar ใช ้ในการอธิบายเรืองใด
สภ
1 : การเพิมหรือลดความแปรปรวนของกระบวนการ
2 : การเปลียนแปลงเปอร์เซ็นต์ของเสียในตัวอย่าง
3 : ่ น
การเปลียนแปลงแนวโน ้มเข ้าสูศ ู ย์กลางของกระบวนการ
4 : การเปลียนจํานวนของเสียในตัวอย่าง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 126 :
นํ าหนักในทางอุดมคติของเห็ดดองควรเป็ นกระป๋ องละ 11 ออนซ์ สุม ่ ตัวอย่างและชังนํ าหนัก นํ าค่าทีได ้จากกลุม
่ ตัวอย่างไปพลอตในแผนภูมค
ิ วบคุม
แผนภูมช ิ นิดใดทีควรจะนํ ามาประยุกต์ใช ้ในการควบคุมกระบวนการ
1 : p chart
2 : c chart
3 : และ R chart
4 : ทัง p และ c chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 127 :
ถ ้า = 23 ออนซ์, σ = 0.4 ออนซ์ และ n = 16 แล ้ว เส ้นพิกด
ั ควบคุมที 3σ จะมีคา่ เท่าไร
1 : 21.8 ถึง 24.2 ออนซ์
2 : 23 ออนซ์
3 : 22.70 ถึง 23.30 ออนซ์
4 : 22.25 ถึง 23.75 ออนซ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 128 :
หากต ้องการใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมกระบวนการทีสนใจ โดยกระบวนการนันมีอต
ั ราการผลิตตํา และสนใจวัดความเข ้มข ้นของสารเคมี ควรจะพิจารณา
แผนภูมป ิ ระเภทใด
1 : x-bar และ R-chart
2 : x และ MR chart
3 : p-chart
4 : c-chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 129 :
สถานการณ์ใดต่อไปนีถือเป็ น "Type II error" ในการใช ้แผนภูม ิ (Control Chart)
1 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) แต่มจ
ี ด
ุ บน control chart ตกนอก control limit
2 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) และมีจด ุ บน control chart ตกภายใน control limit
3 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) และมีจด ุ บน control chart ตกนอก control limit
4 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) แต่มจ ี ด
ุ บน control chart ตกใน control limit

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 130 :
ในกระบวนการผลิตหนึงถ ้าค่าเฉลียของกระบวนการผลิต (process mean) มีการเปลียนแปลงจากค่าเดิมไปทีค่าใหม่และคํานวนหาค่า ARL ได ้เท่ากับ
6.45 จากข ้อมูลนีข ้อใดน่าจะถูกต ้องทีสุด

ิ ธ

1 : หลังจาก process mean เปลียนไปทีค่าใหม่ จะทําให ้เกิด false alarm โดยเฉลีย 1 ครังในทุกๆ 6.45 จุด บน control chart
สท

2 : หลังจาก process mean เปลียนไปทีค่าใหม่ โดยเฉลียจะมีจด ุ บน control chart ออกนอก control limit ประมาณ 6.45 จุด
3 : โดยเฉลียแล ้วกลุม
่ ตัวอย่างที 6 หรือ 7 หลังจาก process mean เปลียนไปทีค่าใหม่ จะออกนอก control limit
4 : control chart จะแสดงจุด ออกนอก control limit 1 จํานวนจุด ต่อทุกๆ 6.45 จุดโดยเฉลียหลังจาก process mean เปลียนแปลงไป
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 19/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 131 :
ในการตรวจสอบความเสถียรภาพ (Stable) ของรายจ่ายในแต่ละเดือนควรใช ้เครืองมือใด

รข
1 : แผนภาพพาเรโต
2 : แผนภูมค ิ วบคุมแบบ Xbar-R


3 : แผนภูมค ิ วบคุมแบบ X-MR
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

ิ ว
าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ
ข ้อที 132 :
ในการแก ้ปั ญหาทีเกิดขึนเป็ นครังคราว ความรู ้ทีใช ้ในการระดมสมองเพือระบุสาเหตุในแผนภาพก ้างปลามาจากแหล่งใดเป็ นสําคัญ
1 : ความรู ้จากประสบการณ์
2 : ความรู ้ทางด ้านเทคโนโลยี
3 : ความรู ้หน ้างาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 133 :
หน ้าทีหลักของแผนภูมค
ิ วบคุมคือ
1 : ทําให ้กระบวนการผลิตดีขนึ
2 : ทําให ้กระบวนการผลิตสมําเสมอ
3 : ทําให ้ผลผลิตเพิมขึน
4 : ให ้สัญญาณเมือเกิดปั ญหาในกระบวนการผลิต

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 134 :
ในการใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมกระบวนการผลิต เมือเกิด out of control ขึน สิงทีจะต ้องปฏิบต
ั ค
ิ อ

1 : ปฏิบตั งิ านตามปกติ
2 : ค ้นหา assignable causes
3 : ค ้นหา natural causes
4 : หาสาเหตุททํ ี าให ้ของเสียเกิดขึนในกระบวนการ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 135 :
ในการใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมกระบวนการผลิตโดยเลือกใช ้พิกด
ั ควบคุม ±3σ ความน่าจะเป็ นทีจะเกิดสัญญาณ out of control แต่ไม่ม ี assignable
causes คือ
1 : 0.9973
2 : 0.0027
3 : ขึนอยูก
่ บ
ั สัดส่วนของเสีย
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และ 2

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 136 :
+/-0.001 Probability Limits หมายถึง
1 : ความน่าจะเป็ นทีจะตรวจจับความเบียงเบนของกระบวนการผลิตได ้มีคา่ เท่ากับ 0.001
2 : ความน่าจะเป็ นทีจะเกิด out of control เท่ากับ 0.001
3 : การบอกความกว ้างของพิกด ั ควบคุมทีมีคา่ Type I Error Probability ข ้างละ 0.001
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 137 :
ในการสุม ่ ตัวอย่างเพือใช ้ X-bar และ R charts หากต ้องการให ้โอกาสในการเกิด assignable cause ภายในกลุม
่ ตัวอย่างน ้อยทีสุด ควรจะใช ้การสุม

ตัวอย่างแบบใด

ิ ธ

1 : ่ ตัวอย่างแบบสุม
สุม ่ (random sampling) เท่ากับจํานวน n จากกระบวนการผลิต
สท

2 : สุม่ ตัวอย่างติดกัน (consecutive sampling) เท่ากับจํานวน n จากกระบวนการผลิต


3 : สุม ่ แบบใดก็ได ้ ขึนอยูก
่ บ ่ ตัวอย่าง
ั ผู ้สุม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
วน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 20/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 138 :

รข
ลักษณะในข ้อใดแสดงว่ากระบวนการผลิตอาจจะ out of control
1 : มีหลายจุดติดกันกระจายอยูเ่ หนือเส ้นกลาง (center line) จํานวนมาก
2 : การเรียงของจุดตัวอย่างไม่เป็ นแบบสุม ่ (non-random pattern)


3 : มี 2 จุดตัวอย่างต่อเนืองกันอยูภ
่ ายในขอบเขตควบคุมแต่ใกล ้กับพิกดั ควบคุมบนหรือล่างมาก

ิ ว
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ

ข ้อที 139 :
ในการใช ้แผนภูมค ั ในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชินงานประเภทหนึง จากการตรวจสอบติดตามทีผ่านมาพบว่า กระบวนการ
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย
อยูภ
่ ายใต ้การควบคุมอย่างสมําเสมอ (ขนาดตัวอย่าง n = 5, = 10, = 0.5815) วิศวกรต ้องการออกแบบแผนภูมค
ิ วบคุมค่าเฉลียใหม่โดยให ้มี
ค่า = 0.05 แผนภูมค ิ วบคุมใหม่นจะมี
ี UCL เท่ากับเท่าไร
1 : 10.184
2 : 10.143
3 : 10.219
4 : 10.335

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 140 :
ในการใช ้แผนภูมค ั ในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชินงานประเภทหนึง จากการตรวจสอบติดตามทีผ่านมาพบว่า กระบวนการ
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย
อยูภ่ ายใต ้การควบคุมอย่างสมําเสมอ (ขนาดตัวอย่าง n = 5, = 10, ั
= 0.5815) ถ ้าวันหนึ
งเกิด process shift ขึนในกระบวนการโดยค่าเฉลีย
เปลียนไปเป็ น 10.1875 ถ ้าชินงานทีผลิตได ้ หลังจากการเกิด process shift นีจะเสียทังหมด และจะไม่มก ี ารตรวจวัดชินงานโดยละเอียด จนกว่า
แผนภูมจ ิ ะบ่งชีความผิดปกติ การใช ้แผนภูมเิ ดิมในการตรวจสอบคาดว่ากระบวนการจะผลิตของเสียโดยเฉลียกีชินจึงจะตรวจพบ หลังจากเกิด process
shift ถ ้าอัตราการผลิตของเสียเท่ากับ 1 ชินต่อนาที และสุม ่ ตรวจสอบทุกครึงชัวโมง
1 : 60 ชิน
2 : 330 ชิน
3 : 5730 ชิน
4 : 11100 ชิน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 141 :
กระบวนการผลิตก ้านเบรกใช ้แผนภูมค ั (
ิ วบคุมค่าเฉลีย-พิสย - R chart) เพือควบคุมขนาดยาวของก ้านเบรก โดยมีข ้อมูล ดังนี = 199 =
3.5 n (ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย) = 4 Specification = 200 8 สมมติวา่ ข ้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภ ่ ายใต ้การ
ควบคุม ถ ้ามีการปรับปรุงกระบวนการผลิตทําให ้ค่า เพิมขึน 1 หน่วย เปอร์เซ็นต์ของเสียในกระบวนการผลิตเป็ นเท่าใด
1 : ~0%
2 : 0.5%
3 : 0.6%
4 : 0.7%

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 142 :
ถ ้ากําหนดให ้ขอบเขตควบคุมของแผนภูม ิ ค่าเฉลียของกระบวนการ มีคา่ เท่ากับ ถ ้าพล็อตข ้อมูลจํานวน 1000 กลุม
่ ในแผนภูมด
ิ งั กล่าว จะมี
ข ้อมูลกีกลุม
่ ออกนอกเขตควบคุม เมือกระบวนการอยูใ่ นสภาวะควบคุมได ้
1 : 0
2 : 5
3 : 12
4 : 22

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 143 :
จากข ้อมูลตรวจวัดเส ้นผ่าศูนย์กลางของลูกปื นของกระบวนการผลิตตลับลูกปื น ข ้อมูลแสดงดังตาราง (ข ้อมูลกลุม
่ ละ 5 ตัวอย่าง) จงคํานวณ Center
Line ของแผนภูมค ิ า่ เฉลีย (Xbar-chart)
กลุม่ ตัวอย่าง R กลุม
่ ตัวอย่าง R

ิ ธ

ที(Sample ที(Sample No.)


สท

No.)
1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34 6
งวน

3 31.6 4 15 37.1 5
4 31.5 4 16 34.9 7
5 35.0 5 17 33.5 4
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 21/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


6 34.1 6 18 31.7 3
7 32.6 4 19 34 8

รข
8 33.8 3 20 35.1 4
9 34.8 7 21 33.7 2
10 33.6 8 22 32.8 1


11 31.9 3 23 33.5 3

ิ ว
12 38.6 9 24 34.2 2
โดย
1 : 34
าวศ
= 34 = 4.71
สภ
2 : 38.2
3 : 36.7
4 : 32.4

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 144 :
จากข ้อมูลตรวจวัดเส ้นผ่าศูนย์กลางของลูกปื นของกระบวนการผลิตตลับลูกปื น ข ้อมูลแสดงดังตาราง (ข ้อมูลกลุม
่ ละ 5 ตัวอย่าง) จงประมาณค่าส่วน
เบียงเบนมาตรฐานของกระบวนการผลิตตลับลูกปื นทีผลิตจากกระบวนการผลิตนี
กลุม่ ตัวอย่าง R กลุม
่ ตัวอย่าง R
ที(Sample ที(Sample No.)
No.)
1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34 6
3 31.6 4 15 37.1 5
4 31.5 4 16 34.9 7
5 35.0 5 17 33.5 4
6 34.1 6 18 31.7 3
7 32.6 4 19 34 8
8 33.8 3 20 35.1 4
9 34.8 7 21 33.7 2
10 33.6 8 22 32.8 1
11 31.9 3 23 33.5 3
12 38.6 9 24 34.2 2
โดย = 34 = 4.71
1 : 2.03
2 : 4.70
3 : 7.46
4 : 9.6

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 145 :
ในการสอนเนือหาเกียวกับการควบคุมคุณภาพโดยใช้แผนภูมิควบคุม อ.สันติชยั ให้นกั ศึกษาทําการทดลองโดยแบ่งนักศึกษาเป็ น 5 กลุ่ม (กลุ่มละ 5 คน) และแจกช็อคโก
แลต M&M (เขียว, แดง, เหลือง, ฟ้า, ขาว) กลุ่มละ 1 ถุง โดยแต่ละถุงประกอบด้วยเม็ด M&M คละสี จาํ นวน 100 เม็ด จากนันให้แต่ละกลุ่มตัดปากถุงเท่ากับขนาดทีเม็ด
ช็อคโกแลตออกมาได้พอดี โดยให้แต่ละคนทําหน้าทีต่อไปนี
คนที 1 ฝ่ ายผลิต นําเม็ด M&M ออกจากถุงครังละ 1 เม็ดแบบสุ่ มโดยไม่ใส่ คืนจํานวนทังสิ น 20 เม็ด
คนที 2 ฝ่ ายตรวจสอบคุณภาพ ถ้าตรวจพบเม็ดสี เขียวถือว่าเป็ นสิ นค้ามีคุณภาพแต่ถา้ ตรวจพบสี อืนถือว่าเป็ นของเสี ย
คนที 3-4 ฝ่ ายบันทึกและควบคุมคุณภาพ

ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต้อง
1 : กลุม่ 1 ทํางานแย่ทสุี ด หัวหน ้ากลุม
่ งานควรถูกลงโทษโดยปรับลดค่าแรงและเปลียนแผนกงาน เพราะไม่มค ี วามถนัดในการทํางานในแผนกนี
2 : กลุม ่ 5 ทํางานได ้ผลดีมาก ดังนันควรส่งเสริมทุกคนในกลุม่ ให ้เป็ นหัวหน ้างานเพือสอนงานพนักงานใหม่ในอนาคต
3 : เปอร์เซ็นต์ของดีเฉลียมีคา่ น ้อยเนืองจากวิธก
ี ารทํางานอาจไม่เหมาะสมดังนันควรปรับปรุงวิธก ี ารทํางานใหม่
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ธ
สท

ข ้อที 146 :
จากการทดลองของเดมมิงเรี ยกการปล่อยลูกหิ นจากกรวย เพือให้อยูใ่ กล้จุดเป้าหมายทีวางไว้บนพืน โดยใช้ 2 วิธี
วิธีที 1) เล็งกรวยให้ตรงเป้าหมายและปล่อยลูกหิ นออกจากกรวย
งวน

วิธีที 2) มีการปรับตําแหน่งกรวยทุกครัง โดยปรับทิศทางตรงข้ามกับลูกหิ นในครังก่อนหน้านี และปรับระยะทางให้ห่างจากเป้าหมายเท่ากับระยะทางทีลูกหิ นในครังก่อนอยูห่ ่างจากเป้าหมาย


โดยมีจุดประสงค์เพือลดความแปรปรวนและให้ลูกหิ นเข้าใกล้เป้าหมายมากขึน
ข้อความใดถูกต้อง
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 22/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : ความแปรปรวนกรณีท ี 1 < ความแปรปรวนกรณีท ี 2
2 : ความแปรปรวนกรณีท ี 1 > ความแปรปรวนกรณีท ี 2

รข
3 : ความแปรปรวนกรณีท ี 1 = ความแปรปรวนกรณีท ี 2
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอ


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ว
ข ้อที 147 : าวศ
จากการทดลองของเดมมิงเรี ยกการปล่อยลูกหิ นจากกรวย เพือให้อยูใ่ กล้จุดเป้าหมายทีวางไว้บนพืน โดยใช้ 2 วิธี
สภ
วิธีที 1) เล็งกรวยให้ตรงเป้าหมายและปล่อยลูกหิ นออกจากกรวย
วิธีที 2) มีการปรับตําแหน่งกรวยทุกครัง โดยปรับทิศทางตรงข้ามกับลูกหิ นในครังก่อนหน้านี และปรับระยะทางให้ห่างจากเป้าหมายเท่ากับระยะทางทีลูกหิ นในครังก่อน
อยูห่ ่างจากเป้าหมาย โดยมีจุดประสงค์เพือลดความแปรปรวนและให้ลูกหิ นเข้าใกล้เป้าหมายมากขึน
จากการทดลองดังกล่าวให้ขอ้ คิดทีสําคัญในเรื องใด
1 : ประโยชน์ของแผนภูมค ิ วบคุม
2 : การปรับกระบวนการตลอดเวลา (วิธท ี ี 2) ช่วยลดจํานวนของเสีย
3 : ถ ้ากระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม ไม่ควรไปรบกวน
4 : คนงานควรมีสว่ นร่วมในการปรับปรุงกระบวนการเมือมีสงผิิ ดปกติ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 148 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับ “Special / Assignable Causes”
1 : ปั ญหาจากสาเหตุดงั กล่าวเกิดขึนเป็ นครังคราว
2 : อาจเกิดจากเครืองจักรหยุดทํางานเพราะความชืนสูงในหน ้าฝน
3 : ฝ่ ายผู ้บริหารควรเป็ นผู ้แก ้ไข
4 : ใช ้ผังก ้างปลาเพือหาสาเหตุของปั ญหา

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 149 :
พนักงานผลิตชินงานเสียเป็ นจํานวนมากในวันนี เพราะเกิดจาก “Common Causes” ข ้อใดกล่าวถูกต ้องทีสุด
1 : พนักงานดืมเหล ้าเพราะเมือวานคืนไปร่วมงานอวยพรแต่งงานเพือน
2 : เครืองจักรหยุดทํางานหลายหน เพราะไฟตกเนืองจากมีพายุ
3 : วัตถุดบ
ิ มีปัญหา เพราะเลือกจากผู ้ขายทีกําหนดราคาตําสุด
4 : หัวหน ้าคนงานควรตักเตือนพนักงาน และให ้พนักงานรับการอบรมเพิมเติม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 150 :
ิ วนรถยนต์ พบว่าชินส่วนบางชินมีรอยตําหนิเกิดขึนมา เนืองจาก “Special/ Assignable Causes” ข ้อใดกล่าวไม่ถก
พนักงานแผนกพ่นสีชนส่ ู ต ้อง
1 : อาจเกิดจากพนักงานเมาค ้าง เพราะไปเลียงฉลองงานศพเพือน
2 : เครืองจักรหยุดทํางานหลายหน เพราะไฟตกเนืองจากมีพายุ
3 : ควรเปลียนวิธก ี ารเดิมซับซ ้อนเกินไป
ี ารพ่น เพราะวิธก
4 : หัวหน ้าคนงานควรตักเตือนพนักงาน และให ้พนักงานรับการอบรมเพิมเติม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 151 :
จากการตรวจสอบแผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย-พิสยั ( Chart)พบว่ามีรูปแบบทีเป็ นวงรอบ “cycle” ข้อใดมิใช่สาเหตุ
1 : ความล ้าของพนักงาน
2 : การเปลียนแปลงของอุณหภูมริ ะหว่างรอบวัน
3 : การเสือมของเครืองมือ
4 : พนักงานทีเปลียนในแต่ละกะ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 152 :

ิ ธ

จากการตรวจสอบแผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย ( ) พบว่ามีแนวโน้มเพิมขึนหรื อลดลง (Trends) ข้อใดมิใช่สาเหตุ


สท

1 : พนักงานได ้รับการฝึ กฝนเกียวกับการทํางานเพิมเติม


2 : เครืองมือเสือมสภาพ
งวน

3 : ปรับเครืองจักรเกินความจําเป็ น
4 : ความสกปรกทีสะสมในฟิ กเจอร์ (Fixtures)
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 23/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 153 :
จากการตรวจสอบแผนภูมค
ิ วบคุมพบว่ามีแนวโน ้มลดลงในแผนภูมค ั (R-Chart) ข ้อใดมิใช่สาเหตุ
ิ วบคุมพิสย


1 : พนักงานได ้รับการอบรมเกียวกับการทํางานเพิมเติม

ิ ว
2 : พนักงานปรับปรุงวิธก ี ารทํางาน

าวศ
3 : ฝ่ ายซ่อมบํารุงจัดตารางการบํารุงรักษาฟิ กเจอร์ดข
ี น

4 : พนักงานปรับเครืองจักรบ่อยขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สภ

ข ้อที 154 :
กรณี ทีในแผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย ( )พบว่าค่าเฉลียส่ วนใหญ่อยูใ่ กล้เส้น “center line” ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1 : ขอบเขตควบคุมอาจกว ้างเกินไปควรปรับเปลียน
2 : ข ้อมูลในแต่ละกลุม
่ ย่อยอาจมาจากเครืองจักรหลายเครือง
3 : อาจมีการปรับเปลียนวิธก ี ารทํางานให ้ดีขน

4 : แสดงว่ากระบวนการมีความสามารถสูง เพราะค่าเฉลียมีคา่ ใกล ้ค่าเป้ าหมาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 155 :
กรณี ทีในแผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย ( )พบว่าข้อมูลส่ วนใหญ่เกาะอยูใ่ กล้ขอบเขตควบคุมบนและล่าง ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1 : ข ้อมูลในกลุม
่ ย่อยมาจากวัตถุดบ ิ จากหลายรุน ่
2 : ในกระบวนการผลิตใช ้เครืองจักรชนิดเดียวกันหลายเครือง
3 : เปลียนแปลงวิธก ี ารรวมกลุม ่ ย่อยจะสามารถแก ้ปั ญหาดังกล่าวได ้
4 : ปรับเปลียนวิธซี อ่ มบํารุงเครืองจักรจะแก ้ปั ญหาดังกล่าวได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 156 :
ข ้อใดมิใช่ประโยชน์ของแผนภูมค
ิ วบคุม
1 : ช่วยลดความผันแปรในกระบวนการทีเกิดจาก “Common Causes”
2 : ช่วยเตือนว่าเมือใดควรแก ้ไขปรับปรุงกระบวนการ
3 : ช่วยลดการปรับแต่งเครืองจักรโดยไม่จําเป็ น
4 : ใช ้ข ้อมูลจากแผนภูมค
ิ วบคุมเพือคํานวณหาความสามารถของกระบวนการได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
วิศวกรเลือกใช้แผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย-ค่าเบียงเบนมาตรฐาน( chart )ในการควบคุมกระบวนการผลิตพบว่า = 0.108 และ =1.791 ถ้า UCLs มีค่าเท่ากับ
3.073 และ มีค่าเท่ากับ 1.854 ขนาดกลุ่มตัวอย่างนีเป็ นเท่าใด
1 : 4
2 : 5
3 : 10
4 : 12

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 158 :
จากแผนภูมิการควบคุมค่าเดียวและค่าพิสยั เคลือนที (X-MR Chart) พบว่า =3.50 และ = 0.35 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกียวกับขอบเขตควบคุมของแผนภูมิควบคุม
พิสยั
1 : LCL = -0.5
2 : UCL = 1.15
3 : แผนภูมคิ วบคุมทังสองด ้านสมมาตรกัน
4 : ค่าซิกมาสําหรับแผนภูมค
ิ วบคุมคือ 0.31

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สท

ข ้อที 159 :
งวน

จากแผนภูมิการควบคุมค่าเดียวและค่าพิสยั เคลือนที (X-MR Chart) พบว่า = 3.50 และ = 0.35 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกียวกับขอบเขตควบคุมของแผนภูมิควบคุม


ค่าเฉลีย ( chart)
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 24/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : ข ้อมูลแผนภูมค
ิ วบคุม chart มีการแจกแจงปกติ

รข
2: = 2.56
3: = 4.43


4 : ค่าซิกมาสําหรับ chart คือ 0.31

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

าวศ
สภ
ข ้อที 160 :
ในขันตอนการทําแผ่นของกระบวนการผลิตกระดาษสา มักมีปัญหาเรื องนําหนักกระดาษมีความคลาดเคลือนมาก ดังนัน จึงควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิ
ควบคุม โดยชังนําหนักกระดาษแห้งจํานวน 25 กลุ่ม กลุ่มย่อยละ 9 แผ่นพบว่า = 8 กรัม และ = 2.0 กรัม จงคํานวณขอบเขตควบคุม
1 : 8.33
2 : 8.56
3 : 8.76
4 : ข ้อ 1, 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
ในขันตอนการทําแผ่นของกระบวนการผลิตกระดาษสา มักมีปัญหาเรื องนําหนักกระดาษมีความคลาดเคลือนมาก ดังนัน จึงควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิ
ควบคุม โดยชังนําหนักกระดาษแห้งจํานวน 25 กลุ่ม กลุ่มย่อยละ 9 แผ่นพบว่า = 8 กรัม และ = 2.0 กรัม จงคํานวณขอบเขตควบคุม UCLR
1 : 3.63
2 : 3.82
3 : 4.00
4 : 4.22

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 197 : 05 Control Charts for Attributes

ข ้อที 162 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ตรงกับจุดประสงค์การใช ้งานของแผนภูมค
ิ วบคุมสําหรับข ้อมูลเชิงลักษณ์ (Attribute Control Chart)
1 : แผนภูม ิ p ใช ้ศึกษาจํานวนของสิงทีไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนดในกลุม ่ ตัวอย่าง
2 : แผนภูม ิ c และแผนภูม ิ u ใช ้ศึกษาจํานวนจุดบกพร่องในหนึงหน่วยตรวจสอบ
3 : แผนภูม ิ c ใช ้วิเคราะห์เมือขนาดของกลุม่ ตัวอย่างเท่ากัน
4 : แผนภูม ิ u ใช ้วิเคราะห์เมือขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างไม่เท่ากันได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 163 :
ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ทีใช ้คํานวณขอบเขตควบคุมสําหรับสร ้าง control chart for nonconforming units อาศัยการกระ
จาย (distribution) แบบใด
1 : Normal
2 : Binomial
3 : Geometric
4 : Hypergeometric

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 164 :
พิจารณาข ้อมูลจากตาราง ถ ้าจํานวนตัวอย่างในแต่ละกลุม
่ ย่อย (subgroup) คือ 120 ชิน ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
กลุม่ ย่อยที (Subgroup จํานวนของเสีย (ชิน)
number)
1 5
2 7
3 6
4 4

ิ ธ

5 3
6 5
สท

1 : ไม่สามารถสร ้าง control chart ได ้เนืองจาก lower limit ติดลบ


2 : กระบวนการผลิตไม่อยูภ ่ ายใต ้การควบคุม เนืองจากมีบาง subgroup อยูน ่ อก limits
งวน

3 : กระบวนการผลิตอยูภ ่ ายใต ้การควบคุม เนืองจากทุก subgroup อยูใ่ น limits


4 : ไม่สามารถสรุปได ้เนืองจากเราไม่ทราบว่ามี assignable causes เกิดขึนกับ subgroup ได ้บ ้าง
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 25/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 165 :
แผนภูมค ิ วบคุม p-Chart มี UCL = 0.1328 โดย n = 100 ข ้อใดต่อไปนีเป็ นค่า UCL ของแผนภูมค
ิ วบคุม np-Chart


1 : 0.01328

ิ ว
2 : 1.328

าวศ
3 : 13.28
4 : 132.8

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 166 :
แผนภูมค ิ วบคุมใดไม่เหมาะสําหรับกรณีขนาดตัวอย่างมีขนาดไม่คงที
1 : แผนภูม ิ p
2 : แผนภูม ิ np
3 : แผนภูม ิ u
4 : แผนภูมม ิ าตรฐาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 167 :
ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : ความแปรปรวนระหว่างกลุม ่ ตัวอย่างสามารถพิจารณาได ้จากแผนภูมคิ า่ เฉลีย
2 : ความแปรปรวนภายในกลุม ่ ตัวอย่างสามารถพิจารณาได ้จากแผนภูมค ั
ิ า่ พิสย
3 : ค่าเบียงเบนมาตรฐานทีใช ้ในการคํานวณขีดจํากัดของแผนภูมคิ วบคุมคํานวณมาจากค่าเบียงเบนมาตรฐานภายในกลุม
่ ตัวอย่าง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 168 :
ถ ้าต ้องการประยุกต์ใช ้แผนภูมค
ิ วบคุม p-chart และไม่ต ้องการให ้มีความผิดพลาดในการตรวจจับความผิดปกติเกินกว่า 4.56% ควรใช ้ขอบเขต
ควบคุมขนาดเท่าใด
1 : ±2σ
2 : 4.5σ
3 : ±4.5σ
4 : ±3σ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 169 :
ลักษณะงานในข ้อใด ควรใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมแบบ Attribute
1 : จํานวนรอยขีดข่วนบนชินงาน
2 : สัดส่วนของจํานวนชิบสารกึงตัวนํ าทีเสีย
3 : สัดส่วนของกระดาษทีพิมพ์เสียในแต่ละวัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 170 :
ข ้อมูลในตารางได ้จากการตรวจสอบเครืองคอมพิวเตอร์ทผลิ
ี ตได ้ในระยะเวลาสามวันทีผ่านมา สัดส่วนของเสียเฉลียเป็ นเท่าไร
วันที จํานวนหน่วยทีตรวจสอบ จํานวนเครืองเสีย
1 80 8
2 80 4
3 60 6
1 : 0.10
2 : 0.05
3 : 0.01
4 : 0.08

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท
งวน

ข ้อที 171 :
ข ้อใดถูกต ้อง
1 : ในการใช ้แผนภูมค
ิ วบคุม ถ ้าพบจุดออกนอกพิกด
ั ควบคุมให ้ตัดข ้อมูลนันทิงทันที แล ้วทําการคํานวณพิกด
ั ควบคุมใหม่
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 26/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
2 : ในการควบคุมคุณภาพกระบวนการออกบิลโดยใช ้แผนภูมค


ิ วบคุมเพือควบคุมจํานวนข ้อผิดพลาดในการออกบิล พบว่าในข ้อมูล 20 จุด ข ้อมูล
จุดที 12 ออกนอกพิกด ั ควบคุมทางด ้านล่าง ซึงอาจเป็ นไปได ้ว่า พนักงานอาจบันทึกข ้อมูลทีได ้จากกระบวนการ ณ เวลาดังกล่าวผิด

รข
3 : ในการสร ้างแผนภูมค ิ วบคุมสําหรับจํานวนข ้อผิดพลาดในการออกบิลแต่ละใบ มีความจําเป็ นต ้องคํานึงจํานวนข ้อผิดพลาดเฉลียมากกว่าหรือ
เท่ากับ 5 แห่ง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก


ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

าวศ
ข ้อที 172 :
สภ
การใช ้แผนภูมค
ิ วบคุม p-chart ในกรณีทขนาดตั
ี วอย่างมีขนาดไม่คงที (variable sample size) สามารถคํานวณขอบเขตควบคุมได ้อย่างไรบ ้าง
1 : variable-width control limits, average sample size control limits, และ single sided control limits
2 : average sample size control limits, standardized control limits, และ double sided control limits
3 : standardized control limits, variable-width control limits, และ revised control limits
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 173 :
หากต ้องการควบคุมสัดส่วนของเสียควรจะใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมใด
1 : p chart
2 : np chart
3 : c chart
4 : u chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 174 :
บริษัทอิเล็กทรอนิกส์ผลิตแผงวงจรสําหรับโทรศัพท์มอ
ื ถือ ต ้องการสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิตดังกล่าว โดยเก็บตัวอย่าง
กลุม่ ละ 200 แผงวงจร จํานวน 22 กลุม
่ ย่อย แสดงผลดังตาราง จงคํานวณขอบเขตควบคุมบน (Upper Control Limit) ของแผนภูมค ิ วบคุม p-chart
กลุม ่ ย่อยที ของเสีย กลุม
่ ย่อยที ของเสีย
1 19 12 18
2 7 13 17
3 11 14 21
4 29 15 16
5 24 16 16
6 24 17 23
7 15 18 14
8 25 19 4
9 11 20 21
10 10 21 24
11 37 22 10
1 : 0.07
2 : 0.15
3 : 0.21
4 : 0.29

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 175 :
โรงงานผลิตหม ้อแปลงไฟฟ้ าแห่งหนึงสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต โดยเก็บข ้อมูลกลุม
่ ละ 100 ตัวอย่าง จํานวน 20 กลุม

ย่อย แสดงดังตาราง จงคํานวณขอบเขตควบคุมบน (Upper Control Limit) ของแผนภูมค ิ วบคุม p-chart
กลุม่ ย่อยที ของเสีย กลุม
่ ย่อยที ของเสีย
1 10 11 7
2 3 12 3
3 7 13 14
4 12 14 6
5 4 15 6
6 3 16 9
7 8 17 13
8 2 18 6
9 5 19 12

ิ ธ

10 10 20 19
สท

1 : 0.019
2 : 0.080
3 : 0.160
งวน

4 : 0.320

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 27/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 176 :

รข
โรงงานผลิตถาดสําหรับใส่อาหารบนเครืองบิน ประสบปั ญหาเรืองงานซ่อม (Rework) ในแต่ละวันมีจํานวนมาก ดังนันทางโรงงานต ้องการสร ้าง
แผนภูมค ิ วบคุมสัดส่วนงานซ่อมโดยเก็บข ้อมูลแสดงดังตาราง โดยมีจํานวนตัวอย่างรวม 3,926 ชิน และมีจํานวนงานซ่อมรวม 411 ชิน
วันที จํานวนตัวอย่าง จํานวนงาน วันที จํานวนตัวอย่าง จํานวนงาน


ซ่อม ซ่อม

ิ ว
1 180 27 11 241 12
2
3
4
าวศ 165
205
176
15
32
18
12
13
14
202
187
215
4
30
24
สภ
5 234 5 15 222 20
6 192 25 16 193 18
7 156 7 17 204 37
8 183 21 18 186 24
9 215 40 19 175 13
10 225 6 20 170 33
จากข ้อมูลดังกล่าว จงคํานวณหาค่า LCLp ของแผนภูมค ิ วบคุมสําหรับวันที 6
1 : 0.039
2 : 0.045
3 : 0.053
4 : 0.055

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 177 :
โรงงานผลิตถาดสําหรับใส่อาหารบนเครืองบิน ประสบปั ญหาเรืองจํานวนงานซ่อม (Rework) ในแต่ละวันมีจํานวนมาก ดังนันทางโรงงานต ้องการสร ้าง
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนงานซ่อม เพือติดตามสภาพปั ญหาดังกล่าว โดยใช ้ข ้อมูลแสดงดังตาราง ซึงมีจํานวนตัวอย่างรวมทังสิน 3,926 ชิน และจํานวน
งานซ่อมรวม 411 ชิน
วันที จํานวนตัวอย่าง จํานวนงาน วันที จํานวนตัวอย่าง จํานวนงาน
ซ่อม ซ่อม
1 180 27 11 241 12
2 165 15 12 202 4
3 205 32 13 187 30
4 176 18 14 215 24
5 234 5 15 222 20
6 192 25 16 193 18
7 156 7 17 204 37
8 183 21 18 186 24
9 215 40 19 175 13
10 225 6 20 170 33
จากข ้อมูลดังกล่าว จงคํานวณหาค่า LCLp ของแผนภูมค ิ วบคุมสําหรับวันที 15
1 : 0.031
2 : 0.033
3 : 0.037
4 : 0.043

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 178 :
โรงงานผลิตถาดสําหรับใส่อาหารบนเครืองบิน ประสบปั ญหาเรืองงานซ่อม (Rework) ในแต่ละวันมีจํานวนมาก ดังนันทางโรงงานต ้องการสร ้าง
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนงานซ่อมเพือแก ้ปั ญหาดังกล่าว โดยใช ้ข ้อมูลแสดงดังตาราง ซึงมีจํานวนตัวอย่างรวม 3,926 ชิน และจํานวน rework รวม 411

ิ ธ
สท
งวน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 28/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ชิน

รข

ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.027
2 : 0.044
3 : 0.166
4 : 0.176

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 179 :
โรงงานผลิตถาดสําหรับใส่อาหารบนเครืองบิน ประสบปั ญหาเรืองงานซ่อม (Rework) ในแต่ละวันมีจํานวนมาก ดังนันทางโรงงานต ้องการสร ้าง
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนงานซ่อม เพือติดตามสภาพปั ญหาดังกล่าว โดยใช ้ข ้อมูลแสดงดังตาราง ซึงมีจํานวนตัวอย่างรวมทังสิน 3,926 ชิน และจํานวน
งานซ่อมรวม 411 ชิน

1 : 0.165
2 : 0.169
3 : 0.171
4 : 0.176

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ธ
สท

ข ้อที 180 :
โรงงานผลิตถาดสําหรับใส่อาหารบนเครืองบิน ประสบปั ญหาเรืองงานซ่อม (Rework) ในแต่ละวันมีจํานวนมาก ดังนันทางโรงงานต ้องการสร ้าง
งวน

แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนงานซ่อม เพือติดตามสภาพปั ญหาดังกล่าว โดยใช ้ข ้อมูลแสดงดังตาราง ซึงมีจํานวนตัวอย่างรวมทังสิน 3,926 ชิน และจํานวน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 29/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


งานซ่อมรวม 411 ชิน

กรข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.033
2 : 0.039
3 : 0.045
4 : 0.048

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 181 :
แผนภูมค ่ ตัวอย่างย่อยทีใช ้ในการสร ้าง
ิ วบคุมสัดส่วนของเสียในกระบวนการผลิต พบว่าสัดส่วนของเสียโดยเฉลีย มีคา่ เท่ากับ 0.03 และขนาดของกลุม
แผนภูมค ิ วบคุมคือ 200 ตัวอย่างต่อกลุม
่ (n=200) จงคํานวณหา UCL ของแผนภูมค
ิ วบคุมสัดส่วนของเสีย
1 : 0.052
2 : 0.066
3 : 0.072
4 : 0.088

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 182 :
แผนภูมค ่ ตัวอย่างย่อยทีใช ้ในการสร ้าง
ิ วบคุมสัดส่วนของเสียในกระบวนการผลิต พบว่าสัดส่วนของเสียโดยเฉลีย มีคา่ เท่ากับ 0.03 และขนาดของกลุม
แผนภูมค ิ วบคุมคือ 200 ตัวอย่างต่อกลุม
่ (n=200) จงคํานวณหา LCL ของแผนภูมค
ิ วบคุมสัดส่วนของเสีย
1 : -0.012
2 : 0
3 : 0.012
4 : 0.030

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 183 :
แผนภูมค ่ ตัวอย่างย่อยทีใช ้ในการสร ้าง
ิ วบคุมสัดส่วนของเสียในกระบวนการผลิต พบว่าสัดส่วนของเสียโดยเฉลีย มีคา่ เท่ากับ 0.03 และขนาดของกลุม
แผนภูมคิ วบคุม คือ 200 ตัวอย่างต่อกลุม
่ (n = 200) ถ ้าค่า ในกระบวนการผลิตเปลียนแปลงเป็ น 0.08 จงหาความน่าจะเป็ นทีแผนภูมค
ิ วบคุมจะ
ตรวจจับความผิดปกติทเกิี ดขึนในกระบวนการจากการสุม ่ ตัวอย่างครังแรก
1 : 0.30
2 : 0.60
3 : 0.73
4 : 0.87

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ธ
สท

ข ้อที 184 :
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สร ้างโดยใช ้กลุม ั
่ ตัวอย่
างจํานวน 30 กลุม
่ กลุม
่ ละ 400 ข ้อมูล สรุปผลได ้ดังนี
งวน

จงคํานวณหาค่า UCLnp
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 30/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : 38
2 : 40

รข
3 : 48
4 : 58


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ว
ข ้อที 185 : าวศ ั
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สร ้างโดยใช ้กลุม
่ ตัวอย่
างจํานวน 30 กลุม
่ กลุม
่ ละ 400 ข ้อมูล สรุปผลได ้ดังนี
สภ

จงคํานวณหาค่า LCLnp

1 : 18
2 : 22
3 : 28
4 : 48

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 186 :
แผนภูมค ิ วบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สร ้างโดยใช ้กลุม ั
่ ตัวอย่
างจํานวน 30 กลุม
่ กลุม
่ ละ 400 ข ้อมูล สรุปผลได ้ดังนี

ถ ้าค่า ในกระบวนการผลิตเปลียนแปลงเป็ น 0.15 จงหาความน่าจะเป็ นทีแผนภูมค


ิ วบคุมจะตรวจจับความผิดปกติทเกิ
ี ดขึนในกระบวนการของการ
่ ตัวอย่างในครังแรก
สุม
1 : 0.25
2 : 0.34
3 : 0.46
4 : 0.58

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 187 :
่ ตรวจและนับจํานวนข ้อบกพร่องจากเครือง
ถ ้าต ้องการควบคุมกระบวนการผลิตโดยศึกษา จํานวนข ้อบกพร่องบนเครืองทํานํ าร ้อน โดยในหนึงวันจะสุม
ทํานํ าร ้อนจํานวน 3 เครือง ท่านจะแนะนํ าให ้ใช ้แผนภูมช
ิ นิดใด
1 : Xbar-chart
2 : np-chart
3 : p-chart
4 : C-chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 188 :
แผนภูมค ิ วบคุมทีใช ้เพือควบคุมจํานวนข ้อบกพร่องต่อหน่วยการตรวจสอบ คือแผนภูมค
ิ วบคุมชนิดใด
1 : Xbar-chart
2 : R-chart
3 : p-chart
4 : u-chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 189 :
แผนภูมค ิ
ิ วบคุม c-chart จะแสดงสัญญาณว่ามีสงปกติ
เกิดขึนเมือใด
1 : การเปลียนแปลงจํานวนของข ้อบกพร่องต่อกลุม่ ตัวอย่าง
2 : การเปลียนแปลงค่าเฉลียของกระบวนการ
3 : การเปลียนแปลงในเปอร์เซ็นต์ของเสียในกลุม
่ ตัวอย่าง
4 : การเปลียนแปลงใน AOQ

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สท
งวน

ข ้อที 190 :
บริษัทผลิตหนังสือพิมพ์ท ้องถินได ้รับการร ้องเรียนต่อวันจํานวนมากเกียวกับคําผิดในหนังสือพิมพ์ สํานักพิมพ์ได ้รับการร ้องเรียนจากรายงานของผู ้อ่าน
ตามจํานวนความผิดพลาดทีเกิดขึนดังนี 4, 3, 2, 6, 7, 3 และ 9 ครัง ดังนันสํานักพิมพ์ควรใช ้แผนภูมค ิ วบคุมชนิดใด
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 31/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : p-chart
2 : C-chart

รข
3 : Xbar-chart
4 : R-chart


คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ิ ว
ข ้อที 191 :
าวศ
ผู ้ผลิตสินค ้าต ้องการประยุกต์ใช ้แผนภูมใิ นการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ A และ B โดยในการควบคุมผลิตภัณฑ์ A ทําการเก็บตัวอย่างและ
สภ
พิจารณาว่าเป็ นของดีหรือของเสีย สําหรับผลิตภัณฑ์ B นับจํานวนของรอยตําหนิตอ ่ ชิน ดังนันแผนภูมท
ิ ควรจะนํ
ี ามาใช ้ควบคุมคือ
1 : p-chart สําหรับ A และ B
2 : p-chart สําหรับ A และ c-chart สําหรับ B
3 : c-chart สําหรับ A และ B
4 : p-chart สําหรับ A, แผนภูมค ั สําหรับ B
ิ า่ เฉลียและค่าพิสย

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 192 :
บริษัทขนส่งพัสดุตา่ งชาติตรวจสอบจํานวนพัสดุทส่ี งล่าช ้า (สายเกินกว่า 30 นาทีของเวลาทีสัญญากับลูกค ้า) ต่อวัน บริษัทคาดว่าจะใช ้แผนภูม ิ
ควบคุมในการแสดงผล แผนภูมค ิ วบคุมชนิดใดทีควรแนะนํ าให ้บริษัทใช ้
1 : Xbar-chart และ R-chart
2 : p-chart
3 : c-chart
4 : p-chart และ c-chart

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 198 : 06 Process Capability Study

ข ้อที 193 :
จงใช ้ข ้อมูลต่อไปนีตอบคําถาม โรงงานผลิตยางในจักรยานแห่งหนึง มีคา่ เฉลียของการทนความดัน (brusting pressure) ของผลิตภัณฑ์เป็ น 150
ปอนด์ตอ ่ ตารางนิว (psi) และมีคา่ เบียงเบนมาตรฐานเป็ น 15.2 psi ถ ้าข ้อกําหนดของผู ้นํ าเข ้าในต่างประเทศระบุวา่ ยางในต ้องมี brusting pressure
ไม่ตํากว่า 100 psi ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : ไม่สามารถหา process capability ratio ได ้ เนืองจากไม่ทราบ upper specification limit
2 : ค่า process capability ratio < 1
3 : 1 < ค่า process capability ratio < 1.5
4 : ค่า process capability ratio > 1.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 194 :
จงใช ้ข ้อมูลต่อไปนีตอบคําถาม โรงงานผลิตยางในจักรยานแห่งหนึง มีคา่ เฉลียของการทนความดัน (brusting pressure) ของผลิตภัณฑ์เป็ น 150
ปอนด์ตอ ่ ตารางนิว (psi) และมีคา่ เบียงเบนมาตรฐานเป็ น 15.2 psi ถ ้าข ้อกําหนดของผู ้นํ าเข ้าในต่างประเทศระบุวา่ ยางในต ้องมี brusting pressure
ไม่ตํากว่า 100 psi กระบวนการผลิตในโรงงานนีมีของเสียอยูใ่ นช่วงใด
1 : 100-200 ppm
2 : 201-400 ppm
3 : 401-600 ppm
4 : 601-800 ppm

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 195 :
ในกระบวนการชุบเคลือบผิวสายรัดโลหะขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 13-19 มิลลิเมตร ให ้ได ้ค่าความหนาของสังกะสีทชุ ื
ี บเคลือบผิ
ว 3±0.5 ไมโครเมตร
ผลการชักตัวอย่าง 50 ชิน แล ้ววัดค่าความหนาของสังกะสีทเคลื
ี อบผิวสายรัดโลหะ ผลแสดงดังตารางต่อไปนี
ค่าความหนา (ไมโครเมตร)
3.0 2.8 3.0 2.9 3.0 3.0 2.9 2.9 3.0 2.9
2.9 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 2.8 3.1 3.0
3.0 3.0 3.1 3.0 3.0 2.9 2.9 2.9 3.1 2.9
2.0 3.1 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 3.0 3.1

ิ ธ

3.0 2.9 3.0 2.9 3.1 3.0 3.2 3.1 3.1 2.9
สท

จงคํานวณหาค่าสมรรถภาพกระบวนการ
1 : 1.81
2 : 1.71
งวน

3 : 1.61
4 : 1.51
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 32/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 196 :
กระบวนการผลิตใดต่อไปนีเป็ นกระบวนการทีผลิตสินค ้าทีมีคณ
ุ ภาพสมําเสมอทีสุด


1 : ุ6σ = USL - LSL

ิ ว
2 : 6σ > USL - LSL

าวศ
3 : 6σ < USL - LSL
4 : 3σ = USL - μ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 197 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวเกียวกับ Cp และ Cpk ไม่ถก
ู ต ้อง

1 : Cp = Cpk เมือค่าเฉลียของกระบวนการผลิตอยูก ่ งกลางขี


ึ ดจํากัดของข ้อกําหนด
2 : Cp จะเปลียน ถ ้าค่าเฉลียกระบวนการผลิตเลือนออกจากกึงกลางขีดจํากัดของข ้อกําหนด
3 : Cpk มีคา่ ไม่เกินค่า Cp
4 : Cpk น ้อยกว่า 1.00 แสดงว่ามีผลิตภัณฑ์ไม่ตรงกับขีดจํากัดของข ้อกําหนดเกิดขึนในกระบวนการผลิต

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 198 :
เมือกระบวนการผลิตอยูใ่ นการควบคุม มีการแจกแจงปกติรอบจุดกึงกลางของข ้อกําหนดทางเทคนิค ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : ถ ้า PCR > 1 แสดงว่า USL > UNTL และ LSL > LNTL
2 : ถ ้า PCR > 1 แสดงว่า USL > UNTL และ LSL < LNTL
3 : ถ ้า PCR < 1 แสดงว่า USL < UNTL และ LSL < LNTL
4 : ถ ้า PCR < 1 แสดงว่า USL > UNTL และ LSL > LNTL

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 199 :
เมือกระบวนการผลิตอยูใ่ นการควบคุม ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : PCRk >= 0
2 : ถ ้า PCRk = PCR แสดงว่า กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบจุดกึงกลางของข ้อกําหนดทางเทคนิค
3 : ถ ้า PCRk < PCR แสดงว่า กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบจุดทีไม่ใช่จด
ุ กึงกลางของข ้อกําหนดทางเทคนิค
4 : ถ ้า PCRk = 0 แสดงว่า กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบ USL หรือ LSL

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 200 :
กําหนดให ้ PCR(U) = 1 และ PCR(L) = 3 ข ้อใดต่อไปนีเป็ นค่าของ PCR(k)
1 : 1
2 : 2
3 : 3
4 : 4

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 201 :
ถ ้ากระบวนการทีมีข ้อกําหนดควบคุมทังสองด ้าน มีคา่ PCR เป็ น 1 จะมีของเสียเท่าไร
1 : 2500 PPM
2 : 2700 PPM
3 : 3000 PPM
4 : 3300 PPM

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ิ ธ

ข ้อที 202 :
สท

ในกระบวนการผลิตสินค ้าชนิดหนึง สมมติวา่ กระบวนการผลิตนีเสถียร (in control) และมีคา่ Cp = 2 และ Cpk = 0.5 ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องทีสุด

1 : Capable process เนืองจากค่า Cp มากกว่า 1


งวน

2 : Incapable process เนืองจากค่า Cpk น ้อยกว่า 1


3 : ไม่สามารถสรุป Capability ของกระบวนการผลิตได ้ เนืองจากค่า Cp และ Cpk แตกต่างกันมาก
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 33/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2


ิ ว
าวศ
ข ้อที 203 :
Cp แตกต่างจาก Cpk อย่างไร
1 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการโดยไม่สนใจค่าเป้ าหมาย แต่ Cpk คํานึงถึงค่าเป้ าหมาย
สภ
2 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการในระยะสัน แต่ Cpk ศึกษาความสามารถในระยะยาว
3 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการโดยกระบวนการมีความเสถียรภาพ แต่ Cpk ศึกษาความสามารถกระบวนการในขณะทีไม่มค
ี วามเสถียรภาพ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 204 :
ข ้อใดถูกต ้อง
1 : กระบวนการทีอยูภ ่ ายใต ้การควบคุมคือกระบวนการทีไม่มข
ี องเสียเกิดขึนในกระบวนการ
2 : กระบวนการทีมีของเสียเกิดขึน เป็ นกระบวนการที out of control
3 : การศึกษาความสามารถกระบวนการต ้องกระทําภายใต ้สภาวะทีควบคุม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 205 :
Cp หมายถึงข ้อใด

1 : real process capability


2 : actual process capability
3 : potential process capability
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 206 :
Cpk หมายถึงข ้อใด

1 : real process capability


2 : actual process capability
3 : potential process capability
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 207 :
ถ ้ากระบวนการผลิตมีคา่ Cp = Cpk หมายถึงกระบวนการผลิตใดต่อไปนี

1 : ค่ากลางค่อนไปทาง USL
2 : ค่ากลางค่อนไปทาง LSL
3 : ค่ากลางตกนอก LSL หรือ USL
4 : ค่ากลางอยูก
่ งกลาง
ึ Specification

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 208 :
กระบวนการผลิตชินงานใช ้แผนภูมค ั ในการตรวจติดตามคุณภาพ มี Spec 5.0 ± 0.55 จากแผนภูมค
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ิ วบคุมทราบว่า n= 4, =
5.15, = 0.309 ดัชนีความสามารถของกระบวนการปั จจุบน ั มีศกั ยภาพทีจะเพิมขึนได ้เท่าใด โดยไม่มก
ี ารปรับปรุงความแปรปรวนของกระบวนการ
(ผลต่างระหว่าง Potential Capability และ Actual Capability)
1 : 0.334
2 : 0.888

ิ ธ

3 : 1.222
สท

4 : 1.666

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
งวน

ข ้อที 209 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 34/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อใดคือสมมติฐานในการวัดความสามารถของกระบวนการด ้วยดัชนี Cp

รข
1 : กระบวนการต ้องอยูภ ่ ายใต ้การควบคุมเชิงสถิต ิ
2 : คุณลักษณะสมบัตข ิ องกระบวนการต ้องแจกแจงแบบปกติ
3 : ไม่ม ี Process shift


4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

าวศ
สภ
ข ้อที 210 :
กําหนดให ้กระบวนการอยูภ่ ายใต ้การควบคุมเชิงสถิต ิ มีคา่ เฉลียเท่ากับ 15 หน่วย และค่าเบียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.5 หน่วย มี Specification
ระหว่าง 10.5 – 19.5 หน่วย ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับความสัมพันธ์ระหว่างดัชนี Cp และ Cpk

1 : Cp = Cpk
2 : Cp < Cpk
3 : Cp > Cpk
4 : Cp ≥ Cpk

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 211 :
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล
จํานวน 25 กลุม ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ ิ วนรถยนต์ทไม่


่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ชนส่ ี ตรงตามข ้อ
กําหนด
1 : 5%
2 : 10 %
3 : 15 %
4 : 20%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 212 :
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล
จํานวน 25 กลุม ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ


่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาค่า Cp ของกระบวนการผลิตดังกล่าว

1 : 0.62
2 : 1.12
3 : 1.25
4 : 1.92

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 213 :
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล
จํานวน 25 กลุม ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

ิ ธ
สท

Specification ความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ


่ ายใต ้การควบคุม ถ ้าปรับปรุงกระบวนการโดยปรับค่าเฉลียของ
กระบวนการให ้อยูท
่ ค่
ี าเป้ าหมาย ค่า Cpk ในกระบวนการผลิตเป็ นเท่าใด
งวน

1 : 0.4
2 : 0.5
3 : 0.6
4 : 1.2
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 35/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

รข

ข ้อที 214 :

ิ ว
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล

าวศ
จํานวน 25 กลุม
สภ ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ทางด ้านความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ


่ ายใต ้การควบคุม ถ ้าค่า ลดลงจาก 614 เป็ น 610 โดยความ
แปรปรวนของกระบวนการเท่าเดิม เปอร์เซ็นต์ของเสียทีตกนอกข ้อกําหนดด ้านบนในกระบวนการผลิตเป็ นเท่าใด
1 : 1.1%
2 : 2.1%
3 : 3.1%
4 : 4.1%

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 215 :
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล
จํานวน 25 กลุม ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ


่ ายใต ้การควบคุม ถ ้าวิศวกรปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยปรับค่า จาก
16.5 เป็ น 15.0 ค่า Cpk ในกระบวนการผลิตดังกล่าวเป็ นเท่าใด

1 : 0.25
2 : 0.5
3 : 1
4 : 1.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 216 :
แผนภูมค ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย ั สําหรับแผนกชินส่วนรถยนต์ โดยลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ ขนาดความกว ้างของชินงาน โดยใช ้ข ้อมูล
จํานวน 25 กลุม ่ กลุม่ ละ 4 ตัวอย่าง เพือสร ้างแผนภูมค
ิ วบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกว ้างของชินงาน คือ 610 ± 15 ถ ้ากระบวนการผลิตอยูภ


่ ายใต ้การควบคุม โดยลดค่า ในกระบวนการผลิตลง 10% ของเสีย
ในกระบวนการผลิตจะเป็ นเท่าใด
1 : 5%
2 : 6.7%
3 : 7.5%
4 : 10.2%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 217 :
แผนภูมค ั สําหรับแผนกชินส่วนสําหรับภาชนะบนเครืองบิน มีรายละเอียด ดังนี
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย

ิ ธ
สท

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย n = 5)


งวน

สมมติวา่ กระบวนการดังกล่าวอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ของชินส่วนทีไม่ตรงตามข ้อกําหนด
1 : 5%
2 : 25%
อส

3 : 50%
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 36/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


4 : 75%

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 4


ิ ว
ข ้อที 218 :

าวศ
แผนภูมค
สภ ั สําหรับแผนกชินส่วนสําหรับภาชนะบนเครืองบิน มีรายละเอียด ดังนี
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย n = 5)


สมมติวา่ กระบวนการดังกล่าวอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาค่า Cpk ของกระบวนการผลิตดังกล่าว

1 : 0.01
2 : 0.06
3 : 0.09
4 : 1.02

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 219 :
แผนภูมค ั สําหรับแผนกชินส่วนสําหรับภาชนะบนเครืองบิน มีรายละเอียด ดังนี
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย n = 5)


สมมติวา่ กระบวนการดังกล่าวอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาค่า Cp ของกระบวนการผลิตดังกล่าว

1 : 0.1
2 : 0.5
3 : 1.0
4 : 1.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 220 :
แผนภูมค ั สําหรับแผนกชินส่วนสําหรับภาชนะบนเครืองบิน มีรายละเอียด ดังนี
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย n = 5)


สมมติวา่ กระบวนการดังกล่าวอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม ถ ้าปรับปรุงกระบวนการโดยปรับค่าเฉลียของกระบวนการให ้อยูท
่ ค่
ี าเป้ าหมาย ค่า Cpk ของ
กระบวนการผลิตดังกล่าวเป็ นอย่างไร

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 221 :
แผนภูมค ั สําหรับแผนกชินส่วนสําหรับภาชนะบนเครืองบิน มีรายละเอียด ดังนี
ิ วบคุมค่าเฉลียและพิสย

ิ ธ
สท
งวน

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุม


่ ตัวอย่างย่อย n = 5)
สมมติวา่ กระบวนการดังกล่าวอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม ถ ้าปรับปรุงกระบวนการลดค่า จาก 3.8 เป็ น 0.8 ค่า Cpk ของกระบวนการผลิตดังกล่าวเป็ น
อส

เท่าใด
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 37/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


1 : 0.23
2 : 0.29

รข
3 : 0.34
4 : 0.90


คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ิ ว
ข ้อที 222 :
าวศ
กระบวนการผลิตชินส่วนเครืองมือแพทย์อยูภ
่ ายใต ้การควบคุม และแผนภูมค
ิ วบคุมของกระบวนการมีข ้อมูล ดังนี
สภ
= 100 = 1.05 n (ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย) = 5
Specification = 95±10
สมมติวา่ ข ้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ จงคํานวณหาค่า Cpk ของกระบวนการผลิตดังกล่าว

1 : 1
2 : 1.5
3 : 2
4 : 4

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 223 :
กระบวนการผลิตชินส่วนเครืองมือแพทย์อยูภ
่ ายใต ้การควบคุม และแผนภูมค
ิ วบคุมของกระบวนการมีข ้อมูล ดังนี
= 100 = 2.05 n (ขนาดของกลุม
่ ตัวอย่างย่อย) = 5
Specification = 95±10
สมมติวา่ ข ้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ จงคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ของเสียในกระบวนการผลิต
1 : 0.01%
2 : 0.20%
3 : 1.10%
4 : 10%

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 224 :
กระบวนการผลิตชินส่วนเครืองมือแพทย์อยูภ
่ ายใต ้การควบคุม และแผนภูมค
ิ วบคุมของกระบวนการมีข ้อมูล ดังนี
= 100 = 2.05 n (ขนาดของกลุม ่ ตัวอย่างย่อย) = 5
Specification = 95±10
สมมติวา่ ข ้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ ถ ้าค่า ลดลงจาก 100 เป็ น 95 ค่าเปอร์เซ็นต์ของเสียในกระบวนการผลิตเป็ นเท่าใด
1 : 1%
2 : 5%
3 : 10%
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 225 :
จากข ้อมูลในตารางถ ้า Specification ของเส ้นผ่าศูนย์กลางของลูกปื นคือ 34.0+/-1.5 จงคํานวณหาเปอร์เซ็นต์ของเสียทีคาดว่าจะเกิดขึนใน
กระบวนการนี ถ ้ากระบวนการผลิตอยูใ่ นการควบคุม

ิ ธ
สท
งวน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 38/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


กรข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 36%
2 : 46%
3 : 56%
4 : 16%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 226 :
จากข ้อมูลในตาราง ถ ้าเส ้นผ่านศูนย์กลางของลูกปื นมีขนาดใหญ่กว่าข ้อกําหนด (Specification: 34.0+/-1.5) สามารถเจียรให ้มีขนาดเล็กได ้โดยเสีย
ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 2 บาทต่อชิน โดยปกติบริษัทผลิต 20,000 ชินต่อวัน ดังนันบริษัทต ้องเสียค่าใช ้จ่ายในการเจียรเพิมขึนเท่าใดต่อวัน

1 : 9,184
2 : 18,372
3 : 28,372

ิ ธ

4 : 38,372
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
งวน

ข ้อที 227 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 39/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง สําหรับการพิจารณาค่า Cpk (Specification: 34.5+/-0.1) ถ ้ากําหนดกระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม

ก รข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : Cp = Cpk
2 : Cp < Cpk
3 : Cpl = Cpk
4 : Cpu = Cpk

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 228 :
สมมติกระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาค่า Cpk หาก USL = 35 และ LSL = 34

1 : 1
2 : 0
3 : 0.8

ิ ธ

4 : 0.5
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
งวน

ข ้อที 229 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 40/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


จากข ้อมูลในตารางถ ้าข ้อกําหนดของนํ าหนักของเนือไก่ตอ
่ 1 กระป๋ อง (Specification) คือ 130+/-10 ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง ถ ้ากําหนดกระบวนการ
อยูภ
่ ายใต ้การควบคุม

ก รข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : Cp = Cpk
2 : Cp < Cpk
3 : Cp = Cpl
4 : Cpk = Cpu

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 230 :
จากข ้อมูลในตารางถ ้าข ้อกําหนดของนํ าหนักของเนือไก่ตอ ่ กระป๋ อง (Specification) คือ 130+/-10 จงคํานวณหาร ้อยละของเสียทีเกิดขึนเนืองจากมี
ปริมาณเนือไก่ตอ
่ กระป๋ องไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนด ถ ้ากําหนดกระบวนการอยูภ ่ ายใต ้การควบคุม

1 : 5.6%
2 : 11.2%
3 : 28%

ิ ธ

4 : 56%
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
งวน

ข ้อที 231 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 41/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ถ ้าสมมติวา่ กระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม จงคํานวณหาค่า Cp (Spec: 130+/-10)

ก รข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 1.33
2 : 1
3 : 0.52
4 : 0.19

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 232 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวเกียวกับความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถของกระบวนการและกระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุมไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ถ ้ากระบวนการอยูภ่ ายใต ้การควบคุม จะต ้องมีความสามารถของกระบวนการสูง
2 : กระบวนการทีไม่อยูภ ่ ายใต ้การควบคุม จะต ้องมีความสามารถของกระบวนการตํา
3 : ถ ้ากระบวนการมีความสามารถสูงมาก ไม่จําเป็ นต ้องปรับให ้กระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม
4 : ข ้อ 1, 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 233 :
นักวิทยาศาสตร์การอาหารควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิควบคุม เก็บข้อมูลกลุ่มย่อยละ 6 ตัวอย่าง พบว่า = 400 และ = 30 ถ้าสมมติวา่
กระบวนการอยูภ่ ายใต้ควบคุม และข้อมูลแจกแจงแบบปกติ ความสามารถกระบวนการเป็ นเท่าใด (Cp) ถ้ากําหนดสเปคของผลิตภัณฑ์คือ 390 ± 40
1 : 0- 0.50
2 : 0.51-1.00
3 : 1.01-1.50
4 : 1.51- 2.00

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 234 :
นักวิทยาศาสตร์การอาหารควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิควบคุม เก็บข้อมูลกลุ่มย่อยละ 6 ตัวอย่าง พบว่า = 400 และ = 30 ถ้าสมมติวา่
กระบวนการอยูภ่ ายใต้ควบคุม และข้อมูลแจกแจงแบบปกติ ความสามารถกระบวนการเป็ นเท่าใด (Cpk) ถ้ากําหนดสเปคของผลิตภัณฑ์คือ 390 ± 40
1 : 0- 0.50
2 : 0.51-1.00
3 : 1.01-1.50
4 : 1.51- 2.00

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สท

ข ้อที 235 :
งวน

นักวิทยาศาสตร์การอาหารควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิควบคุม เก็บข้อมูลกลุ่มย่อยละ 6 ตัวอย่าง พบว่า = 400 และ = 30 ถ้าปรับปรุ ง


กระบวนการโดยปรับค่าเฉลียของกระบวนการให้อยูท่ ีค่าเป้าหมาย (target) ค่า Cpk ถ้ากําหนดสเปคของผลิตภัณฑ์คือ 390 ± 40 เพิมขึนร้อยละเท่าใด ถ้าสมมติวา่
อส

กระบวนการอยูภ่ ายใต้ควบคุม และข้อมูลแจกแจงแบบปกติ


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 42/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
ู ุ ู


1 : 0- 20

รข
2 : 21-30
3 : 31-40
4 : 41- 50


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ว
ข ้อที 236 :
าวศ
สภ
นักวิทยาศาสตร์การอาหารควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิควบคุม เก็บข้อมูลกลุ่มย่อยละ 6 ตัวอย่าง พบว่า = 400 และ = เปอร์เซ็นต์ของเสี ยใน
กระบวนการเป็ นเท่าใด ถ้ากําหนดสเปคของผลิตภัณฑ์คือ 390 ± 40 (ถ้าสมมติวา่ กระบวนการอยูภ่ ายใต้ควบคุม และข้อมูลแจกแจงแบบปกติ)
1 : 0- 5
2 : 5.1-10
3 : 10.10 -15.00
4 : 15.10- 20

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 237 :
กระบวนการผลิตกระดาษสาในขันตอนการทําแผ่นมักมีปัญหาเรื องนําหนักกระดาษมีความคลาดเคลือนมาก ดังนันจึงควบคุมกระบวนการโดยสร้างแผนภูมิควบคุม โดย
ชังนําหนักกระดาษแห้งจํานวน 25 กลุ่ม กลุ่มย่อยละ 9 แผ่นพบว่า = 8 กรัม และ = 2.0 กรัม ถ้าสมมติวา่ กระบวนการอยูภ่ ายใต้ควบคุม และนําหนักกระดาษสามี
ลักษณะการแจกแจงแบบปกติ โดยสเปคของนําหนักของกระดาษคือ 8.50 ± 0.50 ในกรณี กระดาษมีนาหนั ํ กมากกว่าค่าเป้าหมาย (target) จะทําให้เสี ยค่าใช้จ่ายในการซือ
เยือเพิมขึนโดยเฉลียแผ่นละ 25 สตางค์ ถ้ากําลังการผลิตของโรงงาน คือ 100,000 แผ่นต่อปี โรงงานมีค่าใช้จ่ายในการซือเยือเพิมขึนปี ละเท่าใด
1 : 0- 5,000
2 : 5,001-10,000
3 : 10,001-15,000
4 : 15,001-20,000

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 238 :
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถของกระบวนการและกระบวนการอยูภ
่ ายใต ้การควบคุม ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับสถานะ 1-4

1 : กระบวนการทีอยูส
่ ถานะที 4 ดีกว่ากระบวนการทีอยูใ่ นสถานะที 2 เพราะกระบวนการเสถียร
2 : กระบวนการทีอยูส่ ถานะที 2 ดีกว่ากระบวนการทีอยูใ่ นสถานะที 3 เพราะความสามารถของกระบวนการสูงกว่า
3 : กระบวนการทีอยูส ่ ถานะที 3 ดีกว่ากระบวนการทีอยูใ่ นสถานะที 4 เพราะกระบวนการเสถียร
4 : กระบวนการทีอยูส ่ ถานะที 1 ดีกว่ากระบวนการทีอยูใ่ นสถานะที 3 เพราะความสามารถของกระบวนการสูงกว่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 239 :
พนักงานเข้าพบหัวหน้าแผนกควบคุมคุณภาพเพือแสดงข้อมูลเกียวกับการปรับปรุ งดัชนีชีวัดความสามารถของกระบวนการหล่อโลหะหลังจากเริ มศึกษาและปรับปรุ งได้
ประมาณ 4 สัปดาห์ โดยค่าสเปคของลักษณะทางคุณภาพทีควบคุม คือ 3.50 ± 0.10 ม.ม. พนักงานแจ้งหัวหน้าแผนกว่าจากแผนภูมิควบคุมซึงใช้ค่าพิกดั ของสเปคเป็ น
ขอบเขตควบคุมของแผนภูมิควบคุมค่าเฉลีย (n = 5, k = 50, = 3.52, = 0.117) พบว่ากระบวนการมีความสามารถดีและไม่จาํ เป็ นต้องปรับปรุ งกระบวนการเพิมเติม
เนืองจากค่าเฉลียของข้อมูลทุกกลุ่มตกอยูใ่ นขอบเขตของสเปค (3.50 ± 0.10) ท่านเห็นด้วยหรื อไม่กบั ข้อสรุ ปดังกล่าว
1 : เห็นด ้วยเพราะกระบวนการอยูภ ่ ายใต ้การควบคุมดังนันความสามารถของกระบวนการย่อมสูงไปด ้วย
2 : เห็นด ้วยเพราะข ้อมูลทุกกลุม่ อยูใ่ นขอบเขตสเปกแสดงว่าไม่มขี องเสียเกิดขึนในกระบวนการผลิต
3 : เห็นด ้วยเพราะ Cp ≥ 1.33
4 : ไม่เห็นด ้วยเพราะวิธกี ารศึกษาไม่ถก ู ต ้อง

ิ ธ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
งวน

ข ้อที 240 :
ขณะนีคุณภาพนํ าในแม่นําสายหลักมีคณ ุ ภาพตํามากโดยเฉพาะนํ าบริเวณทีหน ้าโรงงานอุตสาหกรรม ดังนัน จึงเฝ้ าระวังความผิดปกติของค่า COD
ของนํ า (ค่ามาตรฐานไม่เกิน 400 มก./ลิตร) โดยใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมเพือควบคุม ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการเก็บตัวอย่างเพือใช ้สร ้างแผนภูม ิ
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 43/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ควบคุมในกระบวนการดังกล่าว

รข
1 : หาค่า Cpk ไม่ได ้เนืองจากไม่ม ี LSL
2 : ความสามารถของกระบวนการพิจารณาจากค่า Cpu
3 : ความสามารถของกระบวนการพิจารณาจากค่า Cpl


4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

าวศ
เนือหาวิชา : 199 : 07 Measurement System Analysis
สภ

ข ้อที 241 :
ข ้อใดต่อไปนีแทนความหมาย "ความแปรปรวนของค่าเฉลียจากการวัดซําของผู ้วัดแต่ละคน ซึงได ้จากผู ้วัดหลายคนใช ้เครืองมือเดิมวัดคุณลักษณะ
เดิมบนชินส่วนเดิม"
1 : Repeatability
2 : Reproducibility
3 : Stability
4 : Linearity

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 242 :
ถ ้าความแปรปรวนจาก Reproducibility มีคา่ มากกว่า Repeatability ควรดําเนินการอย่างไรมากทีสุด
1 : เครืองมือวัดต ้องการซ่อมบํารุง
2 : ผู ้ใช ้เครืองมือวัดควรได ้รับการฝึ กอบรมวิธก
ี ารใช ้และอ่านเครืองมือวัด
3 : ควรออกแบบเครืองมือวัดใหม่
4 : ควรปรับปรุงการยึดจับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 243 :
ถ ้าความแปรปรวนจาก repeatability มีคา่ มากกว่า reproducibility มากๆ ข ้อใดต่อไปนีควรจะทํามากทีสุด
1 : อบรมพนักงานวัดใหม่ให ้ใช ้เครืองมือวัดให ้ถูกต ้อง
2 : บํารุงรักษาเครืองมือวัด
3 : ปรับปรุงกระบวนการผลิต
4 : ไม่ต ้องทําอะไรเนืองจากเป็ นเรืองปกติท ี repeatability จะต ้องมีคา่ มากกว่า reproducibility อยูแ
่ ล ้ว

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 244 :
ในการประเมินระบบการวัด ควรดําเนินการศึกษาเรืองใดเป็ นประการแรก
1 : พิจารณาความเสถียรภาพของข ้อมูลจากแผนภูมค ิ วบคุม
2 : พิจารณาความละเอียด (Resolution) ของระบบการวัด
3 : พิจารณาการแจกแจงของข ้อมูลทีได ้จากระบบการวัด
4 : พิจารณา Repeatability และ Reproducibility ของระบบการวัด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 245 :
ในการวิเคราะห์ระบบการวัด ถ ้าหากพบว่าระบบการวัดไม่มค
ี วามสามารถเนืองจากสาเหตุด ้าน Reproducibility ควรดําเนินการแก ้ไขอย่างไร
1 : อบรมพนักงานใหม่
2 : ซือเครืองมือวัดใหม่
3 : สังเกตการณ์ความแตกต่างระหว่างเงือนไขในการวัดเพือค ้นหาสาเหตุ และทําการแก ้ไข
4 : ทําการสอบเทียบ (Calibration) เครืองมือวัดใหม่

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 246 :

ิ ธ

การตรวจสอบความสามารถของระบบการวัด วิศวกรทําการทดลองโดยให ้พนักงานคนหนึง ใช ้เครืองมือในการตรวจสอบงานทีผลิตจากกระบวนการ


สท

ผลิตเดียวกัน จํานวน 20 ชินๆ ละ 3 ครัง ข ้อมูลสรุปได ้ ดังนี = 15.15, = 0.32 โดยข ้อกําหนดผลิตภัณฑ์เท่ากับ 15 ± 4.5 หน่วย P/T ratio ของ
ระบบการวัดเท่ากับเท่าใด
1 : 0.421
งวน

2 : 0.213
3 : 0.142
4 : 0.126
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 44/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

กรข
ข ้อที 247 :

ิ ว
ข ้อใดคือความหมายของ "Repeatability"
1
2
3
:
:
:
าวศ
ความเทียง (precision) ของเครืองมือวัด
ความเทียง (precision) ของพนักงานวัด
ความผันแปรของสภาพแวดล ้อมในการวัด
สภ
4 : ข ้อ 1 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 248 :
ผลคะแนนจากเป้ าซ ้อมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 คน มีผลดังนี จากผลการแข่งขัน นักกีฬาท่านใดมีคา่ ความ

เทียง (precision) สูงสุด


1 : A
2 : B
3 : C
4 : D

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 249 :

ิ ธ
สท
งวน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 45/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
ผลคะแนนจากเป้ าซ ้อมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 คน มีผลดังนี จากผลการแข่งขัน นักกีฬาท่านใดมีคา่ ความ


รขก
ิ ว
าวศ
สภ

แม่น (accuracy) สูงสุด


1 : A
2 : B
3 : C
4 : D

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 250 :
ผลคะแนนจากเป้ าซ ้อมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4 คน มีผลดังนี ผู ้ใดมีความเทียง (precision) ดี แต่ต ้อง

ปรับปรุงเรืองความแม่น (accuracy)
1 : A
2 : B
3 : C
4 : D

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท
งวน

ข ้อที 251 :
ขนาดความแปรปรวนเนืองจาก Repeatability สามารถศึกษาได ้จากกรณีใด
1 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 10 ชิน โดยใช ้ไม ้บรรทัด 10 อัน
2 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 10 ชิน โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 46/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
3 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 1 ชิน จํานวน 10 ครัง โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน


4 : ผู ้วัด 10 คน วัดความยาวชินงาน 1 ชิน โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3


ิ ว
าวศ
ข ้อที 252 :
ขนาดความแปรปรวนเนืองจาก Reproducibility สามารถศึกษาได ้จากกรณีใด
1 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 10 ชิน โดยใช ้ไม ้บรรทัด 10 อัน
สภ
2 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 10 ชิน โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน
3 : ผู ้วัด 1 คน วัดความยาวชินงาน 1 ชิน จํานวน 10 ครัง โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน
4 : ผู ้วัด 10 คน วัดความยาวชินงาน 10 ชิน โดยทุกชินวัดโดยทุกคนหลายๆ ครัง โดยใช ้ไม ้บรรทัด 1 อัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 253 :
เครืองไมโครมิเตอร์สําหรับวัดชินงานไม่เกิน 1 นิว ใช ้สําหรับวัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของสกรู โดยค่า Specification = Nominal ±0.002 นิว วิศวกร
เครืองมือวัดศึกษาความสามารถของเครืองมือวัดโดยใช ้ผู ้วัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดสกรูแต่ละอัน 2 ครัง แสดงผลดังตาราง จง
ประมาณค่า Repeatability Standard Deviation

ชินที ผู ้วัดคนที 1 ผู ้วัดคนที 2 ผู ้วัดคนที 3


1 Mean = .34730 Mean = .34660 Mean = .34715
Range = 0 Range = .0002 Range = .0001
2 Mean = .34710 Mean = .34645 Mean = .34710
Range = 0 Range = .0001 Range = 0
3 Mean = .34720 Mean = .34655 Mean = .34710
Range = 0 Range = .0003 Range = 0
1 : 0.000049
2 : 0.000059
3 : 0.000069
4 : 0.000079

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 254 :
เครืองไมโครมิเตอร์สําหรับวัดชินงานไม่เกิน 1 นิว ใช ้สําหรับวัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของสกรู โดยค่า Specification = Nominal ±0.002 นิว วิศวกร
เครืองมือวัดศึกษาความสามารถของเครืองมือวัดโดยใช ้ผู ้วัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดสกรูแต่ละอัน 2 ครัง แสดงผลดังตาราง จาก
ข ้อมูลดังกล่าว ท่านจะปรับปรุงระบบการวัดอย่างไรเป็ นอันดับแรก
ชินที ผู ้วัดคนที 1 ผู ้วัดคนที 2 ผู ้วัดคนที 3
1 Mean = .34730 Mean = .34660 Mean = .34715
Range = 0 Range = .0002 Range = .0001
2 Mean = .34710 Mean = .34645 Mean = .34710
Range = 0 Range = .0001 Range = 0
3 Mean = .34720 Mean = .34655 Mean = .34710
Range = 0 Range = .0003 Range = 0
1 : อบรมพนักงานวัดเกียวกับการใช ้เครืองมือวัด
2 : บํารุงรักษาเครืองมือไมโครมิเตอร์
3 : สอบเทียบเครืองไมโครมิเตอร์
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 255 :
ในการศึกษาความแม่นยําของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครืองวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดชินงานจํานวน 2
ครัง ผลแสดงดังตาราง จงประมาณค่า Repeatability Standard Deviation

ิ ธ
สท
งวน
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 47/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


กรข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.024
2 : 0.034
3 : 0.044
4 : 0.054

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 256 :
ในการศึกษาความสามารถของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครืองวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดชินงานจํานวน
2 ครัง ผลแสดงดังตาราง จงคํานวณค่า Reproducibility Standard Deviation

1 : 0.000
2 : 0.005
3 : 0.010
4 : 0.015

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 257 :
จากข ้อมูลโครงงานนักศึกษาโดยมีจด ุ ประสงค์เพือศึกษาระบบการวัด (Gage R&R) ข ้อมูลแสดงดังตารางโดยเครืองมือวัด คือ เครืองวัดความแข็ง
(Brinell Hardness) ผู ้วัดแต่ละคนวัดชินงาน 2 ครัง
ชินที ผู ้วัดคนที 1 ผู ้วัดคนที 2 ผู ้วัดคนที 3
1 11 = 3.300 12 = 3.275 13 = 3.300
R11 = 0 R12 = .050 R13 = 0
2 21 = 3.225 22 = 3.250 23 = 3.225
R21 = .050 R22 = .100 R23 = .150
3 31 = 3.250 32 = 3.200 33 = 3.225
R31 = .100 R32 = 0 R33 = .050
4 41 = 3.275 42 = 3.225 4 3 = 3.200
R41 = .050 R42 = .050 R43 = 0

ิ ธ
สท

ถ ้ากําหนดให ้ Gage Capability Ratio มีคา่ เท่ากับ และค่า Specification มีคา่ เท่ากับ 3.250 ± 0.100 มม.จากค่าดังกล่าว ท่านคิดว่า
ควรใช ้เครืองมือชุดนีวัดคุณภาพชินงานในกระบวนการต่อไปหรือไม่
งวน

1 : ควร เนืองจากค่า GCR สูงเกินไป


2 : ควร เนืองจากค่า GCR ตําเกินไป
3 : ไม่ควร เนืองจากค่า GCR สูงเกินไป
อส

4 : ไม่ควร เนืองจากค่า GCR ตําเกินไป


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 48/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ก รข
ข ้อที 258 :

ิ ว
แผนกเครืองมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครืองมือวัด Optical Gage เพือใช ้วัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของชินส่วนพลาสติก

าวศ
จากการศึกษา คํานวณค่า Repeatability= 1.05 x 10-3 นิว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิว (ศึกษาโดยใช ้ชินงานจํานวน 15 ชิน ผู ้วัด 2 คน

โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดซําชินงานละ 3 ครัง) จงคํานวณหาค่า


สภ
1:

2:
3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 259 :
แผนกเครืองมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครืองมือวัด Optical Gage เพือใช ้วัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของชินส่วนพลาสติก
จากการศึกษา คํานวณค่า Repeatability = 1.05 x 10-3 นิว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิว (ศึกษาโดยใช ้ชินงานจํานวน 15 ชิน ผู ้วัด 2 คน
โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดซําชินงานละ 3 ครัง) กําหนดให ้ค่า Specification ของชินงานมีคา่ เท่ากับ 0.502 ± 0.002 นิว จงคํานวณหา Gage Capability
Ratio
1 : 0.415
2 : 1.35
3 : 2.49
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 260 :
แผนกเครืองมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครืองมือวัด Optical Gage เพือใช ้วัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของชินส่วนพลาสติก
จากการศึกษา คํานวณค่า Repeatability = 1.05 x 10-3 นิว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิว (ศึกษาโดยใช ้ชินงานจํานวน 15 ชิน ผู ้วัด 2 คน
โดยผู ้วัดแต่ละคนวัดซําชินงานละ 3 ครัง) กําหนดให ้ค่า Specification ของชินงานมีคา่ เท่ากับ 0.502 ± 0.002 นิว ถ ้ากําหนดให ้ Gage Capability

Ratio มีคา่ เท่ากับ จากค่าดังกล่าว ท่านคิดว่าควรใช ้เครืองมือวัดดังกล่าววัดคุณภาพชินงานในกระบวนการต่อไปหรือไม่


1 : ควร เนืองจากค่า GCR สูง
2 : ควร เนืองจากค่า GCR ตํา
3 : ไม่ควร เนืองจากค่า GCR สูง
4 : ไม่ควร เนืองจากค่า GCR ตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 261 :
ชินส่วนจากกระบวนการผลิตเดียวกันจํานวน 10 ชิน และแต่ละชินวัดลักษณะทางคุณภาพซํา 3 ครัง โดยผู ้วัดคนเดียวกัน และเครืองมือวัดเดียวกันเพือ
ศึกษาการวิเคราะห์ระบบการวัด (Gauge Capability Study)ผลการศึกษา ได ้ดังนี
ชินงานชินที การวัดครังที
1 2 3
1 100 101 100
2 95 93 97
3 101 103 100
4 96 95 97
5 98 98 96
6 99 98 98
7 95 97 98
8 100 99 98
9 100 100 97
10 100 98 99
จงคํานวณค่าความแปรปรวนรวมทีเกิดขึนทังหมด ( 2total)

ิ ธ

1 : 3.73
2 : 4.22
สท

3 : 4.72
4 : 6.58
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 49/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 262 :
ชินส่วนจากกระบวนการผลิตเดียวกันจํานวน 10 ชิน และแต่ละชินวัดลักษณะทางคุณภาพซํา 3 ครัง โดยผู ้วัดคนเดียวกัน และเครืองมือวัดเดียวกันเพือ

รข
ศึกษาการวิเคราะห์ระบบการวัด (Gauge Capability Study)ผลการศึกษา ได ้ดังนี
ชินงานชินที การวัดครังที
1 2 3


1 100 101 100

ิ ว
2 95 93 97
3
4
5
าวศ 101
96
98
103
95
98
100
97
96
สภ
6 99 98 98
7 95 97 98
8 100 99 98
9 100 100 97
10 100 98 99

ถ ้ากําหนดค่าสเปคของชินส่วน คือ 100 ± 15 จงคํานวณหาค่า P/T


1 : 0.22
2 : 0.27
3 : 0.87
4 : 1.15

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 263 :
ในการทดสอบ Precision ในการวัดซํา (Repeatability) โดยใช ้เครืองมือหนึง ได ้ให ้ผู ้วัด 1 คน วัดชินงาน 20 ชิน ชินละ 2 ครัง เมือคํานวณผล ได ้ค่า
= 22.3 และ = 1.0 จงหาค่า Repeatability

1 : 0.57
2 : 0.89
3 : 1.0
4 : 1.13

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 264 :
วัดชินส่วน 20 ชิน โดยแต่ละชินวัดซํา 2 ครัง โดยผู ้วัดคนเดียวใช ้เครืองมือ ได ้ผลดังตาราง
ชินงาน วัดครัง R
ที
1 2
1 21 20 20.5 1
2 24 23 23.5 1
3 20 21 20.5 1
4 27 27 27 0
5 19 18 28.5 1
6 23 21 22 2
7 22 21 21.5 1
8 19 17 18 2
9 24 23 23.5 1
10 25 23 24 2
11 21 20 20.5 1
12 18 19 18.5 1
13 23 25 24 2
14 24 24 24 0
15 29 30 29.5 1
16 26 26 26 0
17 29 20 20 0
หัวหน ้าแผนกเครืองมือวัดศึกษาความสามารถของเครืองมือโดยให ้คนงานในแผนกวัดเส ้นผ่านศูนย์กลางของชินงานทีได ้จาก
การทดลองโดยใช ้เครืองไมโครมิเตอร์ 1 เครื อง สรุ ปผลดังนี
1) ให้คนงาน 1 คน วัดชินงาน 1 ครัง ซํา 15 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี = 5.252 และ = 0.002
2) จากนันให้คนงานคนเดิมไปวัดชินงานทีผลิตจากกระบวนการผลิตจริ งจํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี = 5.253 และ
= 0.004

ิ ธ

3) จากนันให้คนงานอีก 10 คน ไปวัดชินงานเดิมจากในขันตอนที 2 จํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี = 5.254 และ


สท

part = 0.003
จากข้อมูลจงคํานวณหา “Repeatability standard deviation”
งวน

1 : 0.000576
2 : 0.002000
3 : 0.001071
4 : 0.00000
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 50/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

รข
ข ้อที 267 :


หัวหน้าแผนกเครื องมือวัดศึกษาความสามารถของเครื องมือโดยให้คนงานในแผนกวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของชินงานทีได้จาก

ิ ว
การทดลองโดยใช้เครื องไมโครมิเตอร์ 1 เครื อง สรุ ปผลดังนี
าวศ
1) ให้คนงาน 1 คน วัดชินงาน 1 ครัง ซํา 15 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี = 5.252 และ = 0.002
2) จากนันให้คนงานคนเดิมไปวัดชินงานทีผลิตจากกระบวนการผลิตจริ งจํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี
= 5.253 และ s = 0.004
สภ
3) จากนันให้คนงานอีก 10 คน ไปวัดชินงานเดิมจากในขันตอนที 2 จํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี =
5.254 และ parti= 0.003 (พิสยั ระหว่างผูว้ ดั โดยวัดชินงานเดียวกัน)
จากข้อมูลจงคํานวณหา “Reproducibility standard deviation”
1 : 0-0.005
2 : 0.0051-0.009
3 : 0.0091-0.010
4 : 0.011-0.015

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 268 :
หัวหน้าแผนกเครื องมือวัดศึกษาความสามารถของเครื องมือโดยให้คนงานในแผนกวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของชินงานทีได้จาก
การทดลองโดยใช้เครื องไมโครมิเตอร์ 1 เครื อง สรุ ปผลดังนี
1) ให้คนงาน 1 คน วัดชินงาน 1 ครัง ซํา 15 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี = 5.252 และ = 0.002
2) จากนันให้คนงานคนเดิมไปวัดชินงานทีผลิตจากกระบวนการผลิตจริ งจํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี
= 5.253 และ s = 0.004
3) จากนันให้คนงานอีก 10 คน ไปวัดชินงานเดิมจากในขันตอนที 2 จํานวน 20 ชิน วัดชินละ 1 ครัง ได้ผลการทดลองดังนี =
5.254 และ parti= 0.003 (พิสยั ระหว่างผูว้ ดั โดยวัดชินงานเดียวกัน)
จากข้อมูลจงคํานวณหาความสามารถของเครื องมือวัด P-T Ratio โดยกําหนด Specification = Nominal ± 0.006 นิว และ k = 6
1 : 0-0.50
2 : 0.51-1.00
3 : 1.01-1.50
4 : 1.51-2.00

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 269 :
วิศวกรทําการทดลองเรื อง Gauge R&R ของเครื องมือ “Optical Gauge” เพือใช้วดั เส้นผ่านศูนย์กลางของชินงานทีออกจาก
เครื องฉี ดพลาสติกได้ผลการทดลองดังนี repaetability= 1.05 ×10-3 , reproducibility= 1.29 ×10-3 (โดยให้ผวู ้ ดั 2 คน วัด
ชินงาน 15 ชิน วัดชินละ 3 ครัง) จากข้อมูลจงคํานวณหา “R&R standard deviation”
1 : 0-0.002
2 : 0.0021-0.004
3 : 0.0041-0.006
4 : 0.0061-0.008

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 270 :
วิศวกรทําการทดลองเรื อง Gauge R&R ของเครื องมือ “Optical Gauge” เพือใช้วดั เส้นผ่านศูนย์กลางของชินงานทีออกจาก
เครื องฉี ดพลาสติกได้ผลการทดลองดังนี repeatability= 1.05 × 10-3 , reproducibility= 1.29 × 10-3 (โดยให้ผวู ้ ดั 2 คน
วัดชินงาน 15 ชิน วัดชินละ 3 ครัง) จากข้อมูลจงคํานวณหาความสามารถของเครื องมือวัด โดย Specification = 0.502 ± 0.006
นิว โดยใช้ P-T Ratio กําหนด k = 6
1 : 0-0.50
2 : 0.51-1.00
3 : 1.01-1.50
4 : 1.51-2.00

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ธ
สท

ข ้อที 271 :
วิธใี ดใช ้ในการประมาณค่าเบียงเบียนมาตรฐานได ้ดีทสุ
ี ด
งวน

1 : แผนภูมค
ิ วบคุมคุณภาพ
2 : ฮีสโตแกรม
3 : กระดาษความน่าจะเป็ น
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 51/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


4 : การออกแบบแผนการทดลอง

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 1


ิ ว
ข ้อที 272 :

าวศ
ในการยิงธนู ค่าใดต่อไปนีสําคัญทีสุด
1 : ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
2 : ความเทียง (Precision)
สภ
3 : ความแม่น (Accuracy)
4 : ความน่าเชือถือ (Reliability)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 273 :
การทํา GR&R ความผันแปรจาก Repeatability คือการวัดความผิดพลาดทีเกิดจาก
1 : คนวัด
2 : เครืองมือวัด
3 : วิธก
ี ารวัด
4 : สภาพแวดล ้อมในการวัด

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 274 :
ค่าสถิตใิ ดทีใช ้วัดค่าความแม่น (accuracy) ไม่ได ้
1 : ค่ามัธยฐาน (Median)
2 : ั (Range)
ค่าพิสย
3 : ค่าเฉลีย (Mean)
4 : ค่าฐานนิยม (Mode)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 275 :
ค่าสถิตใิ ดทีใช ้วัดค่าความเทียง (Precision)
1 : ค่าเฉลีย ค่าพิสยั
2 : ค่าเฉลีย ค่ามัธยฐาน
3 : ค่าพิสยั ค่าเบียงเบนมาตรฐาน
4 : ั ค่าฐานนิยม
ค่าพิสย

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 276 :
ค่าความผันแปร Reproducibility คือ การวัดความผิดพลาดทีเกิดจาก
1 : คน
2 : เครืองมือวัด
3 : วัตถุดบิ
4 : วิธก
ี าร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 277 :
ค่าสถิตใิ ดทีใช ้วัดค่าความแม่น (Accuracy)
1 : ค่าเฉลีย ค่าฐานนิยม
2 : ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน
3 : ค่าเฉลีย ค่าพิสยั
4 : ค่าเฉลีย ค่าพิสย ั คลอไทล์

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ธ
สท

ข ้อที 278 :
ถ ้าความผิดพลาดเกิดจากเครืองมือวัด ท่านจะแนะนํ าให ้แก ้ไขอย่างไรจึงจะเหมาะสม
งวน

1 : เปลียนเครืองมือใหม่
2 : ยังคงวัดต่อไป แต่จะปรับด ้วยค่าผิดพลาด
3 : นํ าเครืองมือไปสอบเทียบ (Calibration)
อส

4 : นํ าเครืองมือไปทวนสอบ (Verification)
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 52/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ก รข
ข ้อที 279 :

ิ ว
ข ้อใดต่อไปนี เป็ นสาเหตุของความผันแปรทีเรียกว่า Special Variation

าวศ1
2
3
:
:
:
ความชืนภายในอากาศ
อุณหภูมภ
ิ ายนอก
อุณหภูมขิ ณะผลิต
สภ
4 : ความดันอากาศ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 280 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวได ้ถูกต ้อง
1 : การควบคุมคุณภาพ ค่าทีสําคัญทีสุด คือ ค่าพิสย ั
2 : ค่าสถิตท ี ้ เปรียบเทียบความเทียง คือ ค่าเฉลีย
ิ ใช
3 : ค่าสถิตท ี ้เปรียบเทียบความแม่น คือ ค่าเบียงเบนของค่าเฉลียจากค่าเป้ าหมาย
ิ ใช
4 : สาเหตุของความผันแปรในการวัดเกิดจากผู ้วัดเท่านัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 200 : 08 Lot-by-Lot Acceptance Sampling/Acceptance Sampling Plans for Attributes

ข ้อที 281 :
จงพิจารณา Double Sampling Plan n1 = 50, c1 = 1, n2 = 100, c2 = 5 ข ้อใดถูกต ้องทีสุด

1 : ถ ้ามีของเสีย 6 ชินขึนไปในกลุม ่ ตัวอย่างทีสอง ให ้ปฏิเสธ (reject) สินค ้าทัง lot


2 : ถ ้ามีของเสียน ้อยกว่า 4 ชินในกลุม ่ ตัวอย่างแรก ให ้รับ (accept) สินค ้าทัง lot
3 : ถ ้ามีของเสียเป็ น 2 หรือ 3 ในกลุม่ ตัวอย่างแรก ให ้ดําเนินการสุม ่ และตรวจกลุม ่ ตัวอย่างทีสอง ก่อนทีจะ
ทําการสรุปให ้รับ (accept) หรือ ปฏิเสธ (reject) สินค ้า lot นันๆ
4 : ถ ้ามีของเสียเป็ น 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ในกลุม ่ และตรวจกลุม
่ ตัวอย่างแรก ให ้ดําเนินการสุม ่ ตัวอย่างทีสอง
ก่อนทีจะทําการสรุปให ้รับ (accept) หรือ ปฏิเสธ (reject) สินค ้า lot นันๆ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 282 :
ข ้อใดถูกต ้องทีสุด
1 : Type A OC curve ให ้ความน่าจะเป็ นทีเราปฏิเสธ lot ทังจริงแล ้วเราควรจะยอมรับ
2 : Type A OC curve ให ้ความน่าจะเป็ นทีเรายอมรับ lot ทังจริงแล ้วเราควรจะปฏิเสธ
3 : Type A OC curve ทําให ้เราสามารถหา producer’s risk ได ้
4 : Type A OC curve แสดงความน่าจะเป็ นในการยอมรับ lot มีพนฐานการคํ
ื านวณมาจาก
hypergeometric distribution

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 283 :
จากแผนชักตัวอย่างเชิงคูต
่ อ
่ ไปนี
n1 = 80 c1 = 2
n2 = 80 c2 = 6
กําหนดให ้สัดส่วนของเสียเท่ากับ 0.03 จงหาความน่าจะเป็ นในการยอมรับลอต
1 : 0.2548
2 : 0.3152
3 : 0.5700
4 : 0.8248

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 284 :

ิ ธ

ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่ตวั ประเมินสมรรถนะของแผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับ
สท

1 : AOQ
2 : AQL
งวน

3 : ASN
4 : ATI

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 53/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


รข
ข ้อที 285 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างแบ่งเป็ น 2 แบบใหญ่ๆ คือ


1 : ่ ตัวอย่างครังเดียว และแบบสุม
แบบสุม ่ ตัวอย่างหลายครัง
2 : แบบสุม่ ตัวอย่างเพือการยอมรับรุน่ และแบบสุม ่ ตัวอย่างเพือการปฏิเสธรุน

ิ ว
3 : แบบสุม ่ ตัวอย่างเชิงลักษณ์ (หน่วยนับ) และแบบสุม ่ ตัวอย่างเชิงแปร (หน่วยวัด)

าวศ4 : แบบสุม ่ ตัวอย่างตามจํานวน และแบบสุม

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
่ ตัวอย่างตามเวลา
สภ

ข ้อที 286 :
เส ้นโค ้ง OC หมายถึง
1 : เส ้นโค ้งเพือแสดงว่าจะยอมรับสินค ้าได ้เวลาใด
2 : เส ้นโค ้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์การยอมรับกับขนาดรุน่
3 : เส ้นโค ้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์การยอมรับกับจํานวนครังทีสุม
่ ตัวอย่าง
4 : เส ้นโค ้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์การยอมรับกับเปอร์เซ็นต์ของเสีย

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 287 :
ค่าความเสียงของผู ้บริโภค (consumer’s risk) สําหรับการออกแบบแผนชักตัวอย่างคือ
1 : โอกาสทียอมรับของเสีย ทังๆ ทีควรปฏิเสธ เป็ นแบบ Type II error
2 : โอกาสทีปฏิเสธของดี ทังๆ ทีควรยอมรับ เป็ นแบบ Type I error
3 : คุณภาพสินค ้าทีฝ่ ายผู ้บริโภคอนุโลมยอมรับได ้
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 288 :
ประโยชน์ของการใช ้ Rectifying Single Sampling คือ
1 : ่ ตัวอย่างอีกครังหนึง หากมีการปฏิเสธเกิดขึน
ได ้สุม
2 : ่ ตัวอย่างครังเดียว แต่สามารถปรับค่า (n,c) ตามประเภทลูกค ้าได ้ 3 แบบ
สุม
3 : เหมาะกับสินค ้าทีมีขนาดรุน ่ มากๆ เพราะสามารถลดค่า (n,c) ได ้
4 : ไม่ต ้องปฏิเสธสินค ้าทังรุน ่ ถูกปฏิเสธ
่ แต่ให ้ตรวจสอบ 100% เมือมีตวั อย่างทีสุม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 289 :
จุดเด่นของ Military Standard 105E คือ
1 : ง่ายต่อการใช ้เพราะสามารถหาแผนการสุม ่ ตัวอย่างได ้จากการเปิ ดตาราง
2 : สามารถหากลยุทธ์ในการเลือกแผนการสุม ่ ตัวอย่าง เหมาะสมกับอุตสาหกรรมผลิตอาวุธ
3 : เป็ นตารางกําหนดมาตรฐานสินค ้า ใช ้ได ้กับอุตสาหกรรมทัวไป ไม่จําเพาะกับของกรมทหาร
4 : เพียงรู ้รหัสอักษรก็สามารถหาเปอร์เซ็นต์ของเสียได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 290 :
AQL คือ
1 : ระดับคุณภาพทีตําทีสุดสําหรับกระบวนการทีผู ้ผลิตคาดว่าผู ้ซือจะพิจารณาว่ายังคงยอมรับได ้
2 : ระดับคุณภาพทีแย่ทสุ
ี ดสําหรับกระบวนการของผู ้จําหน่ายทีผู ้ซือยินดีจะยอมรับในแต่ละลอต
3 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก
4 : ข ้อ 1 และ 2 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 291 :
่ ตัวอย่าง
ข ้อใดถูกต ้องในการเลือกแผนการสุม

ิ ธ

1 : ข ้อมูลทีได ้จาก Go-No Go Gage ใช ้แผนการสุม ่ ตัวอย่างแบบ Attribute


สท

2 : เส ้นผ่านศูนย์กลางของกระบอกสูบ ใช ้แผนการสุม ่ ตัวอย่างแบบ Attribute


3 : จํานวนตําหนิทเกิี ดขึนบนกระดาษ ใช ้แผนสุม
่ ตัวอย่างแบบ Variable
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 54/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 292 :

รข
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
1 : แผนการสุม ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยนับต ้องใช ้จํานวนตัวอย่างน ้อยกว่าแบบหน่วยวัด
2 : ค่าใช ้จ่ายต่อชินในการตรวจนับสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยนับน ้อยกว่าค่าใช ้จ่าย


ต่อชินในการตรวจวัดสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัด

ิ ว
3 : ข ้อมูลทีได ้จากแผนการสุม ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยนับมีคณ ุ ค่าน ้อยกว่าข ้อมูลทีได ้จากแผนการ

าวศ ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัด


สุม
4 : แผนการสุม ่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัดเหมาะสําหรับชินส่วนทีมีราคาแพง
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 293 :
่ ตัวอย่างแบบหน่วยนับทีกําหนดให ้ n = 62, c = 5 ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
สําหรับแผนการสุม ู ต ้อง
่ ตัวอย่างขึนมาจํานวน
1 : จะมีการสุม 62 ชิน แล ้วตรวจดู ถ ้าพบของเสียไม่เกิน 5 ชิน จะยอมรับสินค ้านันทัง
ลอต
2 : จะมีการสุม่ ตัวอย่างขึนมาจํานวน 62 ชิน แล ้วตรวจดู ถ ้าพบของเสียตังแต่ 5 ชิน จะไม่ยอมรับสินค ้านัน
ทังลอต
3 : จะมีการสุม ่ ตัวอย่างขึนมาจํานวน 62 ชิน แล ้วตรวจดู ถ ้าพบของเสียมากกว่า 5 ชิน จะไม่ยอมรับสินค ้านัน
ทังลอต
4 : จะมีการสุม ่ ตัวอย่างขึนมาจํานวน 62 ชิน แล ้วตรวจดู ถ ้าพบของเสีย 5 ชิน จะยอมรับสินค ้านันทังลอต

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 294 :
สถานการณ์ใดต่อไปนีถือเป็ นความผิดพลาดประเภทที1 (Type I error (α)) ในการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือ
ตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์
1 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ่ ตัวอย่างแล ้วยอมรับ lot นัน
ทีดี สุม
2 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ทีดี สุม่ ตัวอย่างแล ้วไม่ยอมรับ lot นัน
3 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ่ ตัวอย่างแล ้ว ยอมรับ lot นัน
ทีไม่ด ี สุม
4 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ทีไม่ด ี สุม่ ตัวอย่างแล ้วไม่ยอมรับ lot นัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 295 :
สถานการณ์ใดต่อไปนีถือเป็ นความผิดพลาดประเภทที2 (Type II error (β)) ในการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือ
ตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์
1 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ่ ตัวอย่างแล ้วยอมรับ (accept) lot นัน
ทีดี สุม
2 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ทีดี สุม่ ตัวอย่างแล ้วไม่ยอมรับ (reject) lot นัน
3 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ่ ตัวอย่างแล ้ว ยอมรับ (accept) lot นัน
ทีไม่ด ี สุม
4 : ผลิตภัณฑ์เป็ น lot ทีไม่ด ี สุม่ ตัวอย่างแล ้วไม่ยอมรับ (reject) lot นัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 296 :
ในการตรวจสอบคุณภาพด ้วยมาตรฐาน MIL-STD 105E โดยใช ้แผนการชักสิงตัวอย่างเชิงเดียวแบบปกติ ด ้วย
ระดับ AQL 0.65% ขนาดลอต 800 ทีระดับการตรวจสอบ S-3 ควรมีแผนการตรวจสอบประการใด
1 : n = 80 Ac = 1 และ Re = 2
2 : n = 13 Ac = 0 และ Re = 1
3 : n = 20 Ac = 0 และ Re = 1
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 297 :
ในกรณีทําการตรวจสอบลอตทีไม่คุ ้นเคยควรใช ้แผนการตรวจสอบประเภทใด
1 : AQL plan
2 : LTPD plan
3 : MIL-STD 105E
4 : MIL-STD 414

ิ ธ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
งวน

ข ้อที 298 :
ข ้อความใดอธิบายถึงความหมายของ AOQ ได ้ถูกต ้องทีสุด
อส

1 : ระดับคุณภาพหลังการตรวจสอบทีดีทสุ
ี ด
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 55/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


2 : ขนาดตัวอย่างของการตรวจสอบ
3 : ขนาดตัวอย่างทีทําการตรวจสอบโดยเฉลีย

รข
4 : ระดับคุณภาพโดยเฉลียสําหรับลอต(lot)ใด ๆ ภายหลังการตรวจสอบ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4


ิ ว
าวศ
ข ้อที 299 :
ในการตรวจสอบคุณภาพแบบลอต(lot)ต่อลอตด ้วยมาตรฐาน MIL-STD-105E ด ้วยระดับ AQL 0.15% และ
ขนาดลอต 550 หน่วยแล ้ว ถามว่าในการตรวจสอบด ้วยแผนการชักตัวอย่างเชิงเดียวแบบปกติเเล ้ว ยอมรับ
สภ
ติดต่อกันกีลอต จึงสามารถเปลียนไปใช ้แผนการชักตัวอย่างเชิงเดียวแบบผ่อนคลายได ้
1 : 10 ลอต
2 : 15 ลอต
3 : 16 ลอต
4 : ไม่สามารถกําหนดได ้ ขึนกับนโยบายของฝ่ ายบริหาร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 300 :
Military Standard 105 E คือข ้อใดต่อไปนี
1 : ่ ตัวอย่างเมือข ้อมูลเป็ นแบบหน่วยนับ (attribute)
คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม
2 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม่ ตัวอย่างเมือข ้อมูลเป็ นแบบหน่วยวัด (variable)
3 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างเดียว
4 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างคูแ
่ ละหมู่

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 301 :
Military Standard 414 คือข ้อใดต่อไปนี
1 : ่ ตัวอย่างเมือข ้อมูลเป็ นแบบหน่วยนับ (attribute)
คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม
2 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม่ ตัวอย่างเมือข ้อมูลเป็ นแบบหน่วยวัด (variable)
3 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างเดียว
4 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุม ่ ตัวอย่างคูแ
่ ละหมู่

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 302 :
ถ ้าใช ้แผนการสุม
่ เพือการยอมรับแบบเชิงเดียว (Single Sampling Plan) ทีมี n = 89, c = 1 ในการตรวจสอบ
ชินงานทีผลิตจากกระบวนการผลิตทีมีสด ั ส่วนของเสียต่อรุน
่ เท่ากับ 0.02 จะมีโอกาสในการยอมรับของแต่ละ
lot เท่าไร
1 : 0.4664
2 : 0.5664
3 : 0.6664
4 : 0.7774

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 303 :
ถ ้าใช ้แผนการสุม
่ เพือการยอมรับแบบเชิงเดียว (Single Sampling Plan) ทีมี n, c ในการตรวจสอบชินงานที
ผลิตจากกระบวนการผลิตทีมีสด ั ส่วนของเสียต่อรุน
่ เท่ากับ p ถ ้าขนาดของ c เพิมขึน ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : เวลาในการตรวจสอบจะเพิมขึน
2 : โอกาสในการยอมรับ Lot จะตําลง
3 : ประสิทธิภาพของแผนการสุม ่ จะสูงขึน
4 : ความเสียงของผู ้บริโภค (Customer's risk) สูงขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 304 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียว (n = 80 และ c = 1) จงคํานวณหาค่าความน่าจะเป็ นทีจะยอมรับผลิตภัณฑ์รน
ุ่ นัน

ิ ธ

(Pa = Probability acceptance) ถ ้าระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์มค ี า่ p = 0.12


สท

1 : 0.00043
2 : 0.00047
3 : 0.00051
งวน

4 : 0.00053

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 56/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 305 :

รข
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียว (n = 30 และ c = 5) โดยจํานวนผลิตภัณฑ์ตอ
่ รุน
่ คือ 500 (N=500) ถ ้ากําหนด
ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ p = 0.08 จงคํานวณหาค่าความน่าจะเป็ นทีจะไม่พบของเสียจํานวน 2 หรือ 4
ตัวอย่าง จากการสุม ่ ตัวอย่าง (กําหนดให ้ใช ้การแจกแจงแบบทวินาม)


1 : 0.13

ิ ว
2 : 0.24

าวศ3
4
:
:
0.27
0.60
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 306 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียว (n = 30 และ c = 5) โดยจํานวนผลิตภัณฑ์ตอ
่ รุน
่ คือ 500 (N=500) ถ ้ากําหนด
ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ p = 0.08 จงหาค่าความน่าจะเป็ นทีจะยอมรับผลิตภัณฑ์ลอตนัน (กําหนดให ้ใช ้
การแจกแจงแบบปั วซอง)
1 : 0.04
2 : 0.64
3 : 0.87
4 : 0.96

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 307 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือ
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกรหัสแผนการสุม
ใช ้สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม่ ตัวอย่าง
เชิงเดียว (Single Sampling Plan)
1 : Code J
2 : Code M
3 : Code L
4 : Code I

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 308 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียว (n = 60 และ c = 2) จงคํานวณหาค่า Pa (Probability acceptance) ถ ้าระดับ
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ p = 0.06
1 : 0.06
2 : 0.14
3 : 0.29
4 : 0.94

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 309 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียว (n = 500 และ c = 20) จงคํานวณหาค่าความน่าจะเป็ นทีจะยอมรับของรุน
่ นี ถ ้า
ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ p = 0.06
1 : 0.035
2 : 0.064
3 : 0.282
4 : 0.791

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 310 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงคู่ (n1 = 40, n2 = 80, c1 = 1 และ c2 = 4) ถ ้ากําหนดให ้ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
p = 0.05 จงคํานวณหาค่า PaI

1 : 0.05
2 : 0.29

ิ ธ

3 : 0.40
สท

4 : 0.45

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

ข ้อที 311 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 57/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
่ ตัวอย่างเชิงคู่ (n1 = 40, n2 = 80, c1 = 1 และ c2 = 4) ถ ้ากําหนดให ้ระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์


แผนการสุม

รข
p = 0.05 จงคํานวณหาค่า PaII

1 : 0.082


2 : 0.090
3 : 0.238

ิ ว
4 : 0.281

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
สภ

ข ้อที 312 :
จงคํานวณหาแผนการสุม่ ตัวอย่างเชิงเดียวทีเหมาะสมภายใต ้สภาวะปกติ สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทมี
ี ขนาด
รุน
่ N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD 105 E (General Inspection Level II)
1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4)
2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)
3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)
4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 313 :
จงคํานวณหาแผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียวทีเหมาะสมภายใต ้สภาวะเคร่งครัด (Tightened) สําหรับตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ทมี ี ขนาดรุน
่ N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD 105 E (General Inspection Level
II)
1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4)
2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)
3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)
4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 314 :
จงคํานวณหาแผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียวทีเหมาะสมภายใต ้สภาวะผ่อนคลาย (Reduced) สําหรับตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ทมี ี ขนาดรุน
่ N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD 105 E (General Inspection Level
II)
1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4)
2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)
3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)
4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 315 :
จงคํานวณหาแผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียวทีเหมาะสมภายใต ้สภาวะปกติ (Normal) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑ์
ทีมีขนาดรุน่ N = 5000 และ AQL = 0.1% จากตาราง MIL STD 105 E (General Inspection Level II)
1 : (n = 125, Ac = 0, Re = 1)
2 : (n = 200, Ac = 0, Re = 1)
3 : (n = 50, Ac = 0, Re = 1)
4 : (n = 50, Ac = 0, Re = 2)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 316 :
จงคํานวณหาแผนการสุม ่ ตัวอย่างเชิงเดียวทีเหมาะสมภายใต ้สภาวะผ่อนคลาย (Reduced) สําหรับตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ทมี ี ขนาดรุน
่ N = 5000 และ AQL = 0.1% จากตาราง MIL STD 105 E (General Inspection
Level II)
1 : (n = 125, Ac = 0, Re = 1)
2 : (n = 200, Ac = 0, Re = 1)
3 : (n = 50, Ac = 0, Re = 1)
4 : (n = 50, Ac = 0, Re = 2)

ิ ธ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

ข ้อที 317 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือใช ้
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกแผนการสุม
สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม ่ ตัวอย่าง
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 58/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


เชิงเดียวภายใต ้สภาวะปกติ (Normal)

รข
1 : (n = 200, Ac = 3, Re = 4)
2 : (n = 200, Ac = 2, Re = 3)
3 : (n = 100, Ac = 1, Re = 4)


4 : (n = 80, Ac = 1, Re = 3)

ิ ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

าวศ
สภ
ข ้อที 318 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือใช ้
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกแผนการสุม
สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม ่ ตัวอย่าง
เชิงเดียวภายใต ้สภาวะผ่อนคลาย (Reduced)
1 : (n = 200, Ac = 3, Re = 4)
2 : (n = 200, Ac = 2, Re = 3)
3 : (n = 80, Ac = 1, Re = 4)
4 : (n = 80, Ac = 1, Re = 3)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 319 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือ
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level III) จงเลือกรหัสแผนการสุม
ใช ้สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม่ ตัวอย่าง
เชิงเดียวภายใต ้สภาวะผ่อนคลาย (Reduced)
1 : Code J
2 : Code M
3 : Code L
4 : Code I

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 320 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือ
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกรหัสแผนการสุม
ใช ้สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 50000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม่ ตัวอย่าง
เชิงเดียวภายใต ้สภาวะปกติ (Normal)
1 : Code L
2 : Code M
3 : Code N
4 : Code P

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 321 :
่ ตัวอย่างทีเหมาะสมเพือ
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level III) จงเลือกรหัสแผนการสุม
ใช ้สําหรับตรวจสอบชินส่วนก่อนเข ้าโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL = 0.65% โดยใช ้แผนการสุม่ ตัวอย่าง
เชิงเดียวภายใต ้สภาวะเคร่งครัด (Tightened)
1 : Code L
2 : Code M
3 : Code N
4 : Code P

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 322 :
จากตาราง MIL STD 105E ข ้อใดถูกต ้องสําหรับรหัสตรวจสอบทัวไป (General Inspection Level) I, II และ
III ภายใต ้การตรวจสอบสินค ้าทีมีขนาดรุน
่ เท่ากัน
1 : ่ ไม่ตา่ งกัน
ขนาดตัวอย่างในแผนการสุม
2 : ขนาดตัวอย่างในแผนการตรวจสอบทัวไป (General Inspection Level) I สูงกว่า ระดับ II
3 : ขนาดตัวอย่างในแผนการตรวจสอบทัวไป (General Inspection Level) II สูงกว่า ระดับ III
4 : ขนาดตัวอย่างในแผนการตรวจสอบทัวไป (General Inspection Level) III สูงกว่า ระดับ I

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท
งวน

ข ้อที 323 :
จากตาราง MIL STD 105E ท่านจะตัดสินใจใช ้ระดับการตรวจพิเศษ (Special Sampling Plan) เมือใด
1 : สินค ้าทีตรวจสอบมีราคาแพง เสียหายได ้ง่าย
อส

2 : สินค ้าทีตรวจสอบมีราคาแพง เสียหายได ้ยาก


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 59/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : สินค ้าทีตรวจสอบมีราคาถูก เสียหายได ้ง่าย
4 : สินค ้าทีตรวจสอบมีราคาถูก เสียหายได ้ยาก

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 1


ิ ว
าวศ
ข ้อที 324 :
อัตราส่วนของเสียมีคา่ เท่าไร
กําหนด Double Sampling Plan
n1 = 50, c1 = 2
สภ
n2 = 100, c2 = 4
ถ้าโอกาสในการปฏิเสธรุ่ นจากการสุ่ มตัวอย่างครังแรก = 0.185
1 : 0.02
2 : 0.06
3 : 0.08
4 : 0.07

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 325 :
ถ ้าใช ้แผนสุม
่ ตัวอย่างข ้างต ้นทําการตรวจรับ-ปฏิเสธ วัตถุดบ
ิ จํานวน 38 lots อยากทราบว่าจะมีวต
ั ถุดบ
ิ กี lots ที
จะผ่านการยอมรับในการสุม ่ ตัวอย่างตรวจสอบครังแรก
กําหนด Double Sampling Plan
n1 = 50, c1 = 2
n2 = 100, c2 = 4
ถ้าโอกาสในการปฏิเสธรุ่ นจากการสุ่ มตัวอย่างครังแรก = 0.185
1 : 2 lots
2 : 7 lots
3 : 31 lots
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 326 :
่ ตัวอย่างมาตรวจสอบรวมทังหมด 150 ชินแล ้วพบของเสีย 4 ชิน ควรดําเนินการอย่างไร
ถ ้าทําการสุม
กําหนด Double Sampling Plan
n1 = 50, c1 = 2
n2 = 100, c2 = 4
ถ้าโอกาสในการปฏิเสธรุ่ นจากการสุ่ มตัวอย่างครังแรก = 0.185
1 : รับ lot ทีตรวจ
2 : ปฏิเสธ lot ทีตรวจ
3 : ่ ตัวอย่างตรวจสอบอีกครัง
ต ้องสุม
4 : ยุตก ่ ตรวจสอบโดยไม่มก
ิ ารสุม ี ารรับหรือปฏิเสธ lot

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 327 :
ใช ้ Sampling plan ในการตรวจสอบ โดยทําการสุม ่ ตัวอย่าง 10% ของ lot เพือเป็ นขนาดตัวอย่างสําหรับการ
ตรวจสอบ และกําหนดว่าถ ้าพบของเสียน ้อยกว่าหรือเท่ากับ 2% ของขนาดตัวอย่างก็ให ้รับ lot นัน แต่ถ ้าพบ
ของเสียมากกว่า 2% ของขนาดตัวอย่างก็ให ้ปฏิเสธ lot นัน ให ้หา Single sampling plan และโอกาสปฏิเสธ
lot ของ lot size = 2,000 ชิน มีของเสียใน lot = 10 ชิน
1 : n = 200 , c = 2 , โอกาสปฏิเสธ lot = 0.01
2 : n = 200 , c = 4 , โอกาสปฏิเสธ lot = 0.01
3 : n = 200 , c = 4 , โอกาสปฏิเสธ lot = 0.004
4 : n = 2000 , c = 10 , โอกาสปฏิเสธ lot = 0.02

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 328 :

ิ ธ

ใช ้ Sampling plan ในการตรวจสอบ โดยทําการสุม ่ ตัวอย่าง 10% ของ lot เพือเป็ นขนาดตัวอย่างสําหรับการ
สท

ตรวจสอบ และกําหนดว่าถ ้าพบของเสียน ้อยกว่าหรือเท่ากับ 2% ของขนาดตัวอย่างก็ให ้รับ lot นัน แต่ถ ้าพบ
ของเสียมากกว่า 2% ของขนาดตัวอย่างก็ให ้ปฏิเสธ lot นัน ให ้หา Single sampling plan และโอกาสปฏิเสธ
lot ของ lot size = 3,000 ชิน มีของเสียใน lot = 30 ชิน
งวน

1 : n = 3000 , c = 30 , โอกาสรับ lot = 0.966


2 : n = 300 , c = 6 , โอกาสรับ lot = 0.034
3 : n = 3000 , c = 30 , โอกาสรับ lot = 0.034
อส

4 : n = 300 , c = 6 , โอกาสรับ lot = 0.966


203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 60/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

รข
เนือหาวิชา : 201 : 09 Sampling Plan for Variables


ิ ว
าวศ
ข ้อที 329 :
เมือเปรียบเทียบแผนการสุม
กับแผนการสุม
่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยนับและแบบหน่วยวัด ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัด
ู ต ้องเกียว
สภ
1 : ใช ้เวลาและค่าใช ้จ่ายในการตรวจสอบตํา
2 : ขนาดตัวอย่างมีขนาดเล็ก
3 : สารสนเทศเกียวกับคุณภาพมีมาก
4 : สมมติฐานการแจกแจงความน่าจะเป็ นของรุน ่ สินค ้า (Lot) ต ้องเป็ นแบบปกติ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 330 :
สมมติระดับคุณภาพตําสุดของผู ้ผลิตเท่ากับ 1% เป็ นระดับทีผู ้บริโภคจะยอมรับได ้ด ้วยความน่าจะเป็ น 95%
และมีคา่ ความน่าจะัเป็ นเท่ากับ 0.025 สําหรับระดับคุณภาพตําสุดทีผู ้บริโภคยอมรับได ้ซึงมีคา่ เท่ากับ 0.10 ถ ้า
ค่าทีวัดได ้จากกระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติ จงหาจํานวนตัวอย่างทีต ้องสุม ่
1 : n = 11
2 : n = 12
3 : n = 13
4 : n = 14

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 331 :
่ ตัวอย่างแบบตัวแปรกําหนดพิกด
เมือต ้องการคํานวณค่า n และ k จากแผนการสุม ั เดียว เราควรรู ้ค่าต่างๆ ต่อไป
นี
1 : ค่า AQL, LTPD, P1, P2
2 : ค่า α, β, P1, P2
3 : ค่า α, AQL, P1, P2
4 : ค่า Z, AQL, LTPD, L

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 332 :
ในการใช ้มาตรฐานการตรวจสอบ MIL-STD 414ทีไม่ทราบความเบียงเบนมาตรฐาน และมีข ้อกําหนดผลิตภัณฑ์
แบบสองด ้าน ควรใช ้แผนการตรวจสอบแบบใด
1 : M method ใช ้ค่าพิสย ั
2 : M method ใช ้ S.D.
3 : K method ใช ้ค่าพิสย

4 : M method ใช ้ค่าพิสย ั หรือความเบียงเบนมาตรฐานก็ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 333 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างมีความเหมาะสมทีจะใช ้ในกรณีใด
1 : เมือการทดสอบคุณสมบัตค ิ ณ
ุ ภาพเป็ นแบบทําลาย
2 : เมือค่าใช ้จ่ายในการตรวจสอบ 100% สูงมากเกินไป
3 : เมือสัดส่วนของเสียในกระบวนการผสิตสูงมาก
4 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 334 :
่ ตัวอย่างเมือเปรียบเทียบกับการตรวจสอบ 100%
ข ้อใดทีเป็ นข ้อดีของแผนการสุม

ิ ธ

1 : ค่าใช ้จ่ายน ้อยกว่าเพราะมีการตรวจสอบโดยเฉลียขนาดตัวอย่างน ้อยกว่า


สท

2 : สินค ้ามีความเสียหายมากขึนเนืองจากมีการโยกย ้ายมากขึน


3 : พนักงานมีขวัญและกําลังใจมากขึน
งวน

4 : ลดเวลานํ า (lead time) ในการผลิตสินค ้า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 61/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 335 :

รข
ข ้อใดคือข ้อควรระวังของการใช ้แผนการสุม
่ เพือการยอมรับสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัด
1 : ความน่าจะเป็ นในการยอมรับ Lot ต ้องสูงกว่า 0.1


2 : ลักษณะสมบัตต ิ ้องผลิตมาจากกระบวนการที In-Statistical Control
3 : รุน
่ สินค ้า (Lot) มีการแจกแจงแบบปกติ

ิ ว
4 : AQL ต ้องกําหนดโดยลูกค ้า

าวศคําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 336 :
แผนการสุม ่ ตรวจสอบสําหรับข ้อมูลแบบหน่วยวัดทีมีคา่ n = 35 และ k = 1.7 เมือตัวอย่างสุม ่ จาก Lot ได ้ค่า
เฉลียและค่าเบียงเบนมาตรฐานของลักษณะสมบัตท ี ้องการตรวจวัดเท่ากับ 0.73 และ 1.05x10-2 ตามลําดับ
ิ ต
ถ ้าสมบัตต
ิ ามข ้อกําหนดต ้องมีคา่ อย่างตํา 0.7 หน่วย ควรสรุปผลการตรวจอย่างไร เพราะเหตุใด
1 : ยอมรับ เพราะ ZLSL > k
2 : ยอมรับ เพราะ ZLSL < k
3 : ปฏิเสธ เพราะ ZLSL > k
4 : ตัดสินไม่ได ้เพราะข ้อมูลไม่เพียงพอ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 337 :
ข ้อสมมติทสํี าคัญในการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร (Variable Sampling Plan) คือข ้อใด
1 : การแจกแจงทวินาม
2 : การแจกแจงสมมาตร
3 : การแจกแจงปกติ
4 : การแจกแจงเอ็กซ์โปเนนเชียล

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 338 :
ข ้อต่อไปนี ข ้อใดคือข ้อดีของการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร (Variable Sampling Plan)
1 : ทําการวัดค่าง่าย ค่าใช ้จ่ายตํา
2 : การแจกแจงเป็ นแบบปกติ
3 : ่ น ้อย
ได ้รับข ้อมูลเกียวกับคุณภาพน ้อยลง เนืองจากขนาดตัวอย่างทีสุม
4 : ขนาดตัวอย่างทีใช ้น ้อย เนืองจากข ้อมูลค่าวัดให ้สารสนเทศมากอยูแ
่ ล ้ว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 339 :
ข ้อดีของการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร (Variable Sampling Plan) โดยวิธ ี M method
เมือเทียบกับแผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร วิธอี น
ื คือ
1 : สามารถประมาณสัดส่วนของเสียทีในรุน ่ ได ้
2 : การคํานวณง่าย ไม่ซบ ั ซ ้อน
3 : ขนาดตัวอย่างทีใช ้น ้อยกว่า
4 : ไม่ต ้องคํานึงถึงการแจกแจงของข ้อมูล

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 340 :
การใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร(Variable Sampling Plan) ข ้อใดต่อไปนี คือ ลักษณะของ
วิธ ี M-method
1 : คํานวณง่าย ขนาดตัวอย่างตํา ประมาณสัดส่วนของเสียในรุน่ ได ้
2 : คํานวณง่าย ขนาดตัวอย่างสูง ประมาณสัดส่วนของเสียในรุน
่ ไม่ได ้
3 : คํานวณยาก ขนาดตัวอย่างตํา ประมาณสัดส่วนของเสียในรุน ่ ได ้
4 : คํานวณยาก ขนาดตัวอย่างสูง ประมาณสัดส่วนของเสียในรุน ่ ไม่ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ิ ธ
สท

ข ้อที 341 :
ความเสียงของผู ้บริโภคการใช ้แผนการชักตัวอย่างเพือการยอมรับชนิดแปร (Variable Sampling Plan) เกิดขึน
งวน

เมือใด
1 : ยอมรับรุน
่ สินค ้า เมือรุน่ สินค ้านันมีคณุ ภาพดี
2 : ยอมรับรุน่ สินค ้า เมือรุน่ สินค ้านันมีคณุ ภาพไม่ด ี
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 62/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


3 : ปฏิเสธรุน
่ สินค ้า เมือรุน่ สินค ้านันมีคณุ ภาพดี
4 : ปฏิเสธรุน่ สินค ้า เมือรุน่ สินค ้านันมีคณุ ภาพไม่ด ี

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2


ิ ว
าวศ
ข ้อที 342 :
ถ ้าในการคํานวณขนาดตัวอย่างสําหรับแผนการชักตัวอย่างชนิดแปร(Variable Sampling Plan) พบว่า ขนาด
่ ตัวอย่างจํานวนเท่าไรจึงจะเหมาะสม ถ ้าท่านมีข ้อสงสัยใน
ตัวอย่างทีเหมาะสม คือ 9.28 ท่านจะแนะนํ าให ้สุม
คุณภาพ
สภ
1 : 9
2 : 9.28
3 : 9.5
4 : 10

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 343 :
กระบวนการผลิตทีมีข ้อกําหนดมาตรฐานสองด ้าน ในการสุม ่ โดยใช ้แผนการชักตัวอย่างชนิดแปร(Variable
Sampling Plan) ท่านจะแนะนํ าให ้ใช ้วิธใี ด ถ ้าข ้อมูลมีการแจกแจงปกติ
1 : k method
2 : M- method
3 : V-method
4 : CP-1

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 344 :
่ ตัวอย่างข ้อมูลวัดค่า
ข ้อใดต่อไปนี คือ มาตรฐานการสุม
1 : MIL. STD. 105 E
2 : MIL. STD. 414
3 : ASQC Z 1.4
4 : ISO 2859

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 202 : 10 Special Types of Sampling Plan and Control Chart

ข ้อที 345 :
กําหนดให ้รุน
่ สินค ้า (lot) ทีต ้องการตรวจสอบมีขนาด 1150 ชิน ระดับคุณภาพทียอมรับเท่ากับ 25 ข ้อบกพร่อง
ทีไม่ตรงตามข ้อกําหนดต่อร ้อยหน่วยผลิตภัณฑ์ และระดับการตรวจสอบเป็ นแบบระดับ III จงหาแผนการสุม ่
่ ําหรับการตรวจสอบแบบผ่อนคลาย โดยใช ้ ANSI/ASQC Z1.4
ตัวอย่างเชิงคูส
1 : (n1,c1,n2,c2) = (13,5,13,12)
2 : (n1,c1,n2,c2) = (32,5,32,12)
3 : (n1,c1,n2,c2) = (32,0,32,0)
4 : (n1,c1,n2,c2) = (50,0,50,0)

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 346 :
จงหา CSP-1 ทีเหมาะสมสําหรับ AOQL = 0.79% และ f = 10% โดยทีชินงานในช่วงผลิตมีคา่ เท่ากับ 1200
ชิน
1 : ตรวจสอบทุกหน่วยต่อเนืองกันแบบ 100% จนครบ 138 ชินแล ้วไม่พบของเสีย ให ้เปลียนเป็ นสุม ่ ตรวจ 1
ชินจากทุกๆ 10 ชิน
่ ตรวจ 1 ชินจากทุกๆ 138 ชินจบครบ 10 ครัง ถ ้าไม่พบของเสีย ให ้เปลียนเป็ นตรวจสอบแบบ 100%
2 : สุม
3 : ตรวจสอบทุกหน่วยต่อเนืองกันแบบ 100% จนครบ 10 ชินแล ้วไม่พบของเสีย ให ้เปลียนเป็ นสุม ่ ตรวจ 1
ชินจากทุกๆ 138 ชิน
4 : ตรวจสอบทุกหน่วยต่อเนืองกันแบบ 100% จนครบ 79 ชินแล ้วไม่พบของเสีย ให ้เปลียนเป็ นสุม ่ ตรวจ 1
ชินจากทุกๆ 138 ชิน

ิ ธ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
งวน

ข ้อที 347 :
Sequential Sampling Plan หมายถึงข ้อใด
่ ตัวอย่างเดียว
1 : แผนการสุม
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 63/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
่ ตัวอย่างแบบต่อเนืองใช ้กับระบบสายการผลิตแบบ continuous


2 : แผนการสุม
3 : แผนการสุม่ ตัวอย่างของเบอร์นาร์ดทีใช ้คะแนนสะสมในรูปของตาราง

รข
4 : แผนการสุม ่ ตัวอย่างโดยมีเส ้นคูข
่ นาน X(L) และ X(U) หรือ เส ้นยอมรับ และ เส ้นปฏิเสธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4


ิ ว
าวศ
ข ้อที 348 :
ในการใช ้มาตรฐานการตรวจสอบ MIL-STD-1235C ทีมีชว่ งการผลิตระยะสัน ๆ ควรใชัแผนการแบบใด
สภ
1 : CSP -1
2 : CSP -2
3 : CSP -F
4 : CSP –T

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 349 :
ข ้อใดอธิบายความแตกต่างระหว่าง CUSUM Chart และ Shewhart Control Chart ได ้อย่างถูกต ้อง
1 : CUSUM Chart ใช ้ในการควบคุมเมือกระบวนการเป็ นแบบ short production run แต่ Shewhart
Control Chart ใช ้ในการสังเกตเมือเป็ นกระบวนการแบบ long production run
2 : CUSUM Chart ใช ้ในการสังเกต small shift ในกระบวนการแต่ Shewhart Control Chart จะสามารถ
สังเกตได ้แต่ large shift เท่านัน
3 : ในการควบคุมคุณภาพโดย CUSUM Chart ณ เวลา t ต ้องนํ าข ้อมูลอันดับ t-1 มาใช ้พิจารณาประกอบ
ด ้วย แต่ Shewhart Control Chart ไม่นําเอาข ้อมูลในอดีตมาใช ้ประกอบการพิจารณา
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 350 :
CUSUM control chart เมือเปรียบเทียบกับ Shewhart control chart จะมีผลคือ
1 : CUSUM control chart จะมีความไวต่อ shift ขนาดเล็กน ้อยกว่า Shewhart control chart
2 : CUSUM control chart จะมีความไวต่อ shift ขนาดเล็กเท่ากับ Shewhart control chart
3 : CUSUM control chart จะมีความไวต่อ shift ขนาดเล็กดีกว่า Shewhart control chart
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 351 :
CUSUM control chart มี 2 รูปแบบคือ
1 : Tabular cusum และ V-mask cusum
2 : Cumulative cusum และ random cusum
3 : Tabular cusum และ Cumulative cusum
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 352 :
ข ้อใดข ้อเป็ นความแตกต่างระหว่าง Shewhart Control chart และ CUSUM control chart
1 : CUSUM เป็ นแผนภูมท ิ ตรวจจั
ี บ process shift ขนาดเล็กได ้ดีกว่า
2 : CUSUM เป็ นแผนภูมท ิ สรี ้างจากหลักการของการแจกแจงแบบ Binomial
3 : Shewhart เป็ นแผนภูมท ิ เหมาะกั
ี บขนาด n > 1
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 353 :
จากการใช ้ CUSUM control chart พบว่า กระบวนการ out-of-control ทีตัวอย่างชุดที 28 โดยมีคา่ N- = 6,
Ci- = 5.30 ซึงมากกว่า ค่า H = 5, K = 0.5 ทีค่าเฉลียของกระบวนการใหม่เท่ากับเท่าใด (จากเดิมเท่า 10.00)

ิ ธ

1 : 7.62
สท

2 : 8.62
3 : 9.62
4 : 11.25
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 64/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ข ้อที 354 :
แผนภูมใิ ดต่อไปนี คือ แผนภูมท
ิ เหมาะสมในการตรวจจั
ี บของเสียในหน่วย “จํานวนต่อหนึงล ้านชิน (ppm)”

รข
1 : แผนภูมค
ิ วบคุมจํานวนรอยตําหนิ (C chart)
2 : แผนภูมคิ วบคุมจํานวนของเสีย (np chart)


3 : แผนภูมค ิ วบคุมค่านับสะสม (CCC chart)
4 : แผนภูมค ิ วบคุมค่าบวกสะสม (Cusum chart)

ิ ว
าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ
ข ้อที 355 :
ถ ้าโรงงานต ้องการใช ้แผนภูมค
ิ วบคุมกระบวนการใหม่ซงเพิึ งเริมดําเนินการ โดยควบคุมขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง
ของชินงาน ท่านจะแนะนํ าให ้ใช ้แผนภูมใิ ดต่อไปนีจึงจะเหมาะสมทีสุด
1 : แผนภูมค
ิ า่ เดียวและค่าพิสยั เคลือนที
2 : แผนภูมคิ า่ เฉลียและค่าพิสยั
3 : แผนภูมค ิ วบคุมค่านับสะสม
4 : แผนภูมค ิ า่ บวกสะสม

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 356 :
แผนภูมต ิ อ ิ ระเภทใดทีเหมาะสมสําหรับใช ้กับลักษณะทางคุณภาพทีมีข ้อกําหนดไม่สมมาตร
่ ไปนีแผนภูมป
(asymmetric)
1 : แผนภูมเิ ชิงลักษณ์
2 : แผนภูมล ิ ม ิ ติ ความน่าจะเป็ น
3 : แผนภูมล ิ ม ิ ติ มาตรฐาน
4 : แผนภูมช ิ นิดแปร

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 357 :
ความสามารถของแผนภูมค
ิ า่ บวกสะสม (CUSUM) เมือเปรียบเทียบกับแผนภูมค
ิ า่ เฉลีย (X-bar) เป็ นดังข ้อใด
1 : แผนภูม ิ CUSUM สามารถตรวจจับการเปลียนแปลงค่ากลางของ กระบวนการได ้ช ้ากว่าแผนภูม ิ x-bar
เมือค่ากลางของกระบวนการ เปลียนแปลงเล็กน ้อย
2 : แผนภูม ิ CUSUM สามารถตรวจจับการเปลียนแปลงค่ากลางของ กระบวนการได ้เร็วกว่าแผนภูม ิ x-bar
เมือค่ากลางของกระบวนการ เปลียนแปลงเล็กน ้อย
3 : แผนภูม ิ CUSUM และแผนภูม ิ x-bar มีความสามารถในตรวจจับ การเปลียนแปลงค่ากลางของ
กระบวนการได ้ดีเสมอกัน
4 : แผนภูม ิ CUSUM พัฒนามาจากแผนภูม ิ x-bar แต่สามารถคํานวณได ้ง่ายกว่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 358 :
แผนภูมค ิ า่ บวกสะสม (Cumulative sum Chart) เหมาะทีจะใช ้กับกระบวนการใด ต่อไปนี
1 : กระบวนการทีมีการเปลียนแปลงในระบบตํา ลักษณะทางคุณภาพ คือ ค่าวัด
2 : กระบวนการทีมีการเปลียนแปลงในระบบสูง ลักษณะทางคุณภาพ คือ ค่าวัด
3 : กระบวนการทีมีการเปลียนแปลงในระบบตํา ลักษณะทางคุณภาพ คือ ค่านับ
4 : กระบวนการทีมีการเปลียนแปลงในระบบสูง ลักษณะทางคุณภาพ คือ ค่านับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 359 :
เหตุการณ์ใดต่อไปนีเหมาะทีจะใช ้แผนภูมค ั เคลือนที (X-MR)
ิ วบคุมค่าเดียว และค่าพิสย
1 : ระบบการวัดมีคา่ GR&R สูงกว่า 20% กําลังการผลิตตํา
2 : ระบบการวัดมีคา่ GR&R สูงกว่า 5% กําลังการผลิตสูง
3 : ระบบการวัดมีคา่ GR&R ตํากว่า 20% กําลังการผลิตสูง
4 : ระบบการวัดมีคา่ GR&R ตํากว่า 5% กําลังการผลิตตํา

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ิ ธ
สท

ข ้อที 360 :
ในการใช ้แผนภูม ิ CUSUM รูปแบบใดทีนิยมใช ้ในการคํานวณ
1 : I-mask
งวน

2 : V-mask
3 : Tabular form
4 : Cumulative form
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 65/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ก รข
ข ้อที 361 :

ิ ว
แผนภูมใิ ด สามารถนํ ามาใช ้ในกรณีทข
ี ้อมูลไม่เป็ นอิสระต่อกัน

าวศ1
2
:
: P/ np
3 : C/U
สภ
4 : EWMA

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 362 :
แผนภูมค ั เคลือนที (X-MR) ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ิ า่ เดียว และ ค่าพิสย ู ต ้อง
1 : แผนภูมค ิ า่ เดียวตีความได ้
2 : แผนภูม ิ MR ตีความได ้
3 : แผนภูมค ิ า่ เดียว เส ้นกึงกลาง แทน ค่ากระบวนการ
4 : แผนภูม ิ MR สร ้างเพือใช ้ประมาณค่าเบียงเบนมาตรฐาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 363 :
ข ้อดีของแผนภูมค
ิ า่ บวกสะสม คือ
1 : เก็บขนาดตัวอย่างมากกว่า 1
2 : จับการเปลียนแปลงในช่วงกว ้าง
3 : จับการเปลียนแปลงใช่วงแคบ
4 : ใช ้กับข ้อมูลค่านับ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 364 :
แผนภูมค ิ า่ นับสะสม เหมาะทีจะใช ้เมือ
1 : ของเสียในกระบวนการสูง
2 : ของเสียในกระบวนการปานกลาง
3 : ของเสียในกระบวนการตํามาก
4 : ผิดทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างใด ไม่ได ้ระบุไว ้ใน ASQC Z1.4
1 : ่ เชิงเดียว
แผนการสุม
2 : แผนการสุม่ เชิงคู่
3 : แผนการสุม ่ หลายเชิง
4 : แผนการสุม ่ ข ้ามลอต

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 366 :
การสุม ่ ตัวอย่างแบบข ้ามลอต เหมาะทีจะใช ้เมือ
1 : ผลการตรวจสอบลอต ลอตไม่ถก
ู ปฏิเสธอย่างต่อเนือง
2 : ผลการตรวจสอบลอต ลอตถูกปฏิเสธบ่อยครัง
3 : ผลการตรวจสอบลอต ลอตถูกปฏิเสธปานกลาง
4 : ผลการตรวจสอบลอต ลอตถูกปฏิเสธทุกครัง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ิ ธ
สท

ข ้อที 367 :
แผนภูมค ิ า่ บวกสะสม ควรใช ้เมือ
งวน

1 : ค่าเบียงเบนมาตรฐานในกระบวนการสูง
2 : ค่ากลางในกระบวนการอยูต ่ รงค่าเป้ าหมาย
3 : กระบวนการทีควบคุมเป็ นกระบวรการเก่า
4 : กระบวนการทีควบคุมเกียวกับความปลอดภัย
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 66/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ก รข
ข ้อที 368 :

ิ ว
่ ตัวอย่างสําหรับข ้อมูลค่าวัด
ข ้อใดต่อไปนี คือ แผนการสุม

าวศ1
2
3
:
:
:
MIL STD 105E
CSP
KSP
สภ
4 : MIL STD 212

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 203 : 11 Reliability in Manufacturing

ข ้อที 369 :
ความน่าเชือถือได ้ในผลิตภัณฑ์ (Product Reliability) หมายถึง
1 : ความน่าจะเป็ นทีจะใช ้ผลิตภัณฑ์นันๆ ในสภาพทีใช ้งานได ้ช่วงระยะเวลาหนึงภายใต ้สภาพการใช ้งาน
ปกติ
2 : ความน่าจะเป็ นทีจะผลิตผลิตภัณฑ์จํานวนหนึงไม่ให ้มีของเสียเลย
3 : ความเชือมันในการผลิตสินค ้าหนึงๆให ้ทันกําหนดเวลา
4 : ความเชือมันในการใช ้ผลิตภัณฑ์หนึงในสภาพทีใช ้ได ้ เมือเทียบกับผลิตภัณฑ์มาตรฐานทีกําหนดไว ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 370 :
ค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของระบบ (PS) ทีมีสว่ นประกอบ 3 เครือง เรียงตามลําดับแบบอนุกรม เครือง
ส่ง (PT), เครืองรับ (PR) และเครืองบันทึก (PC) คือข ้อใด

1 : PS = PT – PR – PC
2 : PS = PT + PR + PC
3 : PS = PT * PR * PC
4 : PS = PT / PR / PC

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 371 :
จงหาค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของระบบดังภาพ

1 : 50.4%
2 : 73.7%
3 : 80.0%
4 : 87.0%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 372 :
แผนการสุม ่ ตัวอย่างขนาด n = 16, T = 600 h, c = 2, และ r = 3 มีความหมายตรงกับข ้อใด
่ ตัวอย่าง 16 หน่วยจากรุน
1 : สุม ่ และทําการทดสอบพร ้อมๆกันเป็ นเวลา 600 ชม. จึงหยุดทําการทดลอง ถ ้า
failure หน่วยที 2 ไม่เกิดขึนในช่วงเวลาการทดสอบ ให ้ยอมรับรุน ่
2 : สุม่ ตัวอย่าง 16 หน่วยจากรุน ่ และทําการทดสอบทีละ 1 หน่วยรวมเป็ นเวลา 600 ชม ถ ้า failure หน่วยที
3 เกิดขึนในช่วงเวลาทดสอบ ให ้ปฏิเสธรุน ่

ิ ธ

3 : สุม ่ ตัวอย่าง 16 หน่วยจากรุน ่ และทําการทดสอบพร ้อมๆกันเป็ นเวลา 600 ชม จึงหยุดทําการทดลอง ถ ้า


failure หน่วยที 3 เกิดขึนในช่วงเวลาทดสอบ ให ้ปฏิเสธรุน ่
สท

4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน
อส

ข ้อที 373 :
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 67/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ลักษณะของอายุของผลิตภัณฑ์ซงสามารถแบ่ งได ้ 3 ช่วง การล ้มเหลวทีมีสาเหตุมาจากข ้อจํากัดของการ
ออกแบบหรือการเปลียนแปลงของสิงแวดล ้อมในการทํางานจะเกิดในช่วงใด

รข
1 : Early Stage
2 : Expected Normal Life


3 : End of Life
4 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก

ิ ว
าวศคําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ
ข ้อที 374 :

คลังแสงเก็บวัตถุระเบิดสําหรับกองทัพบก เก็บวิทยุสอสารจํ านวน 46 เครือง ซึงแต่ละเครืองประกอบด ้วยชิน
ส่วนประกอบ 6 ชิน ซึงต่อแบบอนุกรม โดยความน่าเชือถือของชินส่วนประกอบหลังจากเก็บไว ้ในคลังสินค ้า 3 ปี

มีคา่ ประมาณ 0.96 จงหาความน่าจะเป็ นทีเลือกวิทยุสอสาร ่ และพบว่ามีเพียง 4 เครืองทํางาน
5 เครืองแบบสุม
ได ้ตามปกติ
1 : 0.41
2 : 0.22
3 : 0.84
4 : 0.78

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 375 :
ระบบสํารองข ้อมูล ประกอบด ้วยเครืองคอมพิวเตอร์ 2 เครือง (ชนิดเดียวกัน) ต่อขนานกัน โดยต ้องการให ้ระบบ
สํารองข ้อมูลมีความน่าเชือถือเท่ากับ 0.999 ถามว่าค่าความน่าเชือถือของเครืองคอมพิวเตอร์ควรมีคา่ เท่าใด
1 : 0.95
2 : 0.97
3 : 0.98
4 : 0.99

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 376 :
หน่วยประมวลผลสําหรับใช ้ในเครืองคอมพิวเตอร์มค ี า่ อัตราความขัดข ้อง (Failure Rate) เท่ากับ 0.025 ต่อ
1000 ชัวโมง ถ ้าใช ้หน่วยประมวลผลนีอย่างต่อเนือง เป็ นเวลา 1 ปี จงหาค่าความน่าจะเป็ นทีหน่วยประมวลผล
จะไม่เสียมีคา่ เท่าใด
1 : 0.62
2 : 0.74
3 : 0.80
4 : 0.88

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 377 :
ชินส่วนสําหรับประกอบเครืองตรวจจับวัตถุระเบิดมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล (Exponential) โดยมีอต ั รา
ความขัดข ้อง Failure Rate = 0.036 failure/100 ชัวโมง จงหาค่าความน่าจะเป็ นทีชินส่วนชินนีจะไม่เสียใน
ช่วงการทํางาน 400 ชัวโมง
1 : 0.36
2 : 0.62
3 : 0.77
4 : 0.87

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 378 :
ชินส่วนสําหรับประกอบเครืองตรวจจับวัตถุระเบิดมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล(Exponential) โดยมีอต ั รา
ความขัดข ้อง (Failure Rate)= 0.036 failure/100 ชัวโมง จงหาอายุโดยเฉลียของชินส่วนทีใช ้งานมาแล ้ว
400 ชัวโมง
1 : 1700
2 : 2780
3 : 2977

ิ ธ

4 : 3180
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
งวน

ข ้อที 379 :
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 68/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ระบบเตือนภัยสําหรับป้ องกันขโมยประกอบด ้วยชินส่วนชนิดเดียวกันหลายชินต่อขนานกัน โดยระบบเตือนภัยมี
อัตราความขัดข ้อง (Failure Rate) = 0.0005 ต่อชัวโมง และชินส่วนมี Failure Rate = 0.0008 ต่อชัวโมง

รข
ระบบนีต ้องมีจํานวนชินส่วนเท่าใด
1 : 2


2 : 3
3 : 4

ิ ว
4 : 5

าวศ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ

ข ้อที 380 :
ระบบหนึงประกอบด ้วยชินส่วน 4 ชินต่อแบบอนุกรม (Series) โดย Time-to-Failure มีการแจกแจงแบบเอกโป
เนนเชียล และมีอตั ราความขัดข ้อง (Failure Rate)คือ 2.7, 3.6, 14.2 และ 8.6 ต่อ 1,000 ชัวโมง ค่า MTBF
ควรมีคา่ เท่าใด
1 : 34
2 : 40
3 : 51
4 : 64

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 381 :
ระบบหนึงประกอบด ้วยชินส่วน 3 ชินต่อแบบขนาน โดย Time-to-Failure มีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล
และมีอต ั ราความขัดข ้อง (Failure Rate)= 16.3 ต่อ 1,000 ชัวโมง ค่า MTBF ควรมีคา่ เท่าใด
1 : 163
2 : 124
3 : 112
4 : 105

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 382 :
ชุดเรดาห์มค ี า่ MTBF เท่ากับ 240 ชัวโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล ในการปฏิบต
ั ภ
ิ ารกิจทาง
อากาศ มีข ้อกําหนดว่าเครืองจะต ้องไม่มคี วามบกพร่องในในการตรวจสอบวัตถุแปลกปลอมในอากาศตลอด 24
ชัวโมง จงหาความน่าจะเป็ นทีชุดเรดาห์จะไม่พบความบกพร่องตลอด 24 ชัวโมง
1 : 0.75
2 : 0.80
3 : 0.85
4 : 0.90

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 383 :
ชินส่วน A ซึงเป็ นส่วนประกอบเครืองยิงขีปณาวุธมีคา่ MTBF 2,000 ชัวโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนน
เชียล จงหาความน่าจะเป็ นของชินส่วนทีจะทํางานได ้อย่างน ้อย 200 ชัวโมง ชินส่วน A ซึงเป็ นส่วนประกอบ
เครืองยิงขีปณาวุธมีคา่ MTBF 2,000 ชัวโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล จงหาความน่าจะเป็ นของ
ชินส่วนทีจะทํางานได ้อย่างน ้อย 200 ชัวโมง
1 : 0.855
2 : 0.905
3 : 0.925
4 : 0.955

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 384 :
ข ้อมูลแสดงอัตราความขัดข ้อง (Failure Rate) ของส่วนประกอบในอุปกรณ์อเิ ล็คทรอนิคส์ สรุปดังตาราง สมมติ
ข ้อมูลมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล และชินส่วนทุกชินมีผลต่อการทํางานของอุปกรณ์อเิ ลคทรอนิคส์
จงหา MTBF ของอุปกรณ์อเิ ล็คทรอนิคส์ชด ุ นี
ชินส่วน ปริมาณ Failure Rate/hour
Silicon transistor 40 74.0 x 10-6

ิ ธ

Film resistor 100 3.0 x 10-6


สท

Paper capacitor 50 10.0 x 10-6


1 : 125
งวน

2 : 183
3 : 256
4 : 267
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 69/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

รข
ข ้อที 385 :


ชินส่วนสําหรับระบบไฮโดรลิก ประกอบด ้วยระบบย่อยต่อขนานกัน โดยระบบย่อยแต่ละระบบประกอบด ้วยชิน

ิ ว
ส่วนดังตารางต่อไปนี ชินส่วนทุกชินจําเป็ นต่อการทํางานของระบบย่อย และระบบย่อย 2 ระบบทีต่อขนานกัน

าวศ
ทํางานพร ้อมกัน จงหาค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของชินส่วนไฮโดรลิกในช่วง 300 ชัวโมง (ข ้อมูลมีการ
แจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล)
Components Failure/106 ชม. Number of components
Pump 23.4 1
สภ
Quick disconnect 2.4 3
Check valve 6.1 2
Shutoff valve 7.9 1
Lines and Fittings 3.13 7
1 : 0.927
2 : 0.952
3 : 0.978
4 : 0.995

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 386 :
ระบบตรวจสอบข ้อมูลประกอบด ้วยชินส่วน 3 ชิน ต่อดังรูปต่อไปนี จงหาค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability) ของ

ระบบตรวจสอบนี
1 : 0.9000
2 : 0.9956
3 : 0.9999
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 387 :
ระบบตรวจสอบข ้อมูลประกอบด ้วยชินส่วน 3 ชิน ต่อดังรูปต่อไปนี ถ ้าระบบดังกล่าวเปลียนจากต่อขนานเป็ นแบบ
อนุกรม จะทําให ้ค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของระบบเพิมขึนหรือลดลงเท่าใด

1 : เพิมขึน 0.055
2 : ลดลง 0.055
3 : เพิมขึน 0.155
4 : ลดลง 0.155

ิ ธ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท
งวน

ข ้อที 388 :
ถ ้าระบบเครืองมือวัดประกอบด ้วยชินส่วน 6 ชิน ต่อกันดังรูปต่อไปนี ถ ้าชินส่วนชินที 1, 2 และ 3 มีคา่ ความน่า
เชือถือได ้(Reliability) เท่ากัน และมีคา่ เปลียนเป็ น 0.85 ค่าความน่าเชือถือได ้ของเครืองมือวัดลดลงเป็ นเท่าใด
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 70/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


ก รข
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.980
2 : 0.984
3 : 0.987
4 : 0.990

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 389 :
ถ ้าเครืองมือชนิดหนึงประกอบด ้วยชินส่วน 3 ชิน ประกอบดังรูปต่อไปนี (R คือค่าความน่าเชือถือ
ได ้(Reliability)ของชินส่วน) จงคํานวณหาค่าความน่าเชือถือได ้ของเครืองมือดังกล่าว

1 : 0.75
2 : 0.72
3 : 0.95
4 : 0.99

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 390 :
ถ ้าเครืองมือชนิดหนึงประกอบด ้วยชินส่วน 3 ชิน ประกอบดังรูป (R คือค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของชิน
ส่วน) ถ ้าต ้องการเพิมค่า Reliability ของเครืองมือดังกล่าว 30% ค่า RB ควรเปลียนเป็ นเท่าใด

1 : 0.85
2 : 0.90
3 : 0.95
4 : 0.99

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 391 :
เครืองมือประกอบด ้วยชินส่วน 2 ชิน ต่อดังรูปต่อไปนี โดย R คือค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของชินส่วน

จงคํานวณหาค่า Reliability ของเครืองมือดังกล่าว


1 : 0.57

2 : 0.75
ิ ธ

3 : 0.84
สท

4 : 0.96

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
งวน
อส

ข ้อที 392 :
203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 71/74
16/4/2563 สภาวิศวกร
ในกระบวนการผลิตทีซับซ้อนประกอบด้วยกระบวนการ 3 กระบวนการ เรี ยงแบบอนุกรม จากกระบวนการ เครื องจักรมักมี


ปั ญหาในการซ่อมแซมเป็ นประจํา ดังนันเพือให้ระบบทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพจําต้องใช้เครื องจักรทีเหมือนกันทุก

รข
ประการสํารองในแต่ละกระบวนการ เพือใช้ในกรณี ทีเครื องจักรอีกเครื องเสี ยต้องซ่อมแซมซึงแสดงดังรู ป และความน่าเชือถือ
ได้ (Reliability)สําหรับแต่ละเครื องแสดงดังตาราง


ิ ว
าวศ
สภ

จงหาความน่าเชือถือได้ (Reliability)รวมของระบบ ในกรณี ไม่มีเครื องจักรสํารอง


1 : 0.50-0.65
2 : 0.66-0.75
3 : 0.76 -0.85
4 : 0.86 – 1.00

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 393 :
ถ ้าอายุการทํางานของแบตเตอรีแจกแจงแบบปกติ โดยมีคา่ เฉลียเท่ากับ 1,000 วัน และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน
60 วัน จงหาร ้อยละของแบตเตอรีทีสามารถทํางานได ้น ้อยกว่า 880 วัน
1 : 0-2.0
2 : 2.1-4.0
3 : 4.1-6.0
4 : 6.1- 8.0

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 394 :
บริ ษทั ผลิตเครื องเล่น VCD สําหรับใช้ในรถยนต์ประกอบด้วยชินส่ วนสําคัญ (A, B, C) ดังภาพ ชินส่ วนดังกล่าวสามารถซือ
จากผูข้ าย 4 ราย โดยค่าความน่าเชือถือได้(Reliability)แต่ละชินส่ วนจากผูข้ าย แสดงดังตาราง

เนืองจากปั ญหาด้านการขนส่ งทําให้ตอ้ งเลือกผูข้ ายเพียง 1 รายเท่านัน บริ ษทั ควรเลือกจากรายใด เพือให้ค่าความน่าเชือถือ
ได้ของเครื องเล่นVCD สู งสุ ด
1 : ผู ้ขาย#1
2 : ผู ้ขาย#2
3 : ผู ้ขาย#3
4 : ผู ้ขาย#4

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 395 :

ิ ธ

ถ ้าคอมพิวเตอร์สว่ นตัวประกอบด ้วยระบบ 3 ระบบ ต่ออนุกรมกัน เครือง 1) ระบบประมวลผล 2) ระบบโมเด็ม 3)


เครืองพิมพ์ โดยมีความเชือมัน 0.997, 0.980, 0.975 ตามลําดับ จงหาค่าความน่าเชือถือได้(Reliability)ของ
สท

ระบบ
1 : 0.95
งวน

2 : 0.90
3 : 0.99
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 72/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

รข
ข ้อที 396 :


จงหาค่าความน่าเชือถือได้รวม(Total Reliability)ของระบบ

ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.90
2 : 0.93
3 : 0.95
4 : 0.98

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 397 :
จงหาความน่าเชือถือได ้รวม(Total Reliability)ของระบบ

1 : 0.90
2 : 0.93
3 : 0.95
4 : 0.98

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 398 :
จงหาค่าความน่าเชือถือได ้รวม(Total Reliability)ของระบบ

1 : 0.950
2 : 0.970
3 : 0.990
4 : 0.999

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 399 :
จงหาค่าความน่าเชือถือได ้รวม(Total Reliability)ของระบบ

ิ ธ
สท

1 : 0.955
งวน

2 : 0.977
3 : 0.990
4 : 0.997
อส

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 73/74
16/4/2563 สภาวิศวกร


คําตอบทีถูกต ้อง : 4

รข
ข ้อที 400 :


ระบบประกอบด ้วยชินส่วน 2 ชินต่อแบบอนุกรม โดยมีอต ั ราการล ้มเหลวเท่ากับ 0.004 ต่อชัวโมง และ 0.001

ิ ว
ต่อชัวโมง

าวศ
กําหนดให ้ ค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของระบบแจกแจงแบบเอ็กโปเน็ นเชียล
จงหาค่าความน่าเชือถือได ้(Reliability)ของระบบทีจะทํางานได ้ 100 ชัวโมง
1 : 0.6065
สภ
2 : 0.6066
3 : 0.6067
4 : 0.6068

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

สภาวิศวกร 487/1 ซอย รามคําแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 สายด่วน
1303 โทรสาร 02-935-6695
@ สงวนลิขสิทธิ 2555 สภาวิศวกร : ติดต่อสภาวิศวกร | Contact

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=29&aDb=0 74/74

You might also like